Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมPDF

รวมPDF

Published by Kanokwan Lamduan, 2021-07-20 02:54:03

Description: รวมPDF

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การ เรยี นรู้ รายวิชาภาษาไทยพืนฐาน นางสาวกนกวรรณ ลาํ ดวน วิทยาลยั เทคโนโลยอี ดุ มศกึ ษาพณิชยการ

แผนการจัดการเรยี นรมู ุง เนน สมรรถนะ หนว ยท่ี ๒ ชื่อวชิ า ภาษาไทยเพอ่ื สือ่ สารในงานอาชีพ สอนคร้งั ที่ ๑ – ๓ ชื่อหนว ย การวเิ คราะห สังเคราะหแ ละประเมนิ คา สารในชีวิตประจําวนั ชัว่ โมงรวม ๙ ๑. สาระสาํ คญั การวเิ คราะหส งั เคราะหและประเมนิ คา สารในชีวติ ประจาํ วนั และในงานอาชีพมนษุ ยซึง่ เปน สัตวส งั คมจําเปน ตองตดิ ตอ ส่ือสารกนั ตลอดเวลาปจจุบันการสอ่ื สารกวางไกไรพรมแดนนส้ี ือ่ มีมากมายหลากหลายการรับสารจากการ ฟงการดูหรอื การอา นตองใชการวเิ คราะหคอื การแยกแยะพิจารณาใครครวญอยา งละเอียดถถี่ วนเพ่อื ประเมนิ คา สาร นนั้ วาดีหรอื ไมแ ละเม่อื ตอ งการสงสารไมวาจะเปนการพดู หรอื เขยี นผูสง สารตอ งรวบรวมความรูความคดิ ความรสู กึ ความตอ งการของตนเพอ่ื สรา งสารการวิเคราะหสงั เคราะหและประเมินคาสารจึงเปน ส่งิ จําเปนสาํ หรบั ทุกคน ๒. สมรรถนะประจาํ หนวย ๒.๑. แสดงความรเู กย่ี วกบั การวิเคราะหสารการสงั เคราะหส ารและการประเมนิ คาสารไดอ ยา งถูกตอง ๒.๒. อธิบายการวิเคราะหสารและการสังเคราะหส ารไดอยางถกู ตอง ๒.๓. อธบิ ายการประเมนิ คาสารไดอ ยา งถกู ตอ ง ๒.๔. แสดงพฤติกรรมลกั ษณะนิสัยรอบรู รอบคอบ ซ่อื สตั ย สุจรติ ขยัน อดทน แบงปน ความเปน ประชาธปิ ไตย หางไกลยาเสพติด ๓. จดุ ประสงคการเรียนรู ดา นความรู ๑. การวิเคราะห สังเคราะหแ ละประเมินคาสารประจาํ วนั จากการฟง การดแู ละการอา นได ดานทกั ษะ ๑. แสดงวิเคราะห สังเคราะหและประเมนิ คา สารเกย่ี วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรมเพอ่ื นาํ ไปปรับใชในชีวติ ประจําวนั ดา นคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค ๑. เขา เรยี นตรงตอ เวลาและ มคี วามรบั ผดิ ชอบในการทาํ งานทีไ่ ดร บั มอบหมาย ๒. มคี วามเชือ่ มนั่ ในความคดิ ของตนเอง โดยไมลอกเลยี นแบบผอู ืน่ ๓. เสริมสรางคณุ ธรรม จริยธรรมในชีวิตประจาํ วัน

๔. เน้อื หาสาระการเรยี นรู การวิเคราะหสารชีวติ ประจาํ วนั ของมนษุ ยเราจาํ เปน ตอ งรับ–สงสารตลอดเวลาเมื่อนําสารทร่ี บั มาวิเคราะหต อ ง พิจารณาองคป ระกอบแวดลอ ม ดงั นี้ ๑. การรบั สารจากการฟง และการดูผูรับสารตอ งสามารถแยกขอ เทจ็ จรงิ และความคดิ เหน็ ออกจากกนั ไดโดยอาศัย การตรึกตรองดว ยเหตุผลจติ ใจที่เปนธรรมตรงตามความเปน จรงิ อาจตอ งพจิ ารณาทง้ั ภาษาพดู และทาทางประกอบดวย ดังนี้ -ทา ทแี ละการวางตัวดจู ากการแตงกายการย้มิ แยมแจม ใสความเชื่อมน่ั ความกระตอื รือรนความสามารถในการ ควบคุมตนเอง -เสยี งดูจากความดังความนา ฟงการออกเสยี งที่ถูกตองชดั เจนความเปนกนั เองความนมุ นวลนาฟง ของเสียงอัตราชา– เรว็ การยํ้าการเนน เสียง -อากัปกิรยิ าทา ทางดจู ากการทรงตัวการเคลือ่ นไหวการประสานสายตากับผฟู ง การใชก ิรยิ าทา ทางไดเหมาะสมกบั ถอ ยคาํ และบรรยากาศท่ปี ระชมุ -ภาษาทีใ่ ชด ูจากความชัดเจนของภาษาท่ีใชและความถูกตองตามหลักไวยากรณ -ความคิดและเนือ้ หาสาระดจู ากการนําเสนอเน้อื หาทีม่ ีจุดมงุ หมายชัดเจนขอเทจ็ จรงิ ถูกตองมกี ารอา งอิงทส่ี ัมพันธ กันและเปนความคดิ ทสี่ รา งสรรค -การเรียบเรียงเรือ่ งดูจากบทนําทน่ี าสนใจลําดบั เนื้อหาสาระครบถว นเหมาะสมการสรุปความคดิ รัดกุม ๒. การรับสารจากการอา น การอานนั้นมหี ลายระดบั หากตอ งการเขา ใจเรอ่ื งราวตา ง ๆ ไดช ดั เจนลึกซ้งึ สามารถแยกแยะความคดิ เห็นและ ความรสู ึกของผเู ขียนดว ยอาจตอ งใชการอา นหลายระดับประกอบกันไดแ ก -อา นเพือ่ เขาใจเรอ่ื งเปนการอา นเพื่อเก็บความรูจากเรื่องท่อี านมักอา นเพยี งคร้งั เดยี วเมือ่ อา นแลวสามารถลําดบั เหตกุ ารณที่เกิดขึ้นเปนเรอ่ื งราวและสามารถเลาเร่อื งยอๆใหผูอ นื่ ฟงแลวเขาใจเรื่องไดเปนการอา นเพือ่ สรุปใหรวู า ใครทํา อะไรท่ไี หนเม่อื ไรอยางไร -อา นเพ่ือเกบ็ ใจความสําคัญเปนการอานอยา งละเอียดเก็บรวบรวมใจความสาํ คญั วา ตอนใดสาํ คัญมากตอนใดสําคัญ นอยตอนใดไมสาํ คญั สามารถเรยี งลําดับความสาํ คัญได -อา นเพ่ือวเิ คราะหเปนการอานท่ีตองพินจิ พิจารณาสว นตา งๆอยา งละเอียดเพือ่ ใหเ กิดความเขาใจชัดเจนตองอานซํา้ หลาย ๆ คร้งั มักใชก บั การอานหนังสอื ทางวิชาการหรอื เรอื่ งราวที่สลับซับซอ นตลอดจนวรรณกรรมประเภทรอยกรองอาน แลว ตอ งสรุปเร่ืองจบั ใจความสาํ คัญเพอ่ื ใหไ ดร ับความรมู ากที่สุด อานเพ่ือตคี วามเปน การอานท่ตี องแปลความหมายของศัพทแ ละสาํ นวนตอ งพจิ ารณาวา ผูเขียนตอ งการใหผ อู า นไดรับ ความรอู ยางตรงไปตรงมาหรอื มอี ะไรเคลอื บแฝงผูเขียนตอ งการยกยองใหเ กยี รติหรอื ตําหนผิ ูหนง่ึ ผูใดตอ งการชักชวนใหผ ู อานเกิดความรสู กึ นิยมชมชอบหรือรงั เกียจผูใ ดผเู ขยี นอาจมี

-เจตนาอยา งใดอยา งหน่ึงหรอื หลายอยางผูอ านตอ งตีความตามความรคู วามสามารถซ่ึงการตีความของแตละ คนไมจ าํ เปน ตอ งเหมอื นกันขนึ้ อยกู บั ความรคู วามรสู ึกนึกคดิ และประสบการณฯ ลฯ -อานเพื่อประเมนิ คาจดั เปน ข้ันตอนทีส่ ําคัญเม่อื อา นแลวผูอา นสามารถบอกไดวาส่ิงทไ่ี ดอานมขี อ ดหี รอื ไมด ี อยา งไรบกพรอ งตรงไหนผอู านไดรับประโยชนหรือคณุ คา มากนอยเพยี งใดสามารถจดจาํ นาํ ไปใชป ระโยชนไ ดอยางไร ๓. ขน้ั ตอนการวิเคราะหสาร การวิเคราะหส ารเปน กระบวนการทเ่ี กิดจากความคดิ พจิ ารณาแยกแยะสารเพือ่ ใหเกิดความเขา ใจอยา ง ละเอียดลกึ ซ้งึ ในแงม ุมตาง ๆ เปน การแสวงหาคําตอบหรอื พยายามตอบตนเองวาเราไดรับความรูความคดิ เห็นและ ความรสู กึ อะไรซ่ึงมีข้ันตอนดังนี้ -พจิ ารณารปู แบบของสารน้ันวาเปนรอ ยแกวหรอื รอ ยกรองเปนลักษณะงานชนิดใด -แยกเนือ้ หาออกเปน ตอน ๆ สรุปเรื่องใหไ ดค วามชดั เจนวา ใครทาํ อะไรทไี่ หนเมอ่ื ใดอยางไร -พิจารณาโครงสรางหรอื สว นประกอบของเรื่องอยา งละเอยี ดวาประกอบดว ยอะไรบา ง -พิจารณาวิธีนาํ เสนอกลวิธีในการนําเสนอสารอาจใชแบบพาดหัวขาวแบบต้ังคาํ ถามแบบทําใหส งสยั ฯลฯผรู บั สารตองพิจารณาวา วธิ กี ารนําเสนอน้นั นา สนใจมากนอ ยเพยี งใดการใชถอ ยคาํ ภาษาเหมาะสมหรือไม การสงั เคราะหส าร ๑. วิธีการสงั เคราะหส าร ๒. จดุ มุง หมายของการสงั เคราะหสาร ๓. การประมวลความคดิ ๔. การเลือกเรอ่ื ง ๕. ลักษณะของผูส ังเคราะหสารทดี่ ี การประเมนิ คาสาร ๑. การตีความ ๒. การวินจิ ฉยั เพือ่ ประเมนิ คา ๓. ประโยชนของการวเิ คราะหแ ละประเมินคาสาร กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู สอนครั้งท่ี ๑ (ชั่วโมงที่ ๑๐ – ๑๘ ) การนาํ เขาสูบทเรียน ๑.ครูผูสอนถาม-ตอบกับผเู รยี นเกี่ยวกับหนงั สือเร่ืองตางๆ ท่ีนักเรียนแตละคนชอบอาน เพอ่ื เปนการกระตุนการเรียน รขู องผเู รียน

การเรียนรู ๑. ครผู ูสอนเปด Power point อธบิ าย เรือ่ งการวิเคราะห สงั เคราะหแ ละประเมนิ คา โดยเนนยํา้ ใหผ เู รียนตง้ั ใจฟง หลังจากนัน้ สุมเรียกผเู รยี นเพอื่ ตรวจสอบความรคู วามเขา ใจเรอื่ งความหมายและข้นั ตอนการวิเคราะห สังเคราะหและ ประเมินคา จากสารชนิดตา ง ๆ เพ่ือใหผเู รยี นมีสวนรวม ๒. ครูผูส อนเปดวดิ ีโอเรอ่ื งสั้น “บานฉันอยใู นซอยเดียวกัน” เพอ่ื ใหน ักศึกษาชวยกันวเิ คราะห สงั เคราะห และ ประเมินคา วดิ โี อทไ่ี ดรับชม ๓. ครูผสู อนใหน กั เรียนแบงกลมุ ผูเรียนออกเปน ๖ กลมุ และอธิบายภาระงานเรือ่ งการวเิ คราะห สังเคราะหแ ละ ประเมนิ คา (กจิ กรรมที่ ๒.๑) ใหผ เู รียนแบง งานกนั ทํา เพือ่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน เพื่อฝกการทํางานเปน ทีม มภี าวะความ เปนผูน าํ และผูตาม โดยใชห ลกั การแบบประชาธิปไตยหลงั จากนั้นครูผสู อนสมุ เรยี กตวั แทนผเู รียนแตล ะกลุมเพอ่ื อภปิ ราย หนา ชั้นเรียนจนครบทุกกลมุ ๔. เพื่อนในหอ งรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ ๕. ใหน กั ศกึ ษารวบรวมงานสงกลุมละ ๑ ชุด การสรปุ ๕. ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรปุ บทเรยี น ส่ือการเรียนร/ู แหลงการเรยี นรู สื่อสงิ่ พมิ พ ๑. Power point ๒. วดิ โี อเร่อื งสั้น เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) ๑. กิจกรรมท่ี ๒.๑ เรอื่ งการวิเคราะห สังเคราะหและประเมนิ คาสาร ๘. การบรู ณาการ/ความสมั พันธกบั วชิ าอน่ื ๙. การวดั และประเมนิ ผล ๑.กอ นเรยี น - สังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล ๒.ระหวางเรียน ๑.ใบตารางคะแนน ๒.สมุดบันทกึ การเรยี นรู ๓.ชน้ิ งาน ๓.หลงั เรยี น ๑. นาํ เสนอสารทีผ่ ูเ รยี นวิเคราะห สังเคราะหแ ละประเมนิ คา ออกมาใหผอู ื่นเขา ใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook