แนวปฏบิ ตั กิ ารลงทะเบียนและการเรยี นซำ้ ปกี ารศกึ ษา 2564 คุณสมบัตินักเรียนทเี่ รยี นซ้ำ 1. สถานภาพเป็นนกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ 2. ผา่ นการสอบแกต้ ัวตามระเบียบวัดและประเมินผลโรงเรียนหนองไผ่ 3. ยังมีผลการสอบแกต้ ัว ระดับผลการเรียนเรยี น 0 ตั้งแต่ 1 รายวิชาข้ึนไป 4. มีผลการเรยี นเฉลยี่ ของปที ่ีผ่านมาตำ่ กวา่ 1.00 การลงทะเบียนเรียนซำ้ 1. ติดต่อขอรบั แบบคำร้องเรยี นซำ้ ทีห่ อ้ งวัดและประเมินผล 2. ยน่ื แบบคำรอ้ งท่ีห้องวดั และประเมินผลภายในระยะเวลาท่ีกำหนดในแต่ละภาคเรยี น/รายปี 3. ผปู้ กครองและนักเรียนต้องเข้าร่วมประชมุ รบั ทราบแนวปฏิบัติ จำนวน 1 วนั การเรียนซ้ำ 1. นกั เรียนตดิ ตอ่ ครูผ้สู อน หรอื ครูท่ีหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้มอบหมายในรายวิชานัน้ ๆ เพ่อื รบั มอบหมายงานและแนวปฏบิ ัติในการเรียนซำ้ 2. นักเรียนปฏิบตั ติ ามที่ครูมอบหมายงานและหรือเข้าเรยี นตามท่ีครูผู้สอนกำหนด 3. นกั เรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมตามทค่ี รผู กู้ ำหนดตลอดรายภาค / รายปี การตดั สินผลการเรียน เม่ือนกั เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดภาคเรียน/รายปี ครผู ู้สอนจะตัดสินผล การเรยี นนกั เรยี นตามระเบียบการวัดและประเมินผล มเี วลาเรยี นไม่ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 80 1 ผลการเรยี นขน้ั ตำ่ คะแนน 50-54 ผ ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีเวลาเรยี นเข้าร่วมกจิ กรรม ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมด และผ่านทุก จดุ ประสงคข์ องการจดั กจิ กรรม การแต่งกายนักเรยี น นักเรียนแต่งกายตามแบบฟอร์มของโรงเรยี นและยึดถือปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของทางโรงเรียน หนองไผ่
การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูผสู้ อน ผปู้ กครองนกั เรียน และนกั เรียน ร่วมกำหนดกจิ กรรมการเรียนการสอนและแนวปฏิบตั ิ ร่วมกนั โดยจดั กจิ กรรมในการจดั กิจกรรมตลอดภาคเรยี น/รายปี ที่มกี ารลงทะเบยี นเรียนซำ้ ดงั นี้ 1. กำหนดวันเวลา สถานท่ี จดั กิจกรรมการเรียนการสอน 2. กำหนดภาระงาน 3. นดั หมายการส่งงานทม่ี อบหมาย 4. ดำเนนิ การเรียนซำ้ ตลอดภาคเรียน/รายปี การส่งเอกสารแบบบันทึกฯ ส่งท่หี ้องวัดและประเมนิ ผล ม.ต้น ภาคเรยี นท่ี 1 1-6 ตลุ าคม ของทุกปี ภาคเรยี นท่ี 2 1-4 มีนาคม ของทุกปี ม.ปลาย ภาคเรยี นท่ี 1 1-6 ตลุ าคม ของทกุ ปี ภาคเรียนที่ 2 1-4 มีนาคม ของทุกปี ระเบียบการขอเอกสาร งานทะเบยี นนกั เรียนโรงเรียนหนองไผ่ 1. การออกใบรบั รองผลการเรียนและการเปน็ นกั เรยี น (ปพ.7) 1.1 ขอแบบคำร้องท่ีห้องทะเบียน - กรอกรายละเอียดในคำร้องใหค้ รบและถูกต้อง - เขยี นรายละเอียดใหช้ ดั เจนและอ่านงา่ ย - แนบรปู ถา่ ยสี (ไม่อดั รูปถ่ายด้วยระบบโพลารอยด์ หรือเคลอื บกนั นำ้ ) ขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 1 รปู ต่อเอกสาร 1 ฉบับ 1.2 ย่นื คำร้องท่งี านทะเบียนนักเรยี น 1.3 ต้องยื่นคำร้องล่วงหน้าอย่างนอ้ ย 3 วัน (ไม่นับวันหยดุ ราชการ) 2. การออกใบระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1 ฉบบั สำเนา) 2.1 ขอแบบคำร้องทห่ี ้องทะเบยี น - กรอกรายละเอียดในคำร้องใหค้ รบและถูกต้อง - เขียนรายละเอยี ดให้ชดั เจนและอ่านงา่ ย - ไม่ตอ้ งแนบรปู ถา่ ย
2.2 ยืน่ คำรอ้ งท่ีงานทะเบียนนักเรียน 2.3 ต้องยนื่ คำร้องลว่ งหน้าอย่างนอ้ ย 3 วนั (ไม่นบั วนั หยุดราชการ) 3. การย้ายออกจากสถานศกึ ษา 3.1 ยื่นคำร้องขอระเบยี นแสดงผลการเรียน (ปพ.1 ฉบบั สำเนา) 3.2 ติดต่อโรงเรยี นทต่ี ้องการยา้ ยเขา้ และโรงเรยี นทต่ี ้องการยา้ ยเขา้ ยนื ยนั รบั ย้ายเขา้ เรยี น 3.3 ผู้ปกครองและนักเรียนขอแบบคำร้องลาออกทห่ี ้องทะเบียน - กรอกรายละเอียดในคำร้องให้ครบและถูกต้อง - เขียนรายละเอยี ดใหช้ ัดเจนและอ่านง่าย (ผู้ปกครองลงนาม/ตรวจสอบการชำระค่าบำรุง การศึกษาท่หี ้องการเงิน/ครูทปี่ รกึ ษาลงนาม/ตรวจสอบการค้างสง่ หนังสือห้องสมดุ ) - แนบรูปถ่ายสี (ไม่อัดรูปถ่ายด้วยระบบโพลารอยด์ หรือเคลือบกนั นำ้ ) ขนาด 1.5 น้วิ จำนวน 2 รูป และเขยี นชื่อ-นามสกุล ไว้ด้านหลงั รูปถ่าย 3.4 ยน่ื คำร้องท่ีงานทะเบยี นนกั เรียน 3.5 ต้องยนื่ คำร้องล่วงหน้าอย่างนอ้ ย 3 วนั (ไม่นับวันหยุดราชการ) 4. การขอมีบัตรประจำตวั นักเรยี น (กรณชี ำรดุ หรอื หาย) 4.1 ขอแบบคำรอ้ งทหี่ ้องทะเบียน - กรอกรายละเอียดในคำร้องใหค้ รบและถูกต้อง - เขียนรายละเอียดใหช้ ัดเจนและอ่านง่าย - แนบรปู ถา่ ยสี (ไม่อัดรปู ถ่ายด้วยระบบโพลารอยด์ หรือเคลือบกนั นำ้ ) ขนาด 1 น้ิว จำนวน 1 รปู 4.2 ย่นื คำร้องที่งานทะเบียนนกั เรยี น 4.3 ตอ้ งยนื่ คำร้องล่วงหนา้ อย่างนอ้ ย 3 วนั (ไม่นับวันหยดุ ราชการ) 5. การขอวุฒิการศึกษา ฉบับที่ 2 สำหรับผู้ทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษาแล้ว (กรณชี ำรุดหรอื สูญหาย) 5.1 แจง้ ความวฒุ ิการศึกษาหายตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีตำรวจ 5.2 ขอแบบคำร้องท่ีห้องทะเบียน - กรอกรายละเอียดในคำร้องให้ครบและถูกต้อง
- เขียนรายละเอียดให้ชดั เจนและอา่ นงา่ ย - แนบรูปถา่ ยสี สวมเสอื้ เชิต้ สขี าว ไมป่ ักขอ้ ความใดๆ (ไมอ่ ัดรปู ถ่ายด้วยระบบโพลารอยด์ หรือเคลอื บกันน้ำ) 1) กรณจี บการศึกษากอ่ นปี 2547 ใชร้ ปู ถา่ ยขนาด 2 น้ิว จำนวน 2 รปู 2) กรณีจบการศึกษาตั้งแตป่ ี 2547 ใช้รูปถา่ ยขนาด 1.5 นิ้ว จำนวน 2 รูป 5.3 ชำระเงนิ คา่ ธรรมเนยี ม 50 บาท ท่ีหอ้ งการเงิน 5.4 ยื่นคำร้องทีง่ านทะเบยี น พร้อมแนบใบเสรจ็ รับเงิน และหลักฐานแจ้งความ 5.5 ต้องยื่นคำร้องลว่ งหน้าอย่างนอ้ ย 5 วนั (ไม่นบั วันหยดุ ราชการ)
งานกจิ การนกั เรยี น
ข้อมูลงานกิจการนกั เรียน ระเบียบโรงเรียนหนองไผว่ า่ ดว้ ยการปกครองนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๓ (แกไ้ ขเพม่ิ เติม พ.ศ. ๒๕๖๓) ***************************************** อาศยั อำนาจตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ และความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ โรงเรียนหนองไผ่ จงึ วางระเบียบการปกครองนักเรยี นขึ้น เพื่อให้นกั เรยี นถือปฏบิ ัติ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนีเ้ รยี กวา่ “ระเบียบโรงเรยี นหนองไผ”่ ว่าด้วยการปกครองนกั เรียน พ.ศ. ๒๕๕๓ (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ พ.ศ. ๒๕๖๓) ข้อ ๒ ให้ใช้ระเบียบน้ีบังคับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ ระเบียบโรงเรยี นหนองไผ่ว่าด้วยการปกครองนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๓ (แกไ้ ขเพม่ิ เติม พ.ศ. ๒๕๖๓) และยกเลิกระเบียบทรงผมนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๔ ให้รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานกจิ การนักเรยี น รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี ข้อ ๕ “ผู้อำนวยการสถานศึกษา” หมายความวา่ ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ “คร”ู หมายความว่า ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โรงเรยี นหนองไผ่ “ผปู้ กครอง” หมายความว่า บิดา – มารดา ผูป้ กครองตามกฎหมายหรือบคุ คลท่รี บั นักเรยี นไวใ้ น ความปกครอง หรอื ผู้อุปการะเลยี้ งดู “นกั เรียน” หมายความวา่ บคุ คลซง่ึ กำลงั ศึกษาอยใู่ นโรงเรียนหนองไผ่
“การกระทำความผดิ ” หมายความวา่ การทน่ี ักเรียนประพฤตฝิ ่าฝนื ระเบยี บขอ้ บังคบั ของ โรงเรยี นหนองไผ่ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารหรือกฎกระทรวงวา่ ด้วยการสง่ เสริมความ ประพฤติ ของนกั เรียนนกั ศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนกั เรียนทก่ี ระทำผิดระเบยี บ ขอ้ บังคับ โดยมีความมุ่ง หมาย เพอื่ การอบรมส่ังสอนใหเ้ ป็นคนดี หมวดท่ี ๑ การแต่งกายของนักเรียน ขอ้ ๖ การแตง่ กายของนกั เรยี นชาย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ ๑. เส้ือ ๑.๑ ใชเ้ ส้อื เช้ติ สีขาวแขนส้ัน คอปกไม่มกี ระดุมหรือรังดุมไมม่ ีจีบหลัง ๑.๒ มีสาบหนา้ อกกว้างประมาณ ๓-๕ เซนติเมตร กระดมุ ขาวกลมมเี ส้นผา่ ศนู ย์กลาง ๑ เซนติเมตร ๑.๓ มกี ระเปา๋ หน้าอกด้านซ้ายขนาดกว้าง ๘ - ๑๒ เซนติเมตรลึกประมาณ ๑๐ – ๑๕ เซนติเมตร ๑.๔ ทห่ี นา้ อกดา้ นขวา ปกั น.ผ. ขนาด ๑.๕ เซนตเิ มตร ใต้ น.ผ. ปกั เลขประจำตวั ด้วยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนติเมตร เหนือกระเป๋าด้านซ้ายให้ปกั ชื่อและชื่อสกลุ ดว้ ยไหมสีน้ำเงนิ ตวั อกั ษร ขนาด ๐.๘ เซนติเมตร และปักจดุ บอกระดบั ช้ันดว้ ยไหมสชี มพูเหนือชื่อ – ชอ่ื สกุล ถา้ ชน้ั ม. ๑ ปกั ๑ จุด , ม. ๒ ปกั ๒ จดุ , และ ม. ๓ ปกั ๓ จุด ๒. กางเกง ๒.๑ ใช้กางเกงขาสัน้ สกี ากมี จี ีบไม่เย็บตาย ไมห่ ลวมหรอื คบั จนเกนิ ไป ๒.๒ มีหูกางเกงขนาด ๔ – ๕ เซนตเิ มตร จำนวน ๗ หู สาบหนา้ มีซิบยาวเกือบถงึ กระเป๋า ไมม่ ีกระเป๋าหลงั ๒.๓ เมอ่ื ยืนตรง ขอบล่างของขากางเกงยาวเหนือสะบ้าไม่เกิน ๕ เซนตเิ มตร ๒.๔ ปลายขาพับเขา้ ข้างใน ยาว ๕ เซนตเิ มตร ๒.๕ ปลายขากวา้ งเม่ือสวมใส่ ดงึ วดั เหลอื ประมาณ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ๒.๖ เมอื่ สวมกางเกง เอวอยู่ในแนวสะดือและสวมทบั เสื้อ ๓. เขม็ ขัด ๓.๑ เข็มขัดหนังสนี ้ำตาลหรือเข็มขดั ลูกเสอื กวา้ งประมาณ ๓ – ๔ เซนติเมตร
ไม่มลี วดลายหรอื ประดบั ส่ิงต่างๆ ๓.๒ หัวเข็มขดั เป็นหวั ทองเหลืองสเ่ี หลีย่ มผืนผา้ ชนดิ หวั กลัดปลายบนเจาะรู ๑ แถว มีความยาวพอประมาณ ควรใสห่ กู างเกงหทู ี่ ๒ ไดแ้ ละไมต่ ัดปลาย ๓.๓ คาดเข็มขัดพอตึงมองเห็นชัด ๔. รองเท้า ๔.๑ รองเท้าหนังหรือผา้ ใบสีน้ำตาลล้วน ห้มุ ส้น ชนดิ มีเชอื กร้อย มีรูประมาณ ๕ รู และใช้เชอื กสีเดยี วกบั รองเท้าหา้ มใช้รองเทา้ ชนดิ มีขอบสขี าวหรอื สอี ่นื ๆ ๔.๒ รองเท้ามีส้นสงู ไมเ่ กนิ ๓ เซนตเิ มตร ไม่ห้มุ ขอ้ ๕. ถุงเทา้ ๕.๑ ถุงเท้าสีนำ้ ตาล ทำด้วยด้ายหรือสักหลาด ไม่มลี วดลาย มีความยาวถึงครึ่งน่อง ไม่มว้ นหรอื พบั ๖. ทรงผม กำหนดทรงผมนักเรียนชาย ดงั น้ี ๖.๑ กรณีไวผ้ มสนั้ ผมเกรยี นรอบศรี ษะ ด้านหน้ายาวไม่เกิน 4 เซนตเิ มตร ๖๒ กรณีไวผ้ มยาว รองทรงสูง โดยตัดเกรียนตดิ หนงั ศรี ษะตง้ั แตต่ นี ผมไลร่ ะดับจนถึงส่วนบน ของศีรษะ ผมด้านบนและด้านหนา้ ยาวไมเ่ กนิ 4 เซนตเิ มตร เหมาะสมกบั สภาพนกั เรียน ๖๓ ไมอ่ นญุ าตใหไ้ วห้ นวดเครา ๖๔ ไมอ่ นญุ าตใหย้ อ้ มหรือเปล่ียนสผี มหรอื ใชน้ ำ้ มันใส่ผม เจลหรืออุปกรณอ์ นื่ ๆ ๖.๕ ห้ามไว้จอนหรือกันจอน ๖.๖ หา้ มตัดแต่งทรงผมเป็นรูปทรงสญั ลกั ษณห์ รือเปน็ ลวดลาย ๗. การแตง่ กายชดุ พลศกึ ษา ๗.๑ ให้แตง่ ในวันท่ีมกี ารเรยี นการสอนวิชาพลศึกษาหรือตามวันทที่ างโรงเรยี นนดั หมาย ๗.๒ ให้ใช้ถงุ เทา้ และรองเทา้ นักเรยี นเทา่ นั้น
๗.๓ กางเกงและเสื้อพลศกึ ษาตามทโ่ี รงเรยี นกำหนด ๘. ห้ามใส่เคร่ืองประดับใด ๆ ทง้ั ส้ิน เชน่ แหวน สร้อยคอทองคำ สร้อยข้อมอื ยกเว้นนาฬิกา ๙. กระเป๋านกั เรยี น ใหใ้ ชก้ ระเปา๋ นักเรยี นมีตราและชื่อของโรงเรียน ห้ามใช้ถงุ กระดาษ พลาสตกิ หรือกระเปา๋ สีอนื่ เปน็ เดด็ ขาด ข้อ ๗ การแต่งกายของนกั เรียนหญงิ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๑. เส้อื ๑.๑ ใช้ผา้ สขี าว ไม่บางจนเกินควร แบบคอพับ คอกะลาสีเรอื พบั ในตัว สาบเข้าข้างใน สว่ นบนสาบให้ใหญ่ พอแบะคอแล้ว ไม่เหน็ ตะเข็บข้างใน ปกขนาด ๑๐ เซนตเิ มตร ๑.๒ ปลายแขนเส้ือจบี ข้างละ ๓ จีบ ประกอบดว้ ยผา้ ๒ ชน้ิ กว้าง ๓ เซนติเมตร แขนยาว เหนือข้อศอกพอประมาณ ชายเส้ือด้านล่างพบั ไม่เกนิ ๓ เซนติเมตร มีกระเปา๋ ด้านขวา กวา้ ง ๕ - ๙ เซนติเมตร ยาว ๗ - ๑๐ เซนติเมตร ๑.๓ ใชค้ อซองสีกรมทา่ หรือสนี ้ำเงิน ผกู เง่ือนกะลาสี กว้าง ๗ เซนติเมตร ยาว ๕๐ - ๘๐ เซนติเมตร (อยรู่ ะดับเมด็ กระดุมเมด็ แรก) ทีห่ นา้ อกด้านขวาปัก น.ผ. ขนาด ๑.๕ เซนตเิ มตร ใต้ น.ผ. ปักเลขประจำตวั ดว้ ยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร เหนอื กระเปา๋ ดา้ นซา้ ยให้ปกั ชอ่ื และชือ่ สกลุ ดว้ ยไหมสนี ้ำเงนิ ตวั อักษรภาษาไทยขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร และปักจุดบอกระดบั ช้นั ด้วยไหมสชี มพูเหนือชอ่ื –ช่ือสกุล ถ้าช้ัน ม. ๑ ปัก ๑ จดุ , ม. ๒ ปัก ๒ จดุ และ ม. ๓ ปกั ๓ จุด ๑.๔ ให้ใส่เส้ือซบั ดา้ นในสขี าว ๒. กระโปรง ๒.๑ ใชก้ ระโปรงสีกรมทา่ ไม่มีลวดลาย ด้านหนา้ และด้านหลังพบั เปน็ กลบี ดา้ นละ ๓ กลีบ ดา้ นนอกพบั ตีเกลด็ ลงมาประมาณ ๖ - ๑๒ เซนตเิ มตร เว้นระยะความกวา้ งตรงกลาง พอประมาณ ๒.๒ ปลายกระโปรงพบั เขา้ ขา้ งในยาว ๕ เซนติเมตร เมือ่ สวมใส่แล้วยนื ตรง ยาวใต้เขา่ ลงไป ยาวประมาณ ๑๐ เซนตเิ มตร ๓. รองเท้า ให้ใชร้ องเท้าหนังสดี ำ มีสายรัดหลังเทา้ ไม่มีลวดลาย ไม่ประดบั ตกแตง่ ปลายเทา้
ชนิดหนา ส้นเท้าสูงไมเ่ กิน ๓ เซนติเมตร ๔. ถงุ เท้า ใหใ้ ช้ถุงเทา้ สขี าวทำดว้ ยด้ายหรือสกั หลาด ไม่มีลวดลาย ให้พับเหนือขอ้ เท้าประมาณ ๔-๕ เซนตเิ มตร ๕. ทรงผม กำหนดทรงผมนักเรียนหญิง ดังน้ี 5.1 กรณไี ว้ผมสนั้ ผมยาวเสมอกนั รอบศรี ษะโดยใหค้ วามยาวเสมอริมฝปี ากล่างหรือตำ่ กวา่ รมิ ฝีปากล่างลงมา 1 เซนติเมตร ติดกิ๊บสีดำแบบลวด ไมร่ วบหรือมัด ไม่ไว้ผมหนา้ ม้า ไม่ ถักเปีย ๕.๒ กรณีไวผ้ มยาว ใหร้ วบมัดตรึงกลางศรี ษะ ใชย้ างมัดผมสีดำและผูกด้วยริบบนิ้ แพรสี กรมท่า ขนาด 1 นิว้ ผกู เปน็ โบว์ โดยหางของริบบิน้ ยาวไม่เกนิ ครึ่งหน่งึ ของผม ห้ามใช้ ก๊บิ โบวส์ ำเรจ็ รปู ความยาวผมด้านหลังวัดจากขอบบนปกเสื้อยาวไมเ่ กนิ 15 เซนติเมตร ไมไ่ วผ้ มหน้าม้า ๕.๓ หา้ มดัดผม ๕.๔ หา้ มซอยผม ๕.๕ หา้ มย้อมหรอื เปลย่ี นสผี มหรือใช้นำ้ มนั ใสผ่ ม เจล หรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ ๕.๖ ไมอ่ นญุ าตให้ถักเปีย ๖. ห้ามใส่เครอื่ งประดบั ใด ๆ ทง้ั สนิ้ เช่น แหวน สร้อยคอทองคำ สร้อยขอ้ มอื ยกเว้นนาฬกิ า ๗. การแตง่ กายชดุ พลศึกษา ๗.๑ ให้แตง่ ในวนั ท่มี กี ารเรยี นการสอนวิชาพลศึกษาหรือตามวันที่ทางโรงเรียนนดั หมาย ๗.๒ ใหใ้ ช้ถงุ เท้าและรองเท้าสีขาวเทา่ น้ัน ๗.๓ กางเกงและเส้ือพลศกึ ษาใช้ตามท่ีโรงเรยี นกำหนด ๘. กระเปา๋ นกั เรียน ใหใ้ ช้กระเปา๋ นกั เรียนมตี ราและชอื่ ของโรงเรียน หา้ มใชถ้ ุงกระดาษ พลาสติก หรือกระเปา๋ สีอ่ืนเปน็ เดด็ ขาด ข้อ ๘ การแต่งกายของนกั เรียนชาย ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑. กางเกง ให้ใช้กางเกงขาสนั้ สีดำ ไมห่ ลวมหรอื คบั จนเกินไป มีจีบขา้ งหน้าขา้ งละ ๒ จีบ ไมเ่ ยบ็ ตาย มหี ูขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร ขอบลา่ งยาวเหนือสะบา้ หวั เขา่ ไมเ่ กิน ๕ เซนติเมตร เมอื่ ยืนตรงปลายขากางเกงกว้างเม่ือสวมใสต่ ึง วัดเหลือประมาณ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร
ปลายขาพบั เข้าข้างใน ๕ เซนติเมตร ไม่มีกระเป๋าหลัง มกี ระเป๋าตรงตามตะเขบ็ ข้าง ๆ ละ ๑ กระเป๋า เม่ือสวมขอบกางเกงอยู่ในแนวระดบั สะดอื และสวมทับเสอ้ื สาบหน้ามีซิบ สาบยาวถงึ เป้า ๒. เสือ้ ให้ใช้เส้อื เชติ้ สีขาวแขนสน้ั มีสาบหน้าอกกว้างประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร กระดมุ สีขาว กลมแบน เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางยาว ๑ เซนติเมตร คอปกไม่มีกระดุม แขนพบั เดินตะเข็บเดียว แขนไมผ่ ่า แขนสัน้ เหนือข้อศอกพองาม มีกระเป๋าทางอกดา้ นซา้ ย ๑ กระเปา๋ ขนาดกวา้ ง ๘ - ๑๒ เซนตเิ มตร ลึกขนาด ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ไมม่ ีจีบหลงั ทหี่ น้าอกด้านขวา ปกั น.ผ. ขนาด ๑.๕ เซนตเิ มตร ให้อยู่ระดบั เดยี วกนั กับชื่อ – สกลุ ใตน้ .ผ. ปักเลขประจำตวั ด้วยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร เหนอื กระเปา๋ ดา้ นซ้ายให้ปกั ช่ือและชื่อสกลุ ด้วยไหมสนี ำ้ เงนิ ตัวอกั ษร ภาษาไทยขนาด ๐.๘ เซนติเมตร และปกั จุดบอกระดบั ชั้นดว้ ยไหมสนี ้ำเงินเหนอื ชื่อ-ช่อื สกุล ชัน้ ม. ๔ ปัก ๑ จดุ , ม.๕ ปกั ๒ จุด และ ม.๖ ปัก ๓ จดุ ๓. เขม็ ขัด ให้ใชเ้ ขม็ ขัดหนงั สีดำ กวา้ งประมาณ ๓ - ๔ เซนตเิ มตร ไม่มลี วดลายขีดเขยี นหรือประทบั สง่ิ ใด ๆ เจาะรู ๑ แถว ไม่ตัดปลายเข็มขัด หวั เข็มขัดเป็นโลหะสีเงนิ ส่ีเหลีย่ มผืนผา้ ชนดิ หวั กลดั ความยาวพอสอดใส่หูกางเกงที่ ๒ ได้ ๔. รองเทา้ ให้ใช้รองเท้าหนังหรอื รองเทา้ ผ้าใบสดี ำห้มุ สน้ มีเชอื กรอ้ ยประมาณ ๕ รู เชือกร้อย สเี ดียวกับรองเท้า สน้ สงู ไม่เกนิ ๓ เซนติเมตร ๕. ถุงเท้า ใหใ้ ชถ้ งุ เท้าสขี าวลว้ น ทำดว้ ยด้ายหรอื สักหลาด ยาวคร่ึงน่องไมม่ ลี วดลาย ไมม่ ้วนหรือพบั ๖. ทรงผม กำหนดทรงผมนกั เรยี นชาย ดงั นี้ ๖.๑ กรณไี ว้ผมสั้น ผมเกรียนรอบศีรษะ ด้านหนา้ ยาวไมเ่ กิน 4 เซนตเิ มตร ๖.๒ กรณีไว้ผมยาว รองทรงสูง โดยตัดเกรียนตดิ หนังศรี ษะต้งั แตต่ ีนผมไลร่ ะดบั จนถึงส่วนบน ของศีรษะผมดา้ นบนและดา้ นหน้ายาวไมเ่ กนิ 4 เซนติเมตร เหมาะสมกับสภาพนักเรยี น ๖.๓ ไมอ่ นญุ าตให้ไวห้ นวดเครา ๖.๔ ไมอ่ นญุ าตให้ย้อมหรือเปลีย่ นสผี มหรอื ใชน้ ้ำมนั ใสผ่ ม เจล หรอื อปุ กรณ์อน่ื ๆ ๖.๕ หา้ มไว้จอนหรอื กันจอน ๖.๖ ห้ามตัดแต่งทรงผมเปน็ รูปทรงสัญลกั ษณห์ รือเป็นลวดลาย
๗. ห้ามใสเ่ ครอื่ งประดบั ใด ๆ ทัง้ สนิ้ เชน่ แหวน สร้อยคอทองคำ สร้อยข้อมอื ยกเว้นนาฬิกา ๘. กระเป๋านกั เรียน ให้ใชก้ ระเปา๋ นักเรยี นมตี ราและชอื่ ของโรงเรยี น ห้ามใชถ้ ุงกระดาษ พลาสตกิ หรอื กระเปา๋ สอี ืน่ เปน็ เด็ดขาด ๙. การแต่งกายชุดพลศึกษา ๙.๑ ใหแ้ ตง่ ในวนั ท่ีมกี ารเรียนการสอนวชิ าพลศึกษา หรือตามวนั ทท่ี างโรงเรยี นนัดหมาย ๙.๒ ใหใ้ ช้ถงุ เทา้ สขี าวและรองเทา้ สีดำเท่านน้ั ๙.๓ กางเกงและเสอ้ื พลศึกษาใช้ตามทโี่ รงเรียนกำหนด ข้อ ๙ การแต่งกายของนกั เรยี นหญงิ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑. เส้ือ ๑.๑ เปน็ เส้อื คอเชิต้ สขี าว ไม่บางจนเกินไป ผ่าคอตลอด ที่อกมสี าบตลบเขา้ ข้างในกว้าง ๓ เซนตเิ มตร ๑.๒ มีกระดุมกลมแบนสขี าว จำนวน ๕ เม็ด มเี สน้ ผา่ ศูนยก์ ลางยาว ๑ เซนติเมตร แขนเส้อื ยาวเหนอื ศอก ทป่ี ลายแขนมจี บี กวา้ งประมาณ ๓ เซนติเมตร สอดชายเสือ้ ไว้ในกระโปรง ตอ้ งใสเ่ สือ้ ซับข้างในสีขาว ๑.๓ ทห่ี น้าอกด้านขวาปัก น.ผ.ขนาด ๑.๕ เซนติเมตร ใหอ้ ยรู่ ะดบั เดยี วกันกับช่อื - ชื่อสกลุ ใต้ น.ผ. ปักเลขประจำตวั ด้วยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร เหนือกระเปา๋ ด้านซา้ ย ให้ปกั ชอื่ และช่ือสกุล ด้วยไหมสีน้ำเงนิ ตัวอักษรภาษาไทยขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตรและปักจุดบอกระดับชนั้ ดว้ ยไหมสนี ้ำเงินเหนือชือ่ - ชือ่ สกุล ชัน้ ม. ๔ ปกั ๑ จดุ , ม.๕ ปัก ๒ จดุ และ ม.๖ ปัก ๓ จุด ๒. กระโปรง ๒.๑ ใช้กระโปรงสกี รมทา่ ไม่มลี วดลาย ยาวจากเข่าลงไปประมาณ ๑๐ เซนตเิ มตร ๒.๒ ดา้ นหนา้ และดา้ นหลังพับเป็นกลบี ดา้ นละ ๓ กลบี หักกลบี ออกด้านนอกเยบ็ ทบั ขอบ ลา่ ง ลงมาระหวา่ ง ๖ - ๑๒ เซนตเิ มตร เว้นระยะกวา้ งตรงกลางพอควร ๓. เขม็ ขดั ใช้เขม็ ขดั หนงั สดี ำ ไมม่ ีลวดลาย กวา้ งประมาณ ๓ - ๔ เซนติเมตร หวั เข็มขดั เป็นรูป ส่ีเหล่ียมผนื ผา้ ใช้หนงั สีดำ หรือผ้าหุ้มแบบชนิดเกล็ด ใช้คาดทับขอบกระโปรง และไม่ตดั ปลาย อนญุ าตให้ใช้คลิปหนบี กระดาษสีดำยึดเขม็ ขดั ติดกบั กระโปรงได้
๔. รองเท้า ใหใ้ ชร้ องเทา้ หนงั สีดำหุ้มส้น ปลายรองเท้ามน มีสายรัดหลงั เทา้ สน้ สงู ไมเ่ กนิ ๓ เซนติเมตร ไมม่ ลี วดลาย ๕. ถงุ เท้า ใชถ้ งุ เท้าสีขาวลว้ น ทำดว้ ยดา้ ยหรอื สักหลาด พับลงเหนือข้อเทา้ ประมาณ ๔ - ๕ เซนติเมตร ๖. ทรงผม กำหนดทรงผมนักเรียนหญิง ดังนี้ ๖.๑ กรณีไว้ผมส้ัน ผมยาวเสมอกนั รอบศรี ษะโดยให้ความยาวเสมอริมฝปี ากลา่ งหรือตำ่ กวา่ ริมฝปี ากลา่ งลงมา 1 เซนตเิ มตร ตดิ ก๊ิบสดี ำแบบลวด ไม่รวบหรือมัด ไม่ไวผ้ มหนา้ ม้า ไม่ ถักเปีย ๖.๒ กรณไี วผ้ มยาว ใหร้ วบมดั ตรงึ กลางศรี ษะ ใช้ยางมัดผมสีดำและผกู ด้วยริบบ้ินแพรสี กรมท่า ขนาด 1 นว้ิ ผกู เป็นโบว์ โดยหางของรบิ บ้ินยาวไม่เกินครงึ่ หนึ่งของผม ห้ามใช้ กบิ๊ โบวส์ ำเรจ็ รปู ความยาวผมด้านหลังวัดจากขอบบนปกเส้ือยาวไมเ่ กนิ 15 เซนติเมตร ไม่ไว้ผม หน้ามา้ ๖.๓ ห้ามดัดผม ๖.๔ หา้ มซอยผม ๖.๕ ห้ามยอ้ มหรือเปล่ยี นสีผมหรือใชน้ ้ำมันใสผ่ ม เจล หรอื อุปกรณ์อื่น ๆ ๖.๖ ไมอ่ นญุ าตให้ถักเปีย๗. ห้ามใส่เครื่องประดับใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น แหวน สร้อยคอทองคำ สรอ้ ยขอ้ มือ ยกเวน้ นาฬิกา ๘. ห้ามแต่งหนา้ ๙. กระเปา๋ นักเรยี น ใหใ้ ช้กระเป๋านักเรียนมตี ราและชอื่ ของโรงเรยี น ห้ามใชถ้ ุงกระดาษ พลาสตกิ หรือกระเป๋าสีอ่นื เปน็ เด็ดขาด ๑๐. การแตง่ กายชดุ พลศึกษา ๑๐.๑ ให้แต่งในวันทมี่ กี ารเรียนการสอนวิชาพลศึกษาหรือตามวนั ที่ทางโรงเรียนนัดหมาย ๑๐.๒ ใหใ้ ชถ้ ุงเท้าและรองเท้าสีขาวเท่าน้ัน ๑๐.๓ กางเกงและเสื้อพลศึกษาใช้ตามท่ีโรงเรียนกำหนด ข้อ ๑๐ เคร่ืองแบบลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ๑. หมวกทางอ่อน สีเลอื ดหมู มีตราคณะลกู เสือแห่งชาติกำหนด ตดิ อย่ดู า้ นหนา้ หมวก ทำด้วยโลหะ สที อง เวลาสวมหมวก ตราลกู เสือจะอยูเ่ หนือคว้ิ ซ้าย ๒. เส้ือลกู เสือ เปน็ เสือ้ คอพบั สีกากี แขนส้ันเหนือศอก ผา่ อกตลอด อกเสื้อทำเปน็ สาบกว้าง ๓.๕
เซนติเมตร มดี ุมเหนือเข็มขัด ๔ ดุม อกมีกระเปา๋ ปะข้างละ ๑ กระเปา๋ มีแถบตรงกึ่งกลาง ตามทางดงิ่ ปกรูปมน ชายกลางแหลม เจาะรังดุมกง่ึ กลางประเปา๋ ๑ ดมุ มีอนิ ทรธนูสีเดยี วกับเสอื้ อยเู่ หนอื บ่าท้งั สองข้าง ดา้ นไหลก่ วา้ ง ๓.๕ เซนติเมตร เย็บติดกับตะเข็บไหลเ่ สอ้ื ด้านคอกว้าง ๒.๕ เซนติเมตร ปลายมน มีดมุ ตดิ ปลายอนิ ทรธนทู างด้านคอดา้ นละ ๑ ดุม ดุมลกั ษณะกลมแบน ทำดว้ ยวตั ถสุ นี ำ้ ตาลแก่ ให้สอดชายเสอ้ื อยู่ในกางเกง ๓. ผ้าผูกคอสามเหลยี่ มหนา้ จ่ัวสีมว่ ง ด้านฐาน ๑๐๐ เซนติเมตร ด้านตั้ง ๗๕ เซนตเิ มตร ดา้ นหน้าจ่ัว มีตราประจำจงั หวดั เพชรบูรณ์ และมีหว่ งซึ่งไม่ใช่หว่ งกิลเวลล์สวมผ้าผกู คอ ๔. กางเกงสกี ากี ขาสน้ั เหนือเข่าประมาณ ๕ เซนติเมตร ส่วนกวา้ งของขากางเกงเมื่อยนื ตรง ห่างจากขาตง้ั แต่ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ปลายขาพับเขา้ กว้าง ๕ เซนติเมตร ผ่าตรงสว่ นหน้า ใชด้ มุ ขนาดยอ่ มซ่อนไวด้ ้านใน มกี ระเปา๋ ตามแนวตะเข็บขา้ งละ ๑ กระเป๋า และมหี รู ้อยเขม็ ขัด ยาวไม่เกิน ๖ เซนติเมตร กว้าง ๑ เซนตเิ มตร ๕. อินทรธนูสีเลือดหมู ปลายอนิ ทรธนมู อี ักษรว่า ล.ญ. สีเหลือง ๖. เขม็ ขัดหนังสีน้ำตาล กว้างไม่เกิน ๓ เซนตเิ มตร หวั ชนิดหวั ขดั ทำด้วยโลหะสที อง มีดุนลาย ตราคณะลูกเสือแหง่ ชาติ ภายในกรอบชอ่ ชยั พฤกษ์ ๗. ถงุ เท้าสีกากี ยาวถึงใตเ้ ข่า ตดิ พสู่ เี ลอื ดหมูข้างละ ๑ พู่ พับปลายถุงเทา้ พู่ยาวลงมา ๑ เซนตเิ มตร ๘. รองเทา้ หนงั หรอื ผา้ ใบสีน้ำตาลแก่ ไม่มีลวดลาย หุ้มสน้ ชนิดผกู ข้อ ๑๑ เครือ่ งแบบเนตรนารี ๑. เคร่ืองแบบเนตรนารสี ามัญรุ่นใหญ่ ประกอบดว้ ย ๑.๑ หมวกปกี แคบ สีเขยี วแก่ มีตราหนา้ หมวกรปู เคร่อื งหมายเนตรนารีทำดว้ ยโลหะสที อง ปีกหมวกดา้ นหลังพับขึน้ ๑.๒ เสอื้ สเี ขยี วแกเ่ ช่นเดียวกับเสือ้ เครื่องแบบเนตรนารสี ามญั แต่มีอนิ ทรธนสู เี ลอื ดหมู ปลายอนิ ทรธนู มีรูปเคร่อื งหมายเนตรนารสี ีเหลอื ง ๑.๓ กระโปรง สเี ขียวแกเ่ ช่นเดียวกบั กระโปรงเนตรนารีสามัญ ๑.๔ ผ้าผูกคอ เช่นเดียวกบั ผา้ ผกู คอเนตรนารสี ามัญ ๑.๕ เข็มขัด หนงั สดี ำถงุ เทา้ รองเท้า เชน่ เดยี วกับเครอื่ งแบบเนตรนารสี ามญั
๒. เครอ่ื งหมายประกอบเคร่ืองแบบเนตรนารีสามญั รนุ่ ใหญ่ ประกอบดว้ ย ๒.๑ เคร่ืองหมายจังหวัด เช่นเดยี วกับเนตรนารสี ามญั ๒.๒ เครอ่ื งหมายเนตรนารีสามัญรนุ่ ใหญ่ ทำด้วยโลหะสีทองประกอบแถบโบวอ์ ยสู่ ่วนล่าง มคี ำวา่ “สามญั ร่นุ ใหญ่” ใช้กลดั ตดิ ท่ีอกเสื้อข้างซา้ ย มีขนาดกว้าง ๓ เซนตเิ มตร ยาว ๓ เซนตเิ มตร ๒.๓ เครอื่ งหมายหมู่ ทำด้วยผา้ รปู สี่เหลี่ยมจตั รุ ัส ยาวดา้ นละ ๓.๕ เซนตเิ มตร สขี าว ตรงกลางมีรูปนก สเี ขียวชนิดตา่ ง ๆ ตามทีก่ ำหนดไว้ ติดทไ่ี หล่เสือ้ ข้างซา้ ย ใตต้ ะเข็บประมาณ ๑ เซนติเมตร ๒.๔ เครอ่ื งหมายประจำการ เชน่ เดียวกับเครือ่ งหมายประจำการของเนตรนารสี ามัญ ๒.๕ เครอื่ งหมายสงั กัด เช่นเดยี วกับเคร่ืองหมายสงั กัดของเนตรนารีสามญั ๒.๖ เคร่ืองหมายภาษาต่างประเทศ ใชป้ ระกอบเคร่ืองหมายวิชาลา่ ม ทำด้วยผ้าสกี ากี รูปสเ่ี หลี่ยมผนื ผ้ายาว ๖ เซนตเิ มตร กวา้ ง ๑.๕ เซนตเิ มตร มีอักษรไทยบอกชอ่ื ภาษาตา่ งประเทศที่เนตรนารีพูดได้ดสี ขี าว ติดท่ีอกเสอื้ ข้างขวาเหนือกระเป๋า ๒.๗ สายยงยศ ทำดว้ ยไหมสีเลอื ดหมถู ักเป็นห่วงคล้องตน้ แขนขวาใต้อนิ ทรธนู ใช้ไดเ้ ฉพาะ เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ ทสี่ อบไดว้ ชิ าเนตรนารเี อก กับสอบได้วชิ าพิเศษตามที่กำหนด ในหลกั สูตร ๒.๘ เครื่องหมายเพชราวธุ ทำด้วยผ้ารูปหกเหลย่ี มสีแดง ตรงกลางมเี คร่ืองหมายวชริ ะสี เหลือง ขนาดยาว ๔ เซนติเมตร กว้าง ๓ เซนติเมตร ตดิ ท่ีอกเสอ้ื ด้านขวาเหนือกระเป๋าใช้ได้เฉพาะ เนตรนารีสามัญรนุ่ ใหญ่ท่ีมีสิทธิ์ใช้สายยงยศและสอบได้วิชาพเิ ศษตามที่กำหนดในหลกั สตู ร ๒.๙ เครื่องหมายผ้ฝู ึกสอน ทำด้วยผ้ารปู วงรี สีแดง ตรงกลางมีรูปเคร่ืองหมายเนตรนารีและ มีคำวา่ ผู้ฝึกสอนสเี หลือง ขนาดยาว ๔.๕ เซนตเิ มตร กวา้ ง ๔ เซนติเมตร ติดท่ีอกเส้ือ ดา้ นซ้ายเหนอื กระเป๋าใชไ้ ดเ้ ฉพาะเนตรนารสี ามญั รุ่นใหญ่ ท่สี อบไดว้ ชิ าเนตรนารีเอก กับสอบได้วชิ าพิเศษตามทีก่ ำหนดในหลักสูตร
๒.๑๐ เคร่อื งหมายวชิ าพเิ ศษ ทำด้วยผ้าสเี ลอื ดหมู รูปส่ีเหลี่ยมจัตรุ สั ยาวดา้ นละ ๔ เซนตเิ มตร มกี รอบอักษร “น.ญ.” สีเขียว ภายในกรอบมีรปู ตามที่กำหนด หมายเหตุ : ถา้ สอบได้ไม่เกิน ๙ วิชา ให้ติดทีแ่ ขนเสือ้ ข้างขวากง่ึ กลางระหวา่ งไหล่กับศอกเรียงกนั เปน็ แถวตาม แนวนอน แถวใดเกนิ ๓ วิชา ใหข้ ึ้นแถวใหม่ เวน้ ระยะระหว่างเครื่องหมายและระหวา่ งแถว ๑ เซนติเมตร ถา้ สอบได้ เกิน ๙ วิชา ให้มสี ายสะพายจากบา่ ซา้ ยไปประจบกันทีใ่ ตเ้ อวขวา ทำดว้ ยตว่ นหรือสกั หลาด สเี หลืองกว้าง ๑๐ เซนติเมตร ขลบิ รมิ สีขาบข้างละ ๑ เซนตเิ มตร และปักเคร่ืองหมายวิชาพิเศษ ๒.๑๑ เคร่ืองหมายหัวหนา้ หมแู่ ละรองหัวหน้าหมเู่ ชน่ เดยี วกบั หัวหน้าหม่แู ละรองหวั หนา้ หมู่ เนตรนารีสามญั แต่แถบผา้ สเี ลือดหมู่ ๒.๑๒ สายนกหวดี เชน่ เดยี วกับหัวหนา้ หม่แู ละรองหัวหนา้ หม่เู นตรนารีสามัญ ขอ้ ๑๒ เครอ่ื งแบบยุวกาชาด ๑. หมวก ทำด้วยผ้าสีกรมทา่ มรี ปู ทรงที่คงที่ แบบมีแกป๊ ด้านหนา้ ตลบปกี ดา้ นหลัง และด้านขา้ ง ทง้ั สองด้าน ๒. เสอ้ื สีฟา้ อมเทาแบบเช้ิตแขนส้นั ปลายแขนพบั ตลบออกด้านนอก ขนาดความกวา้ ง ประมาณ ๓ เซนตเิ มตร ตวั เสื้อผ่าอกตลอด มสี าบกวา้ ง ๓ เซนติเมตร และขัดดมุ ตลอด ๕ ดุม ท่อี กมี กระเป๋าสองขา้ งตรงกึ่งกลางกระเป๋าพบั จีบเปน็ แถบกว้างเท่ากับสาบเส้ือ มใี บปกรูปมนกลาง แหลมและขดั ดมุ ท่ีไหลเ่ สอ้ื มสี าบอินทรธนูขัดดุมข้างละหนง่ึ ดมุ ดุมทั้งสน้ิ ดังกล่าวน้ี มีลักษณะ กลมแบนขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง ๑ เซนตเิ มตร ทำดว้ ยวัสดสุ เี ดยี วกับเสอ้ื ทอี่ กเสอื้ ด้านขวาตดิ เข็มเครอ่ื งหมายสมาชิกยุวกาชาด ท่ีตน้ แขนขวาต่ำลงมา ๑ เซนติเมตร ตดิ แถบช่ือโรงเรยี น ขนาด ๒ x ๗ เซนตเิ มตร ตามแนวตะเขบ็ เสื้อทำด้วยผ้าสแี ดง กรอบและอกั ษรช่ือโรงเรียนเป็น สขี าว (ไม่ตอ้ งมีคำว่าโรงเรียน) และติดเคร่ืองหมายบอกชนั้ กล่มุ และหน่วยใต้แถบช่ือโรงเรยี น หา่ งจากจดุ กึง่ กลางปา้ ยชื่อโรงเรยี นลงมา ๑ เซนติเมตร ทแี่ ขนซา้ ยตดิ เครื่องหมายกิจกรรม ต่าง ๆ (ถ้าม)ี ท่ีอนิ ทรธนูตดิ ตัวเลขบอกระดับเป็นโลหะ ๓. ผ้าผกู คอ ใชส้ ีกรมท่ามีลักษณะเป็นสามเหลย่ี มมุมฉาก ด้านประกอบมุมฉากยาวด้านละ ๗๕- ๙๐ เซนตเิ มตร เย็บริมทง้ั ๓ ดา้ น ๔. กระโปรง ใช้ผ้าและสชี นดิ เดยี วกันกับเส้ือยาวคลมุ เข่ามีจบี รอบตวั ๑๒ จบี ระยะห่างจีบเท่ากัน
๕. เขม็ ขดั หัวเขม็ ขัดทำด้วยโลหะสีเงนิ รูปสีเ่ หลยี่ มผนื ผ้ากวา้ ง ๓.๕ เซนติเมตร ยาว ๔.๕ เซนติเมตร ตรงกลางมีลายดุนเปน็ เคร่อื งหมายอย่างเดียวกับเข็มเครือ่ งหมายหน้าหมวกสายเข็มขัดทำดว้ ย หนังสดี ำขนาดพอดีกับหัวเขม็ ขัดคาดทบั ขอบกระโปรง ๖. ถุงเท้า ชนิดส้ันสีขาวไมม่ ลี วดลาย ๗. รองเทา้ หนังสีดำแบบนักเรียน ข้อ ๑๓ การแต่งกายตามศาสนา หากนักเรยี นมีความจำเปน็ ต้องแต่งกายตา่ งจากทกี่ ำหนดไว้ เนอื่ งจากความจำเปน็ ทางศาสนา ประเพณหี รือความจำเป็นอื่นใดใหอ้ ย่ใู นอำนาจของผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผเ่ ป็นผูพ้ ิจารณา หมวดที่ ๒ วนิ ัย และการรกั ษาวนิ ยั ข้อ ๑๔ การเขา้ แถวและการเคารพธงชาติ ๑๔.๑ นักเรยี นต้องเตรียมตวั ไปเข้าแถวทันที เม่ือไดย้ ินเสยี งเพลงมาร์ชชมพูฟา้ เวลา ๐๘.๐๐ น. ทุกคนต้องเขา้ แถวใหเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อย เคารพธงชาตแิ ละธงโรงเรียน ๑๔.๒ ทกุ คนตอ้ งรว่ มกนั สวดมนต์แปลและร่วมกันทำกจิ กรรมหน้าเสาธง ๑๔.๓ เดินเขา้ ห้องเรยี นดว้ ยความเปน็ ระเบยี บ หลงั จากครูเวรประจำวนั อบรมแลว้ ไมห่ ยอกลอ้ ในระหวา่ งเดินเข้าช้นั เรยี นและไมแ่ ยกออกจากแถว ข้อ ๑๕ การทำความเคารพ ๑๕.๑ นักเรียนต้องทำความเคารพครูทกุ คน ในโรงเรยี นขณะที่อยใู่ นโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น ด้วยการไหว้ ๑๕.๒ เม่ือครูเขา้ สอนทกุ ช่ัวโมงใหห้ ัวหนา้ ชน้ั บอกว่า “นักเรยี นทงั้ หมดทำความเคารพ” นกั เรียน ยืนตรงแลว้ ไหว้ พร้อมกล่าวคำวา่ “สวัสดีครับ สวัสดคี ะ่ ” ๑๕.๓ เมอื่ หมดช่ัวโมงครจู ะออกจากชนั้ เรยี น ใหห้ ัวหน้าชนั้ เรยี นบอก “นักเรยี นท้ังหมดทำความเคารพ” นักเรียนยืนตรงแลว้ ไหว้พรอ้ มกล่าวคำว่า “ขอบคุณครับ ขอบคุณคะ่ ”
๑๕.๔ เมอ่ื ครถู ามนักเรียนคนใดคนหน่งึ ในขณะท่นี ัง่ ทำงานอยู่ ใหล้ ุกข้นึ ยืนพดู กับครใู นท่าตรง หรอื เม่อื ครูเรยี กพบจะเข้าพบครู ให้ยกมือไหวท้ ง้ั ไปและกลับ ๑๕.๕ การทำความเคารพ ในภาวะต่างๆ ให้ปฏิบตั ดิ ังน้ี ๑๕.๕.๑ ขณะท่นี ักเรยี นขบั ขี่รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน เมอ่ื สวนทางกบั ครูให้กม้ ศรี ษะ พองามเปน็ การแสดงความเคารพ ๑๕.๕.๒ เมอื่ นักเรยี นอยู่กบั ท่ีและแตง่ เครอื่ งแบบลูกเสือหรือเนตรนารหี รอื ยุวกาชาดหรอื นกั ศึกษาวชิ าทหาร ถา้ มีครหู รือผ้ทู ค่ี วรทำความเคารพผา่ นมา ให้นกั เรียนยืนตรง หนั หน้าไปทางผทู้ ่ีควรทำความเคารพ และทำวันทยาหตั ถ์ ถ้าอยใู่ นเครื่องแบบ นกั เรยี นใหย้ นื ตรง ถ้าอย่นู อก บรเิ วณโรงเรียนในชุดนกั เรียน ให้นกั เรียนทำความเคารพโดยการยกมือไหว้ พร้อมกบั กล่าวคำว่า “สวสั ดคี รับ สวัสดีค่ะ” ข้อ ๑๖ การมาโรงเรยี นและเวลาเรียน ๑๖.๑ นกั เรียนทกุ คนตอ้ งมาถึงโรงเรียนกอ่ นเชญิ ธงชาติขนึ้ สู่ยอดเสา (โรงเรยี นเข้าเรียน เวลา ๐๘.๐๐ น. เลกิ เวลา ๑๕.๓๐ น) ๑๖.๒ นักเรยี นทมี่ าถึงโรงเรยี นไมท่ นั เคารพธงชาติ (ร้องเพลงชาตจิ บ) ถือว่ามาสายและจะถกู ลงโทษ ๑๖.๓ นักเรยี นท่ีมาสายสามครงั้ ขึ้นไป จะเชญิ ผู้ปกครองมารับทราบความประพฤติ ๑๖.๔ การขาดเรยี น ถ้านกั เรียนคนใดขาดเรยี น โดยไมท่ ราบสาเหตุเกิน ๓ วนั หรอื ขาดสะสมเกิน ๕ วนั ครทู ป่ี รกึ ษาต้องแจ้งใหผ้ ู้ปกครองทราบ ถ้านักเรียนยงั มี พฤติกรรมเหมือนเดิมทางโรงเรียนจะเชิญผปู้ กครองมารบั ทราบเพอื่ รว่ มกันแก้ปัญหา ถา้ โรงเรียน ไมไ่ ด้รบั ความร่วมมือจากผ้ปู กครอง โรงเรียนจะพิจารณาโทษสูงสดุ ขอ้ ๑๗ การขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน เข้าห้องเรียนและหยดุ เรยี น ๑๗.๑ การขออนุญาตออกนอกโรงเรยี นในเวลาเรยี น (บางชว่ั โมงแลว้ กลบั มาเขา้ เรยี นอีก) ใหถ้ ือปฏิบัติ ดงั น้ี (ก) ให้ขอบัตรอนุญาตจากครูในกลุม่ บริหารงานกจิ การนักเรียน กรอกรายละเอียด พร้อมทั้ง ชีแ้ จงเหตผุ ลเพอื่ ประกอบการพิจารณาอนญุ าต (ข) ใหค้ รูทป่ี รึกษาหรอื ครูประจำวชิ าทนี่ ักเรยี นกำลังเรยี น หรอื วิชาทจี่ ะเรยี นในชั่วโมงต่อไป ลงชือ่ ในบตั รอนญุ าต ในช่องครูประจำวชิ าหรอื ครทู ี่ปรึกษา
(ค) ครูกลุ่มบริหารงานกจิ การนักเรยี น เขยี นช่ือนักเรียนลงในหนงั สอื ขออนญุ าตแลว้ ฉีก ตอนที่ ๒ ไว้ตอนท่ี ๑ ใหน้ ักเรยี นถือไปลงลายมือชือ่ ทส่ี มุดลงนามของนกั เรียนท่ยี าม รกั ษาการณ์ (ง) ให้นกั เรียนแสดงบตั รประจำตัวแล้วลงช่อื ในสมุดขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรยี น ทีย่ ามรักษาการณ์ ๑๗.๒ การลาปว่ ยหรือขอลากลับบา้ น (นกั เรยี นจะไม่กลับมาเรียนอกี ) ให้ถือปฏิบตั ิ ดังนี้ (ก) ผ้ปู กครองมารบั กลบั บ้าน ใหข้ อบัตรอนญุ าตจากครูในกลมุ่ บริหารงานกิจการนกั เรยี น กรอกรายละเอยี ด พร้อมทั้งช้แี จงเหตุผลเพอื่ ประกอบการพิจารณาอนุญาต (ข) ให้ครูท่ีปรกึ ษาหรอื ครปู ระจำวชิ าท่นี ักเรยี นกำลงั เรยี น หรือวิชาทจ่ี ะเรียนในช่วั โมงตอ่ ไป ลงช่ือในบัตรอนญุ าต ในช่องครูประจำวชิ าหรอื ครูทป่ี รกึ ษา (ค) ครูกลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน เขยี นช่อื นักเรยี นลงในหนังสือขออนญุ าตแล้วฉกี ตอนท่ี ๒ ไว้ ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนถือไปลงลายมือชอื่ ทสี่ มุดลงนามของนักเรยี นที่ยาม รกั ษาการณ์ (ง) ให้นกั เรยี นแสดงบัตรประจำตัวแลว้ ลงชื่อในสมุดขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น ที่ยามรกั ษาการณ์ (จ) ไม่อนุญาตใหน้ ักเรยี นขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียนในกรณีทล่ี ืมอุปกรณ์การเรยี น ๑๗.๓ การขออนุญาตหยุดเรียน ในกรณีจำเป็นทีน่ ักเรยี นต้องลาหยดุ การเรยี น นักเรียนต้องเขยี น ใบลาขออนญุ าตหยุดเรียนส่งทค่ี รูทปี่ รึกษาหรอื จะส่งก่อนวนั ลาหยุดก็ได้ โดยให้ปฏิบตั ดิ ังน้ี (ก) ให้ผู้ปกครองเป็นผลู้ งลายมอื ช่อื ขออนญุ าต (ข) ให้นักเรียนนำใบลาสง่ ครูท่ีปรึกษา ขอ้ ๑๘ การจดั ห้องเรยี นและการรกั ษาความสะอาด ๑๘.๑ ให้นักเรยี นนงั่ ตามผงั ท่ีครทู ป่ี รึกษากำหนด ๑๘.๒ การจดั โต๊ะ เก้าอ้ี น่ังใหเ้ ป็นระเบียบ เป็นไปตามที่ครูท่ีปรกึ ษากำหนด ๑๘.๓ ให้มเี วรทำความสะอาดประจำหอ้ งเรยี น เวรต้องทำความสะอาดหอ้ งเรียนตลอดวัน ควรทำความสะอาดทงั้ ภาคเช้า - เย็น ๑๘.๔ ถ้าเวรไม่ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ถี ือว่ามีความผดิ ร้ายแรง ให้หัวหน้าช้ันรายงานครูท่ีปรึกษาทราบ ๑๘.๕ หา้ มทำสิ่งใดส่งิ หนง่ึ ของโรงเรยี นหรือห้องเรยี นชำรุดหรือสกปรกเปรอะเป้อื น
๑๘.๖ ห้ามนกั เรยี นเขา้ ห้องเรียนอ่นื ท่ไี ม่มีใครอยู่ หา้ มเข้าห้องพักครู หอ้ งปฏบิ ัตงิ านก่อนไดร้ ับ อนุญาตโดยเดด็ ขาด ขอ้ ๑๙ ข้อปฏบิ ตั ใิ นโรงเรียน ๑๙.๑ ขณะท่เี รยี นวชิ าใดวชิ าหน่งึ อยู่ ห้ามนำวิชาอ่ืนมาทำหรอื ดโู ดยผู้สอนไม่อนุญาต ๑๙.๒ ห้ามนักเรยี นนำสงิ่ ของเหล่านเี้ ขา้ มาในโรงเรยี นก่อนไดร้ บั อนญุ าต ดงั น้ี (ก) ส่งิ ของมีคา่ เคร่ืองประดบั อาวธุ สง่ิ เทียมอาวธุ หรือวัสดุอื่นใดท่ีไมเ่ ก่ยี วข้องกบั การเรียน หากนำมาจะพิจารณาลงโทษตามระเบียบของโรงเรียน ในหมวดที่ ๔ การลงโทษ และการ พจิ ารณาโทษนกั เรยี น ตามสมควรแก่ความผิด (ข) โรงเรยี นอนุญาตใหน้ ักเรยี นนำคอมพวิ เตอร์เคลอื่ นที่ (Laptop) โทรศัพทม์ ือถือ แทบ็ เล็ต สมาร์ทโฟน หรอื เครื่องมือสอื่ สารทส่ี ามารถเชอื่ มต่อกบั ระบบอินเตอร์เนต็ เข้ามาในโรงเรยี นได้ และอนญุ าตใหใ้ ช้ ๓ ช่วงเวลา คือ ช่วงเชา้ ตงั้ แต่มาโรงเรยี น ถงึ เวลา ๐๘.๐๐ น. ชว่ งพักกลางวนั ตั้งแตเ่ วลา ๑๒.๐๐ น. ถงึ เวลา ๑๓.๐๐ น. ชว่ งเยน็ ตงั้ แตเ่ วลา ๑๕.๓๐ น. เปน็ ต้นไปหรอื ใหใ้ ช้ในเวลาเรียนที่ครูประจำวชิ าอนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่ือ สืบคน้ ขอ้ มลู ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ทง้ั นี้ให้อยใู่ นความดแู ลของครู ประจำวชิ านั้นๆ หากพบนักเรยี นใช้ในเวลาเรยี นและครปู ระจำวชิ าไม่อนญุ าตให้ใช้ โรงเรยี นจะยึดไว้ และคนื ใหห้ ลงั จากพน้ ๑๕ วนั นับแตว่ นั ถกู ยดึ หากกระทำเปน็ คร้ัง ที่สองโรงเรยี นจะคืนใหเ้ ม่อื ส้ินภาคเรียนนั้น ๆ ความผิดในทกุ กรณีให้ผู้ปกครองเปน็ ผู้มา ติดตอ่ รบั คืนและรับทราบ ความผิดเท่านนั้ (ค) สงิ่ ของท่นี ักเรยี นนำมา ตามข้อ (ก) และ (ข) ทอี่ ยู่ในความดแู ลของนักเรียนหากสูญหาย โรงเรยี นจะไม่รับผดิ ชอบไมว่ ่ากรณใี ด ๆ ท้งั สิ้น ๑๙.๓ นักเรียนตอ้ งตงั้ ใจเรียน ฟังคำอธบิ ายของครดู ้วยความสงบเรียบรอ้ ย โดยไมล่ ุกจากท่นี ัง่ หากไมไ่ ด้รับอนุญาตจากครูผสู้ อน ๑๙.๔ หากมขี ้อสงสยั จะถามครูตอ้ งยกมือขึน้ ขออนุญาต เม่ือได้รบั อนุญาตแล้ว ให้ยนื ขนึ้ ถามหรือ แสดงความคิดเหน็ ๑๙.๕ ห้ามสง่ เสยี งดงั เดินพลกุ พลา่ นในห้องเรียนโดยพลการ นัง่ หันหลังใหค้ รู หรอื หลับในห้องเรยี น ถือว่าไม่สนใจการเรียนจะได้รบั การพิจารณาโทษตามควร
๑๙.๖ หา้ มลุกออกจากห้องเรียนก่อนไดร้ ับอนุญาต ๑๙.๗ ถ้าครูประจำวชิ าไม่เข้าสอนภายใน ๑๐ นาที ใหห้ วั หน้าห้องไปแจ้งครูประจำวชิ าถ้าไม่พบใหไ้ ป แจ้ง หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนในรายวชิ านนั้ หรอื รองผู้อำนวยการ กลุม่ บรหิ ารงานวชิ าการ ๑๙.๘ หา้ มเล่นการพนันทุกชนดิ และนำสือ่ ลามกเขา้ มาในโรงเรียน ๑๙.๙ ห้ามทำลายอปุ กรณ์ เครอ่ื งใชใ้ นอาคารเรียน เชน่ โต๊ะ เก้าอ้ี กระจก ประตู หน้าต่าง หรอื ขดี เขียนให้สกปรกถือวา่ เปน็ ความผิด จะต้องชดใช้และซ่อมแซมตามทโ่ี รงเรียนกำหนด ขอ้ ๒๐ การเรยี น การใช้หอ้ งเรยี น และหอ้ งพักครู ๒๐.๑ ในระหวา่ งเวลาเรียนนกั เรยี นตอ้ งอยใู่ นห้องเรียน จะออกจากห้องเรยี นไปอยู่ท่อี ื่นไม่ได้ เวน้ แต่ไดร้ บั อนุญาตจากครูผู้สอน ๒๐.๒ ขณะท่ีครูประจำวชิ ายังไม่เขา้ สอน ห้ามออกนอกห้องเรียน ถ้ามคี วามจำเปน็ ให้ขออนุญาต หวั หนา้ ห้อง เพ่อื แจง้ ช่อื ครูท่ีปรึกษาหรือครูประจำวชิ า ๒๐.๓ ผู้ทไ่ี ม่เข้าเรียน หรือหนีเรยี นในชัว่ โมงใดช่วั โมงหนง่ึ ถือว่ามคี วามผดิ อยา่ งร้ายแรงจะต้อง ได้รับการพจิ ารณาโทษ ๒๐.๔ ขณะทค่ี รูประจำวิชาสอนอยู่ ถ้ามคี วามจำเป็นที่จะต้องออกนอกหอ้ งเรียนต้องขออนุญาต ครูผ้สู อนประจำวชิ า ๒๐.๕ ถา้ นักเรยี นขาดเรียนติดตอ่ เปน็ เวลา ๓ วนั โดยไม่ลา ให้ครูทีป่ รึกษาแจง้ ให้ผ้ปู กครองทราบ ๒๐.๖ ถา้ นกั เรยี นมคี วามจำเป็นทจ่ี ะเข้าห้องพกั ครู ต้องขออนญุ าตก่อน ห้ามเข้าโดยพลการ ๒๐.๗ หา้ มเล่นกีฬาบางชนดิ ในหอ้ งเรยี นและบนอาคารเรียน เช่น ฟุตบอล บาสเก็ตบอล วอลเลยบ์ อล ฯลฯ หรอื กีฬาท่ีเกิดความรุนแรงอนั จะสง่ ผลให้เกดิ ความเสียหายแกห่ ้องเรียน และอาคารเรียน ๒๐.๘ ห้ามจำหนา่ ยหรอื เสพสารเสพติดทุกชนดิ ท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา ขอ้ ๒๑ การลา ๒๑.๑ การหยุดโรงเรียนทุกคร้ังต้องส่งใบลาและมีคำรับรองจากผปู้ กครองทุกครั้ง ๒๑.๒ การย่ืนใบลาป่วย ให้ย่ืนในวันแรกท่มี าโรงเรียน ถ้าป่วยหนักจะต้องมใี บรับรองแพทย์ มฉิ ะนัน้ ทางโรงเรยี นจะออกหนงั สือแจ้งผู้ปกครอง และเม่ือผ้ปู กครองได้รบั หนังสอื จากทางโรงเรยี นจะต้องติดต่อกลบั
๒๑.๓ การลาเป็นสิทธสิ ่วนบุคคลจะทำแทนกันไม่ได้ เว้นแต่จะฝากใบลามากบั คนอนื่ กไ็ ด้ ๒๑.๔ นักเรยี นขาดโรงเรียนเกิน ๑๕ วันทำการ เมื่อโรงเรียนตดิ ตอ่ กับผปู้ กครองแล้ว ผปู้ กครองไม่มาแจ้งเหตุผลในการขาดเรียนให้ทางโรงเรยี นทราบ ทางโรงเรยี น จะคัดชอ่ื ออกจากทะเบยี นโรงเรยี น หมวดที่ ๓ การดำเนินการทางวนิ ยั ข้อ ๒๒ นกั เรยี นประพฤตติ นเสื่อมเสยี ชอื่ เสยี งของโรงเรยี น เปน็ ความผดิ วินยั อยา่ งร้ายแรง ข้อ ๒๓ นักเรียนขัดขืนหลีกเล่ียง ไมป่ ฏบิ ตั ิตามคำสงั่ ครู หรือคำส่งั โรงเรียน จนเกิดความเสียหายแกโ่ รงเรียน เป็นความผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรง ข้อ ๒๔ นกั เรียนแจ้งความเท็จตอ่ ครหู รือผ้บู ริหาร ทำให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนรวมเป็นความผิดวนิ ยั อยา่ ง รา้ ยแรง ขอ้ ๒๕ นักเรียนแตง่ กายเครื่องแบบนักเรียนไม่เรยี บร้อย หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมขณะอยู่ในเครอื่ งแบบ นักเรียน ให้ปรากฏในท่สี าธารณะจนเกิดความเสื่อมเสยี เกยี รติคุณของโรงเรียน เปน็ ความผดิ วนิ ัยอยา่ งร้ายแรง ข้อ ๒๖ นกั เรยี นทำลายทรพั ย์สนิ หรอื ทรัพยส์ มบัตขิ องโรงเรียนเสยี หาย เป็นความผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรง ข้อ ๒๗ นักเรยี นประพฤติตนตอ่ บดิ า มารดา ผู้ปกครองหรือครูอย่างใด อย่างหนึ่งดังตอ่ ไปน้ถี ือเป็น ความผิดวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง (๑) กล่าวคำหยามหมนิ่ ประมาทก้าวร้าวต่อบิดา มารดา ครู ผ้ปู กครอง (๒) ทำร้ายรา่ งกาย หรอื แสดงท่าทางจะทำรา้ ยร่างกายบดิ า มารดา ผปู้ กครองหรอื ครู (๓) หลบหลกี ขัดขืน เมื่อครลู งโทษตามระเบยี บของโรงเรียน (๔) นักเรียนทะเลาะวิวาท ชกต่อยกนั โดยใชอ้ าวุธหรอื ไม่กต็ ามเป็นความผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรง (๕) นกั เรียนร่วมกันก่อเหตุทะเลาะววิ าททำร้ายบุคคลอ่ืนใหไ้ ด้รับบาดเจบ็ เปน็ ความผิดวนิ ัย อย่างร้ายแรง ขอ้ ๒๘ นกั เรียนประพฤตอิ ยา่ งใดอย่างหน่งึ ต่อไปนี้ถือเปน็ ความผดิ วินัยอย่างรา้ ยแรง (๑) จำหนา่ ย ซือ้ แลกเปลยี่ น ยาเสพตดิ เสพสรุ า บหุ ร่ีหรอื มีไวใ้ นครอบครอง
(๒) เลน่ การพนนั หรือจัดใหม้ กี ารเล่นการพนนั ทุกชนิด (๓) ลักทรพั ย์ ข่มขู่ หรอื รีดไถเงนิ ส่ิงของจากผอู้ ืน่ (๔) กระทำการใด ๆ ท่ีก่อใหเ้ กิดการแตกแยกในหมู่คณะทงั้ ในสถานศึกษาหรือนอกสถานศึกษา (๕) พกพาอาวุธ หรือวตั ถเุ ทียมอาวธุ วตั ถุระเบดิ มาโรงเรยี นหรอื นอกโรงเรียน (๖) คา้ หรือเปน็ ธุระจัดหาเกีย่ วกับการคา้ ประเวณี (๗) แสดงพฤตกิ รรมทางช้สู าว (๘) ขดั คำสั่ง หรอื หลีกเลย่ี งไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของครู ผู้บริหาร ซง่ึ สั่งด้วยชอบตามระเบยี บแบบแผน ของโรงเรียน (๙) นกั เรยี นกระทำความผดิ อาญาจนมีคดคี วาม หมวดที่ ๔ การลงโทษและการพิจารณาโทษนักเรียน เพอ่ื ใหเ้ กิดความสงบเรียบร้อยภายในโรงเรียน รวมทั้งปอ้ งกันเหตุรา้ ยทจ่ี ะเกิดขนึ้ โรงเรยี นหนองไผจ่ งึ ไดก้ ำหนดบทลงโทษนักเรยี นท่ีกระทำความผิด ตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการลงโทษนักเรยี น นกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๒๙ การลงโทษนักเรียนที่กระทำความผิดมโี ทษ ๔ สถาน ดังน้ี (๑) วา่ กลา่ วตักเตอื น (๒) ทำทณั ฑบ์ น (๓) ตดั คะแนนความประพฤติและบันทกึ ข้อมูล (๔) ทำกิจกรรมเพ่ือใหป้ รับเปลยี่ นพฤติกรรม การลงโทษนกั เรียนใหเ้ ป็นไปเพ่อื เจตนาที่จะแกน้ ิสยั และความประพฤติไม่ดีของนักเรยี นให้รูส้ ำนึกใน ความผดิ และกลับประพฤติตนในทางท่ีดีต่อไป ขอ้ ๓๐ เม่อื นักเรียนกระทำความผิดระเบียบ ข้อบงั คับของโรงเรยี นให้มกี ระบวนการพจิ ารณา โทษนกั เรยี น ดงั นี้ (๑) การกระทำผดิ ครั้งแรกไม่รา้ ยแรง ใหค้ รทู ่ีพบเหน็ วา่ กลา่ วตักเตือนหรือทำโทษตามควรแกก่ รณี และรายงานใหค้ รทู ป่ี รกึ ษาทราบเพือ่ บนั ทกึ เป็นข้อมลู (๒) กระทำผดิ ซ้ำอีกและไม่ร้ายแรง ครทู ่ีปรึกษาลงโทษ และทำทัณฑบ์ นไว้ที่กลมุ่ บรหิ ารงาน
กิจการนกั เรยี น เพอ่ื ตัดคะแนนความประพฤติ แล้วแจ้งให้ผ้ปู กครองทราบ (๓) กระทำความผิดรา้ ยแรง ครูที่ปรกึ ษา หัวหน้าระดบั ลงโทษ ทำทณั ฑบ์ น ตัดคะแนน ความประพฤตแิ ละทำกิจกรรมตามที่กำหนด แลว้ แจง้ ผ้ปู กครองทราบ (๔) นักเรียนกระทำความผดิ ซ้ำอีก ในการกระทำกรณเี ดยี วกัน หรอื หลายกรณรี ้ายแรง หรอื ไมร่ ้ายแรงกต็ าม ครูที่ปรึกษา หวั หน้าระดับชน้ั ลงโทษทำทณั ฑบ์ น ตัดคะแนนความประพฤติ ทำกจิ กรรมและแจ้งผู้ปกครอง (๕) เมื่อดำเนินตามข้อ ๓ และข้อ ๔ นักเรยี นยงั กระทำผิดอีก ครทู ป่ี รกึ ษาหรือหัวหน้าระดบั รายงาน หวั หน้ากล่มุ บรหิ ารงานกจิ การนักเรียน เพื่อทางกลมุ่ บริหารงานกิจการนกั เรยี น จะได้ดำเนนิ การ ต่อไป หรอื ส่งต่อให้ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นพิจารณาโทษสงู สุดตามความเหมาะสม ข้อ ๓๑ เมอื่ นักเรียนกระทำผิดวนิ ัยอย่างร้ายแรง ให้คณะกรรมการกลุ่มบริหารงานกจิ การนักเรยี นสืบหา ข้อเท็จจรงิ หากผลการสบื สวนปรากฏชดั เจนว่าผิดจริง คณะกรรมการกลุ่มบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น ประชุมเพ่ือพจิ ารณาโทษแลว้ เสนอผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาทราบเพ่ือพิจารณาสง่ั การ ข้อ ๓๒ ผมู้ อี ำนาจในการลงโทษ ๑. รองผู้อำนวยการทุกกลุ่ม หัวหน้าระดบั ชนั้ ทกุ ระดับ และครูทท่ี ำการสอนทุกคน ลงโทษ ตามข้อ ๒๙ (๑ - ๔) ๒. คณะกรรมการกลมุ่ บริหารงานกจิ การนกั เรยี น รองผูอ้ ำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรยี น ลงโทษตามข้อ ๒๙ (๑) - (๔) ข้อ ๓๐ (๑) - (๕) ๓. ผู้อำนวยการสถานศึกษาลงโทษไดท้ ุกกรณแี ละพจิ ารณาโทษสูงสุดตามความเหมาะสม ๔. การลงโทษนักเรียนทกุ ครั้งให้บันทกึ ตามแบบฟอรม์ ที่กลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี นกำหนด พร้อมทงั้ รายงานให้ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษาทราบ ข้อ ๓๓ คะแนนและการลงโทษตัดคะแนนความประพฤติของนักเรยี น นักเรยี นทุกคนท่ศี ึกษาอยู่ในโรงเรียนหนองไผ่ มีคะแนนความประพฤติ ๑๐๐ คะแนน และหาก นกั เรียนกระทำผดิ ระเบียบข้อบงั คบั ของโรงเรียนจะต้องถกู ลงโทษ ตัดคะแนนความประพฤติตามตารางท่ี กำหนด ซง่ึ มเี กณฑ์การพิจารณาตามความผดิ แลว้ แต่กรณี ดังนี้ ๑. นกั เรียนทถี่ ูกตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนนหรืออย่ใู นดุลยพนิ จิ ของโรงเรยี น จะเชิญผ้ปู กครองมาพบ พร้อมบนั ทกึ ขอ้ มูลและร่วมกันแก้ไขความประพฤติของนกั เรยี น ๒. นักเรยี นท่ีถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนนขึน้ ไป โรงเรียนจะเชิญผปู้ กครองมาพบ
เพ่อื ทำทณั ฑบ์ น ทำกจิ กรรมเพ่อื ปรับเปลยี่ นพฤติกรรมพรอ้ มบันทกึ ข้อมลู ไว้เปน็ หลกั ฐาน ๓. นกั เรียนทีถ่ ูกตัดคะแนนความประพฤตติ งั้ แต่ ๔๐ คะแนนขน้ึ ไป หากปรากฏว่านักเรียน ประพฤติเสื่อมเสยี ช่ือเสียงของโรงเรยี นจะแจ้งใหผ้ ปู้ กครองทราบและอาจให้ย้ายสถานศึกษา ๔. นกั เรยี นท่ถี ูกตัดคะแนนความประพฤติ ๕๐ คะแนนขึ้น หากปรากฏว่านกั เรียนประพฤติ เส่ือมเสียชอื่ เสยี ง และผิดวนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรง โรงเรียนจะแจง้ ให้ผู้ปกครองทราบและ ใหผ้ อู้ ำนวยการสถานศกึ ษาพจิ ารณาโทษสูงสดุ ตามความเหมาะสม การลงโทษโดยใช้วิธีการทำกิจกรรมเพ่อื ให้ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมของโรงเรียนหนองไผ่ การทำกจิ กรรม คือ การทำกิจกรรมเพ่ือให้ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมของนกั เรียน ต้องทำทุกกจิ กรรมท่ี กำหนดในแต่ละระดับชั้น หรือตามความเหมาะสมของความผดิ กิจกรรมที่ ๑ หมายถงึ กิจกรรมพัฒนาโรงเรียนรอบๆ อาคารต่าง ๆ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพเป็นกจิ กรรมท่ีครู สามารถใหน้ ักเรียนปฏิบัติไดท้ ันทีและถูกตัดคะแนน ๑ – ๑๐ คะแนน ได้แก่ ๑. เกบ็ ขยะภายในโรงเรียน หรอื รอบ ๆ อาคารตา่ ง ๆ ๒. ทำความสะอาดห้องเรยี น อาคารเรียนหรอื บริเวณภายในโรงเรยี น ๓. วง่ิ รอบสนาม ดนั พื้นหรือวงิ่ อยกู่ บั ท่ีตามความเหมาะสม กิจกรรมที่ ๒ หมายถงึ กิจกรรมการพัฒนาบริเวณโรงเรยี น การพัฒนาบคุ ลิกภาพ และสติปญั ญา เป็นกิจกรรมท่คี รูอาจจะนดั หมายใหน้ ักเรียนมาปฏบิ ตั ติ ามเวลาท่กี ำหนด เน่ืองจากเป็นการกระทำความผิด ระดบั กลางและถูกตดั คะแนน ๑๑ – ๑๙ คะแนน ได้แก่ ๑. พฒั นา ทำความสะอาดภายในอาคารเรียนตามท่ีครูกำหนดในเวลา ๕ วันทำการ ๒. เก็บเศษขยะ เศษวสั ดอุ ื่น ๆ ภายในโรงเรยี นตามที่ครกู ำหนดในเวลาหลังเลิกเรียนเป็นเวลา ๕ วนั ทำการ ๓. ทำรายงานตามหวั ข้อท่ีครูกำหนดเพ่ือพัฒนาสติปญั ญา ความยาว ๑ - ๒ หนา้ กระดาษหรือ รายงานข่าววันละ ๑ - ๒ ข่าว บรเิ วณหน้าเสาธงเปน็ เวลา ๕ วนั ทำการ กจิ กรรมที่ ๓ หมายถึงกจิ กรรมพฒั นาบริเวณโรงเรยี น พฒั นาบคุ ลกิ ภาพและสตปิ ญั ญาเปน็ กิจกรรม ทีค่ รอู าจจะนัดหมายให้นกั เรียนปฏบิ ัติตามกำหนดเวลาท่ีกำหนด เนอื่ งจากเป็นการกระทำความผดิ ร้ายแรงและ ถูกตัดคะแนน ๒๐ คะแนนขนึ้ ไป ไดแ้ ก่ ๑. ล้างหอ้ งน้ำครู - นกั เรียน จำนวน ๕ – ๑๐ ห้อง เปน็ เวลา ๕ วันทำการ
๒. พฒั นาโรงเรยี นหรอื สาธารณะสมบัตติ ามท่ีกำหนดในวนั หยุดราชการ (เสาร์ – อาทติ ย์) เป็นเวลา ๖ วนั ๓. เกบ็ เศษขยะหรือเศษวัสดุอ่ืนภายในโรงเรียนตามท่ีครูกำหนด ในเวลาหลงั เลิกเรยี นเปน็ เวลา ๑๐ วนั ทำการ ตารางกำหนดการลงโทษ และตดั คะแนนความประพฤติของนกั เรียน โรงเรียนหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จงั หวดั เพชรบูรณ์ สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาเพชรบรู ณ์ ประเภทความผดิ วินยั นกั เรยี นไม่ร้ายแรง ลำดั ครั้งท่ี ๑ ครงั้ ที่ ๒ ครงั้ ท่ี ๓ หมายเหตุ บท่ี ประเภทความผิด คะแน ทำ คะแน ทำ คะแน ทำกจิ กรรม น กิจกรรม น กจิ กรรม น ๑ มาโรงเรียนสาย เตอื น - ๒๑ ๔๒ ๒ แต่งกายผิดระเบยี บ เตือน - ๓๑ ๕๒ ๓ ไวผ้ มยาว/ทรงผมผิดระเบียบ เตือน - ๓๑ ๕๒ ๔ หนีเรียน ๕๑ ๗๒ ๒๐ ๔ ๕ หนกี ารเข้าแถว/ไม่รว่ ม ๕๒ ๑๐ ๓ ๑๕ ๔ กจิ กรรม ๖ ใช้โทรศพั ท์โดยไมไ่ ดร้ ับ ๑๐ ๒ ๒๐ ๔ ๓๐ ๕ อนุญาต ๗ ขบั ขี่ยานพาหนะในบรเิ วณ ๕ ๒ ๑๐ ๓ ๒๐ ๕ โรงเรยี นหรอื พน้ื ท่หี ้ามนกั เรยี น ขับขี่เวลาทำการ
ประเภทความผดิ วนิ ยั นกั เรยี นรา้ ยแรง ลำดั คร้งั ที่ ๑ ครัง้ ท่ี ๒ ครัง้ ท่ี ๓ หมายเหตุ บที่ คะแน ทำ ประเภทความผดิ คะแน ทำ น กิจกรรม คะแน ทำกจิ กรรม น กิจกรรม ๑๕ ๔ น ๒๕ ๒ ๑ สบู บหุ รี่/เท่ียวกลางคนื ๑๐ ๒ ๒๕ ๖ ๒๐ ๖ ๒ ดม่ื สรุ า ๒๐ ๓ ๑๕ ๔ ๓๐ ๖ ๑๕ ๔ ๓ กอ่ การทะเลาะวิวาททัง้ ใน ๒๐ ๔ ๓๐ ๖ และนอกโรงเรยี น ๑๐ ๓ ๒๐ ๕ ๔ ขาดโรงเรยี นโดยไมม่ ีเหตุผล ๑๐ ๓ ๒๐ ๕ ๑๐ ๔ ๒๐ ๕ ๕ ขัดคำส่ังครทู ส่ี ่ังโดยชอบด้วย ๕ ๓ ๓๐ ๕ ระเบียบแบบแผนข้อบังคับ ๔๐ ๖ ของโรงเรียน ๔๐ ๖ ๖ ไม่ให้ความเคารพครู ๕๒ ๑๕ ๔ ๔๐ ๖ ๗ หนอี อกจากบริเวณโรงเรียน ๑๐ ๔ ๓๐ ๖ ในเวลาเรียน ๒๐ ๕ ๘ ชสู้ าว ๕๒ ๕๐ ๖ ๙ ทำลายช่ือเสียงของโรงเรียน ๒๐ ๔ ส่งตอ่ ให้ผู้อำนวยการ ๑๐ พูดจาหยาบคายทำตนเปน็ ๒๐ ๔ โรงเรยี นพิจารณาโทษ อนั ธพาล กระทำ สงู สุด อนาจาร สง่ ต่อให้ผู้อำนวยการ ๑๑ พาพาอาวธุ หรือวตั ถเุ ทียม ๒๐ ๔ โรงเรยี นพจิ ารณาโทษ อาวธุ มาโรงเรียน สูงสุด ๑๒ ดูหม่นิ กา้ วรา้ วตอ่ ครู ๒๐ ๔ ส่งตอ่ ให้ผู้อำนวยการ โรงเรียนพจิ ารณาโทษ สงู สุด
ลำดั ครั้งที่ ๑ คร้ังท่ี ๒ คร้งั ท่ี ๓ หมายเหตุ บที่ คะแน ทำ ประเภทความผิด คะแน ทำ น กิจกรรม คะแน ทำกิจกรรม น กิจกรรม ๔๐ ๖ น ๑๓ ทำลายทรพั ยส์ นิ ของโรงเรียน ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ สง่ ต่อให้ผู้อำนวยการ ครู นักการฯและนักเรยี น โรงเรียนพจิ ารณาโทษ สงู สดุ ๑๔ ขโมยทรัพย์สินหรือรีดไถผู้อ่ืน ๒๐ ๔ สง่ ตอ่ ให้ผอู้ ำนวยการ โรงเรยี นพิจารณาโทษ สูงสดุ ๑๕ เล่นพนันทกุ ชนดิ ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ สง่ ตอ่ ให้ผู้อำนวยการ โรงเรียนพิจารณาโทษ สงู สดุ ๑๖ นำบุคคลภายนอกเข้ามาม่ัวสมุ ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ ส่งต่อให้ผูอ้ ำนวยการ ในโรงเรียน โรงเรียนพจิ ารณาโทษ สูงสดุ ๑๗ เสพยาหรือตดิ ยาเสพตดิ ๓๐ ๔ ๕๐ ๖ สง่ ตอ่ ให้ผู้อำนวยการ โรงเรียนพจิ ารณาโทษ สูงสดุ ใหเ้ ข้ารบั การพักฟืน้ (รกั ษา) ๑๘ มียาเสพตดิ ไวใ้ นครอบครอง สง่ ตอ่ ให้ผู้อำนวยการโรงเรียนพจิ ารณาโทษสูงสุด เพอื่ จำหน่าย ๑๙ ประพฤตผิ ิดรา้ ยแรงในทางชู้ สง่ ต่อให้ผ้อู ำนวยการโรงเรียนพจิ ารณาโทษสงู สุด สาว ประกาศ ณ วันท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงชือ่ ( นายพัชรนิ ภู่ชยั ) ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่
แนวปฏบิ ัติในการขอหนังสือรับรองความประพฤตนิ ักเรียน โรงเรยี นหนองไผ่ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบรู ณ์ หลักฐานท่ใี ช้ 1. แบบคำรอ้ งขอหนังสือรับรองความประพฤตนิ ักเรียน 2. รปู ถา่ ยนักเรยี นทีถ่ ่ายไวไ้ มเ่ กนิ 6 เดอื นขนาด 1.5 นวิ้ จำนวน 1 รปู /หนงั สือ 1 ฉบับ 3. ร่างตวั อย่างหนังสอื รบั รองความประพฤติ (กรณีท่ีไม่ใช่รูปแบบทโี่ รงเรียนกำหนด) ข้นั ตอนการดำเนินการ 1. รับใบคำร้องขอหนังสือรบั รองความประพฤตทิ ่ีงานวินัยนักเรียน กลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น และเขยี นคำร้องใหค้ รบตามรายการทกี่ ำหนด ลงช่ือผ้ยู ่ืนคำร้องพร้อมระบุเหตุผลทขี่ อหนังสือรับรองความ ประพฤตินักเรียน ทั้งนี้ต้องให้ครทู ป่ี รึกษาลงนามในแบบคำรอ้ งขอหนังสือรับรองความประพฤติดว้ ย 2. ยนื่ คำรอ้ งที่กรอกข้อมลู แล้ว พรอ้ มรูปถา่ ย ให้เจ้าหน้าทีง่ านวินัยนกั เรยี น กลุม่ บรหิ ารงานกิจการ นักเรียนตรวจสอบความถูกต้อง สง่ คำร้องลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 5 วันทำการ (ไมน่ ับวันหยดุ ราชการ) ก่อนรับ ใบรับรอง โดยรูปถา่ ยทใ่ี ช้ทำใบรับรองความประพฤตติ ้องถูกตอ้ งตามระเบียบ ดงั นี้ 2.1 กรณนี กั เรยี นกำลังศึกษาอยู่ รูปถา่ ยท่ีใช้จัดทำใบรับรองความประพฤติตอ้ งเปน็ รปู ถ่ายชดุ นักเรยี น ไม่สวมหมวก ไม่สวมแวน่ ตา และเครื่องประดับ ทรงผมถกู ต้องตามระเบียบของโรงเรยี นพืน้ หลงั รปู สี ฟ้า ขนาด 1.5 นว้ิ หรือ 3 x 4 เซนตเิ มตร รปู ถา่ ยมีอายุไม่เกิน 6 เดอื น โดยมีข้อควรระวงั ดังนี้ 3. รับหนงั สือรบั รองความประพฤตทิ ีย่ ื่นคำร้องขอไว้โดยลงช่อื รบั ทุกคร้ัง ในเลม่ บนั ทึกการรับใบรับรอง ความประพฤตนิ ักเรยี นต้องรับด้วยตวั เอง ไม่อนญุ าตให้เพื่อนรับแทน ยกเวน้ ผปู้ กครองติดต่อรับใบรับรอง ความประพฤติแทนนกั เรียน ขอใหแ้ สดงบตั รประชาชน แก่เจ้าหน้าท่ีงานวนิ ัยนักเรียน กล่มุ บรหิ ารงานกจิ การ นกั เรยี น **หมายเหตุ** 1. ให้กรอกรายละเอยี ดในแบบคำรอ้ งขอหนงั สือรับรองความประพฤตดิ ว้ ยตวั บรรจงเพื่อป้องกนั ข้อมูลผดิ พลาดและกรอกหมายเลขโทรศพั ท์สำหรบั ตดิ ตอ่ กลับ 2. กรณงี านวนิ ัยนักเรยี น กลุม่ บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น ไม่สามารถดำเนินการจดั ทำเอกสาร ใหท้ นั ตามกำหนดเวลา นักเรียนอาจไดร้ ับใบรับรองความประพฤติช้ากวา่ กำหนดเลก็ นอ้ ย
แผนผงั ขัน้ ตอนการขอหนงั สือรับรองความประพฤตนิ กั เรียน กรณเี อกสารไมเ่ รยี บร้อย โรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเพชรบูรณ์ จะถูกส่งกลับ นักเรียนหรอื ผ้ปู กครองส่งใบคำร้อง ขอหนังสอื รับรองความประพฤติ นกั เรียนพรอ้ มรูปถา่ ย เจ้าหน้าทต่ี รวจสอบความถูกตอ้ งของ ขอ้ มูลทกี่ รอกในใบคำรอ้ งฯและ ตรวจสอบรูปถา่ ย จัดทำหนังสือรับรองความประพฤติ นักเรียนพรอ้ มตดิ รูปถ่ายและ เสนอผูบ้ รหิ ารลงนาม ประทับตราโรงเรียน นกั เรียน/ผูป้ กครองตดิ ต่อรับเอกสาร พรอ้ มลงชื่อรบั หมายเหตุ - หนังสือรับรองความประพฤติจะใช้เวลาดำเนนิ การประมาณ 3-5 วนั ทำการ - กรณีเอกสารเรง่ ดว่ น สามารถติดตอ่ เจ้าหน้าที่ไดโ้ ดยตรง จะพจิ ารณาเปน็ กรณี
ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนหนองไผ่ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนโรงเรียนหนองไผ่ ไดด้ ำเนินการพัฒนาระบบการดูแลชว่ ยเหลือ นักเรยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพ พฒั นาใหเ้ ป็นผรู้ ู้ มีความถนัด ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รูจ้ ุดเด่นจดุ ด้อย กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและสรา้ งสรรค์ สามารถ วิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ ช่วยเหลอื และแกป้ ัญหาตา่ งๆได้ด้วย ตนเอง อีกทง้ั มที กั ษะชวี ติ สามารถอยใู่ นสงั คมได้อย่าง มีความสขุ และปลอดภัย โดยมกี ระบวนการขนั้ ตอนการ ดำเนินงาน ดังน้ี
๑. จดั ครทู ป่ี รึกษาตามคุณสมบตั ิของครูที่ปรึกษา ให้สอดคลอ้ งกบั แผนการเรียนของนักเรยี นแตล่ ะ กลมุ่ ๒. ครทู ีป่ รึกษาปฏบิ ัติหน้าที่กรอบงานตามแผนภูมิ โดยดแู ลนกั เรยี นดว้ ยความรัก ความเอาใจใส่ ประสานความสมั พนั ธ์กบั ผปู้ กครองนักเรยี นอยูเ่ สมอ เพอ่ื พัฒนาสง่ เสรมิ นักเรียนและช่วยเหลอื ป้องกนั แก้ไข ปญั หาตา่ งๆทเี่ กดิ ข้ึน ๓. มีกจิ กรรมตา่ งๆ เพ่ือดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนให้มสี วัสดิภาพ ความปลอดภัยและมีทกั ษะการ ดำรงชวี ิต สามารถดูแลตนเองได้ ใชช้ ีวติ อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ดังน้ี ๓.๑ กจิ กรรมเยี่ยมบา้ นนักเรียน เพอื่ รูจ้ ักนักเรยี นเป็นรายบุคคลให้มากยงิ่ ข้ึน อีกทัง้ ยงั สร้าง ความสัมพนั ธ์ที่ดีระหว่างบ้านกับทางโรงเรยี นอกี ด้วย โดยครูท่ปี รกึ ษาลงพน้ื ท่ีเยย่ี มบ้านนักเรียนครบ ๑๐๐% สรปุ เป็นรปู เลม่ สง่ งานระบบฯ ๓.๒ กิจกรรมทนุ การศกึ ษา เพ่ือสร้างโอกาสทางการศกึ ษาทีด่ ีใหก้ บั นักเรียน โดยงานระบบฯ มีทุนการศึกษาที่หลากหลายตามความต้องการของนกั เรียน เช่น - ทุน กยศ. สำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ - ทุนเรยี นฟรีตลอดหลักสูตร - ทนุ เรยี นดี ขาดแคลนทุนทรัพย์ - ทุนนักเรียน ประพฤติดี มคี ุณธรรมและมจี ิตอาสา - โครงการอาหารกลางวัน ๔. กำกบั ตดิ ตามนักเรียนผ่าน NP-School App เพื่อตรวจสอบนักเรยี นเข้าโฮมรูม และสามารถ ตดิ ตาม นกั เรยี นในกรณีไม่พึงประสงคต์ า่ งๆ ๕. ใหค้ ำปรกึ ษานักเรียนในทุกด้านจากครูทีป่ รกึ ษา หวั หนา้ ระดับ ครนู กั จิตวทิ ยาประจำโรงเรยี น ใน กรณีที่พฤติกรรมนักเรยี นไมด่ ีขึ้น งานระบบฯจะส่งต่อไปยงั หน่วยงานภายนอกทเี่ ก่ียวข้องกับ พฤติกรรม นักเรียนเพ่อื ดแู ลช่วยเหลอื และแก้ไขปัญหาต่อไป ๖. ประสานความรว่ มมอื ในการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นกับกลุ่มบรหิ ารงานท้ัง ๖ กลมุ่ งาน
ทนุ การศกึ ษา ( ยังไมแ่ ล้วเสร็จ )
งานสภานกั เรียน ระเบียบโรงเรยี นหนองไผ่ ว่าดว้ ยการบรหิ ารสภานกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ พ.ศ. ๒๕๖๓ **************************** เพอ่ื ให้การดำเนนิ การบริหารสภานักเรียนของโรงเรียนหนองไผ่ เปน็ ไปตามกฎ ระเบยี บ ข้อบงั คับของ ทางราชการ ฉะน้ัน อาศัยอำนาจตามความในมาตร 39 (1) แหง่ พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม 2546 จึงวางระเบียบวา่ ดว้ ยการบริหาร สภานักเรียนโรงเรียนหนองไผ่ ไว้ดังนี้ ขอ้ 1 ระเบียบนีเ้ รยี กวา่ “ระเบียบโรงเรียนหนองไผว่ ่าดว้ ยการบริหารสภานกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ พ.ศ. 2563” ขอ้ 2 ระเบียบน้ีให้ใช้บงั คบั ตงั้ แต่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 เปน็ ต้นไป ข้อ 3 ให้ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารงานกิจการนักเรยี นและผชู้ ่วย ผู้อำนวยการกล บริหารงานกจิ การนักเรยี น รักษาการตามระเบียบ ขอ้ 4 ในระเบียบน้ี “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนหนองไผ่ สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 “นักเรยี น” หมายถงึ นกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 “สภานกั เรียน” หมายถึง สภานักเรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 40 “ครทู ี่ปรึกษาสภานักเรยี น” หมายถึง ครูทีไ่ ดร้ บั การแต่งตง้ั ให้ปฏบิ ัตหิ น้าที่คณะกรรมการงาน สง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย กล่มุ บริหารงานกจิ การนักเรียน โรงเรยี นหนองไผ่ “ผอู้ ำนวยการโรงเรียน” หมายถึง ผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่
“พรรค” หมายถึง การรวมกลมุ่ ของนักเรียนตงั้ แตส่ องคนขึน้ ไปเพือ่ สมัครเข้ารบั การเลือกตั้งเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียน คณะกรรมการสภานักเรียน “ผ้สู มัครรบั เลอื กต้งั ” หมายถึง ผสู้ มัครรับเลอื กต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี น “ผมู้ ีสิทธิเลือกต้ัง” หมายถงึ นักเรียนโรงเรียนหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 40 “การประชุม” หมายถึง การประชมุ สภานักเรยี นซ่ึงประกอบไปด้วยสองสว่ นคือ การประชุม สมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนและการประชมุ คณะกรรมการสภานักเรียน โดยจะมกี ารประชุมร่วมกันหรือแยกกนั ประชุมก็ไดท้ งั้ น้เี ปน็ ไปตามที่ระเบยี บกำหนดไว้ “ทป่ี ระชุม” หมายถงึ สถานท่ีทก่ี ำหนดให้พิจารณาและให้ความเหน็ ชอบในญัตตติ ่าง ๆ “ประกาศโรงเรยี น” หมายถงึ ประกาศโรงเรียนหนองไผ่ ข้อ 5 ใหม้ ีสภานกั เรยี น โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดงั นี้ (1) เพ่ือสง่ เสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขใน โรงเรยี น (2) เพือ่ ให้นักเรยี นไดม้ ีส่วนรว่ มในการบรหิ ารกิจกรรมของนกั เรยี น (3) เพ่ือให้นกั เรียนได้แสดงออกตามความสามารถอย่างสร้างสรรค์ (4) เพือ่ ใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรูการทำงานร่วมกันตามวิถีทางในระบอบประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษัตริษ์ทรงเป็นประมุข ข้อ 6 สภานกั เรียนประกอบด้วยสภาผแู้ ทนนกั เรยี นและคณะกรรมการสภานักเรียน สภานักเรียนจะประชุม รว่ มกนั หรอื แยกกนั ย่อมเป็นไปตามบทบัญญัตขิ องระเบียบต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ขอ้ 7 สภาผแู้ ทนนักเรยี นประกอบดว้ ยสมาชกิ จำนวนเจด็ สบิ หกคน ดงั นี้ (๑) สมาชกิ ซ่ึงมาจากการเลือกต้งั แบบแบง่ เขตเลือกต้ังจำนวนหา้ สิบเอด็ คน (๒) สมาชกิ ซงึ่ มาจากบญั ชรี ายช่ือของพรรคจำนวนยีส่ ิบห้าคน ในกรณที ี่ตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นวา่ งลงไมว่ ่าด้วยเหตุใด และยงั ไม่มีการเลอื กตั้งหรอื ประกาศชื่อสมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรียนขึ้นแทนตำแหน่งท่ีวา่ ง ใหส้ ภาผ้แู ทนนักเรยี นประกอบด้วย สมาชิกสภาผู้แทนนักเรยี นเท่าที่มีอยู่ ในกรณีมเี หตใุ ด ๆ ท่ีทำให้สมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นแบบบัญชีรายชอ่ื มจี ำนวนไม่ถงึ ย่ีสิบห้าคน ให้สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียนแบบบัญชรี ายชอ่ื ประกอบด้วยสมาชิกเทา่ ท่ีมีอยู่
ข้อ 8 ในการเลือกตงั้ ท่วั ไป เมื่อมีสมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี นได้รับเลอื กตัง้ ถึงรอ้ ยละเก้าสบิ หา้ ของจำนวน สมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียนท้ังหมดแล้ว หากมคี วามจำเปน็ จะต้องเรยี กประชมุ สภานกั เรยี นกใ็ ห้ดำเนินการเรียก ประชุมสภานกั เรยี นได้ โดยให้ถอื ว่าสภาผ้แู ทนนักเรยี นประกอบด้วยสมาชกิ เทา่ ที่มีอยแู่ ต่ตอ้ งดำเนินการใหม้ ี สมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นให้ครบตามจำนวน ตามข้อ 7 โดยเร็ว ในกรณเี ช่นน้ีให้สมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรยี นดังกลา่ วอย่ใู นตำแหน่งได้เพียงเท่าอายุของสภา ผแู้ ทนนักเรียนที เหลืออยู่ ขอ้ 9 สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียนซ่งึ มาจากการเลือกตง้ั แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ให้ใชว้ ิธีออกเสียงลงคะแนน โดยตรงและลับ โดยให้แตล่ ะเขตเลือกตง้ั มสี มาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรียนไดเ้ ขตละหนึ่งคนและผูม้ ีสทิ ธเิ ลอื กตั้งมี สทิ ธอิ อกเสียงลงคะแนนเลอื กตั้งได้คนละหนึ่งคะแนน โดยจะลงคะแนนเลอื กผ้สู มคั รรับเลือกต้งั ผ้ใู ด หรือจะ ลงคะแนนไมเ่ ลือกผู้ใดเลยกไ็ ด้ใหผ้ สู้ มัครรับเลือกตั้งซง่ึ ได้รบั คะแนนสูงสดุ และมีคะแนนสูงกว่าคะแนนเสยี งท่ีไม่เลือกผ้ใู ดเปน็ ผู้ไดร้ บั เลอื กตั้ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขในการสมัครรับเลือกต้ัง การออกเสียงลงคะแนน การนบั คะแนน การรวมคะแนน การประกาศผลการเลือกตัง้ และการอื่นท่ีเกยี่ วข้อง ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศโรงเรียนหนองไผ่วา่ ด้วยการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียน ให้คณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศผลการเลือกต้ังเม่ือตรวจสอบเบื้องต้นแลว้ มีเหตุอันควรเช่อื วา่ ผลการเลอื กตัง้ เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และมีจำนวนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละเกา้ สบิ หา้ ของเขตเลอื กตั้ง ทัง้ หมด ซ่ึงคณะกรรมการการเลอื กตั้งต้องตรวจสอบเบอ้ื งต้นและประกาศผลการเลือกต้ังให้แลว้ เสรจ็ โดยเร็ว ข้อ 10 พรรคใดสง่ ผ้สู มัครรับเลือกตงั้ แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั แล้ว ใหม้ ีสิทธิสง่ ผู้สมคั รรบั เลอื กตง้ั แบบ บญั ชีรายชอื่ ได้ การส่งผ้สู มัครรับเลือกต้ังแบบบญั ชีรายช่ือ ให้พรรคจัดทำบัญชีรายชื่อพรรคละหน่งึ บญั ชี โดยผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ของแต่ละพรรคต้องไมซ่ ้ำ และไม่ซ้ำกบั รายชอ่ื ผู้สมคั รรบั เลือกตงั้ แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง โดยส่งบญั ชรี ายช่ือดังกล่าวให้คณะกรรมการการเลือกตงั้ ก่อนปิดการรบั สมัครรับเลือกตั้งสมาชกิ สภาผ้แู ทน นกั เรยี นแบบแบง่ เขตเลือกต้งั การคาํ นวณหาสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรยี นแบบบัญชีรายชือ่ ของแต่ละพรรคให้เปน็ ไปตามประกาศ โรงเรยี นหนองไผ่ว่าด้วยการคำนวณหาสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรยี นแบบบัญชีรายชอื่ ในการเลือกตัง้ ท่วั ไป ใหพ้ รรคทสี่ ่งผูส้ มคั รรบั เลือกตั้งแจ้งรายชอ่ื บุคคลซ่งึ พรรคน้นั มีมตวิ ่าจะเสนอให้ ดำรงตำแหนง่ ประธานคณะกรรมการสภานกั เรียนและรองประธานคณะกรรมการสภานักเรียน ข้อ 11 อายุของสภานกั เรียนมกี ำหนดคราวละหน่ึงปีการศึกษา นบั แต่วันเลอื กต้งั ในระหว่างอายุของ สภาผแู้ ทนนักเรียน จะมีการควบรวมพรรคทม่ี สี มาชกิ เป็นสมาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรียนมิได้ ขอ้ 12 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี นเร่มิ ตั้งแต่วนั เลอื กต้งั
ข้อ 13 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผ้แู ทนนักเรยี นส้นิ สดุ ลง เมื่อ (1) ถึงคราวออกตามอายขุ องสภานกั เรยี น (2) ตาย (3) ลาออก (4) สภาผูแ้ ทนนักเรยี นมมี ตใิ ห้ออกด้วยคะแนนเสียงมากกวา่ สองในสาม (5) ขาดคณุ สมบัตกิ ารเป็นสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี น (6) ยา้ ยสถานศึกษา (7) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่มคี ำสง่ั ให้หยุดปฏิบตั หิ น้าที่ (8) ขาดจากการเปน็ สมาชิกของพรรคหรอื ลาออกจากพรรคทต่ี นเป็นสมาชิก (9) ขาดประชุมเกนิ รอ้ ยละย่สี บิ ของจำนวนวนั ประชุมท้งั หมด (10) ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับสถานภาพการเป็นนักเรยี นโรงเรยี นหนองไผ่หรอื (11) ถูกลงโทษทางวินยั นกั เรียนตามระเบยี บโรงเรียนหนองไผว่ ่าดว้ ยการปกครองนักเรยี น พ.ศ. 2553 (แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2563) ดังน้ี - ตดั คะแนนความประพฤติตง้ั แต่ 30 คะแนนข้ึนไป - ทำทัณฑ์บน - ทำกิจกรรมเพ่อื ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ขอ้ 14 ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผโ่ ดยความเห็นชอบของครทู ่ปี รกึ ษาสภานักเรียนมีอำนาจในการ ยบุ สภานกั เรยี นและส่ังให้มีการเลือกตงั้ สภานักเรียนใหม่ไดเ้ มื่อเห็นวา่ การเลือกต้ังน้ันมไิ ด้เป็นไปโดยสจุ รติ โปรง่ ใสและเป็นธรรมหรอื เหน็ ว่าการดำเนนิ งานของสภานักเรียนมกี ารขัดกนั แหง่ ผลประโยชน์หรอื ก่อใหเ้ กิด ความเสยี หายต่อภาพลักษณข์ องโรงเรยี นหรือไมเ่ ปน็ ไปตามครรลองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การดำเนนิ การตามวรรคหนง่ึ ใหจ้ ดั ทำเปน็ ประกาศโรงเรยี นโดยใหด้ ำเนนิ การเสร็จสิน้ ภายในสิบห้าวัน นบั แต่วันทผ่ี ู้อำนวยการโรงเรียนมีคำสง่ั และให้นำความในข้อ 9 และ 10 มาบงั คับใชโ้ ดยอนุโลม ขอ้ 15 เม่อื ตำแหนง่ สมาชกิ สภาผ้แู ทนนักเรยี นว่างลงเพราะเหตุอืน่ ใด นอกจากถงึ คราวออกตามอายุ ของสภานกั เรียน ให้ดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี (1) กรณเี ปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรยี นในระบบแบง่ เขตเลอื กต้ัง ให้ผู้อำนวยการโรงเรยี นโดย ความเห็นชอบของครทู ี่ปรกึ ษาสภานักเรียนมคี ำสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการการเลือกต้งั สมาชิกสภาผูแ้ ทนนกั เรียน
และให้ดำเนนิ การจดั ทำประกาศโรงเรียนเพ่ือจัดใหม้ ีการเลือกต้งั สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรียนแทนตำแหนง่ ท่วี ่าง ลงภายในสามสิบวันนับแตว่ นั ทต่ี ำแหนง่ ว่างลงเว้นแต่อายขุ องสภานกั เรียนเหลืออยไู่ ม่ถึงเก้าสิบวนั (2) ในกรณเี ป็นสมาชิกสภาผู้แทนนักเรยี นในระบบบัญชีรายช่ือ ให้ประธานคณะกรรมการ สภานักเรยี นโดยความเห็นชอบของครทู ป่ี รกึ ษาสภานักเรยี นดำเนินการประกาศรายชอ่ื ให้ผูม้ ชี ่ืออยู่ในลำดับ ถัดไปของบัญชีรายช่ือพรรคนั้นเลื่อนขึ้นมาแทนสมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นในตำแหนง่ ที่ว่างลง โดยตอ้ งทำเปน็ ประกาศโรงเรียนภายในเจ็ดวันนับแตว่ นั ทีต่ ำแหนง่ นน้ั วา่ งลง หากไม่มีรายชื่อเหลืออยู่ในบญั ชีที่จะเล่อื นข้นึ มา แทนตำแหนง่ ท่วี า่ ง ให้สมาชิกสภาผูแ้ ทนนกั เรยี นแบบบัญชีรายชือ่ ประกอบด้วยสมาชกิ เทา่ ท่มี ีอยู่ สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรียนผู้เข้ามาแทนตาม (๑) ให้เรม่ิ นับแต่วันเลือกต้งั แทนตำแหนง่ ท่วี ่าง ส่วนสมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนผู้เขา้ มาแทนตาม (๒) ให้เรมิ่ นับแต่วนั ถัดจากวันประกาศ ช่อื ในประกาศโรงเรยี น และใหส้ มาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรยี นผู้เข้ามาแทนตำแหนง่ ทีว่ า่ งนนั้ อยใู่ นตำแหนง่ ได้เพียง เท่าอายุของสภานักเรียนทเ่ี หลืออยู่ การคาํ นวณสดั ส่วนคะแนนของพรรคสำหรับสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนกั เรยี นแบบบัญชีรายชื่อเมอื่ มีการ เลอื กตง้ั แทนตำแหน่งท่ีว่าง ให้นำความในข้อ 10 วรรคสองมาบังคับใช้โดยอนุโลม ขอ้ 16 บุคคลผ้มู คี ุณสมบตั ิต่อไปน้ีในวันสมคั รรบั เลือกตงั้ เป็นผู้มีสทิ ธสิ มัครรบั เลอื กต้ังเป็น สมาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรยี นตามระเบยี บฉบับนี้ (1) เปน็ นักเรยี นโรงเรยี นหนองไผ่อย่างถูกต้องตามกฎหมาย (2) มผี ลการเรียนเฉลีย่ สะสมทกุ ภาคเรยี นไมต่ ่ำกว่า 2.50 (3) ไม่เคยถูกลงโทษทางวนิ ัยนกั เรยี นมากกวา่ การวา่ กล่าวตกั เตือน (4) เป็นผูท้ ีม่ ีความเล่ือมใสและยึดม่ันในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ (5) เปน็ ผทู้ ่รี กั และเทิดทนู ในเกียรตขิ องโรงเรียนอย่างแทจ้ ริง (6) มภี าวะความเป็นผนู้ ำ เสียสละ มนี ้ำใจ มคี วามสามคั คีและซื่อสตั ย์ สุจรติ (7) มคี วามประพฤตเิ รียบร้อย ไมเ่ คยมีประวัตเิ สื่อมเสียดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมอยา่ งร้ายแรง (8) เป็นผมู้ คี วามรบั ผิดชอบสูง มีความหนักแนน่ มีเหตุผลและมีความยตุ ธิ รรม ขอ้ 17 ให้มีคณะกรรมการสภานักเรียน ประกอบดว้ ย (1) ประธานคณะกรรมการสภานกั เรียน และรองประธานคณะกรรมการสภานักเรียนจำนวน สองคนซง่ึ มาจากพรรคทมี่ จี ำนวนสมาชกิ สภาผ้แู ทนนักเรยี นในระบบบญั ชรี ายช่ือสงู ทสี่ ุดตามทแ่ี จ้งรายชื่อไว้ ในกรณีที่พรรคใดมจี ำนวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรยี นในระบบบัญชรี ายช่อื เท่ากนั ใหใ้ ช้วิธีการจบั สลาก (2) กรรมการ ต้องเป็นสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนกั เรียนแบบแบง่ เขตหรือแบบบัญชีรายชื่อซึ่งมา จากการคัดเลือกโดยประธานคณะกรรมการสภานกั เรียนจำนวนไมเ่ กนิ ย่ีสบิ สองคน
(3) คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ประจำสภานักเรียน มาจากการคัดเลือกนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษา ปที ี่ 5 โดยครทู ปี่ รกึ ษาสภานกั เรียน จำนวนไม่เกนิ สบิ คน เพื่อช่วยเหลอื การปฏบิ ัตงิ านของสภานักเรียนอกี ท้ัง สามารถเสนอแนะ เสนอความเห็นตอ่ การดำเนนิ กจิ กรรมของนักเรยี นและกิจการสภานักเรยี นไดแ้ ต่ไม่มสี ิทธิ ลงคะแนนเสียงซงึ่ ผทู้ ่ไี ด้รบั การคัดเลอื กต้องไมด่ ำรงตำแหน่งสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรียน หลักเกณฑ์ วิธกี ารและเง่ือนไขในการคัดเลือกคณะกรรมการสภานักเรียนและคณะกรรมาธิการ วสิ ามญั ประจำสภานักเรยี นให้เป็นไปตามประกาศโรงเรียน ข้อ 18 สมาชิกภาพของคณะกรรมการสภานกั เรยี นเร่ิมตัง้ แตว่ นั ท่ผี อู้ ำนวยการโรงเรียนมคี ำสั่งแต่งต้งั โดยมวี าระในการดำรงตำแหน่งหนงึ่ ปกี ารศึกษา ขอ้ 19 สมาชิกภาพของคณะกรรมการสภานักเรยี นส้ินสุดลง เมอ่ื (1) ถงึ คราวออกตามวาระการดำรงตำแหนง่ (2) ตาย (3) ลาออก (4) สภาผ้แู ทนนกั เรยี นมมี ติให้ออกด้วยคะแนนเสียงมากกวา่ สองในสาม (5) ขาดคุณสมบัติการเป็นคณะกรรมการสภานกั เรียน (6) ย้ายสถานศึกษา (7) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่มคี ำส่ังให้หยุดปฏิบัตหิ นา้ ท่ี (8) ขาดประชมุ เกนิ รอ้ ยละย่สี ิบของจำนวนวนั ประชมุ ท้งั หมด (9) ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสถานภาพการเปน็ นักเรียนโรงเรียนหนองไผ่หรือ (10) ถูกลงโทษทางวินยั นกั เรียนตามระเบียบโรงเรียนหนองไผ่วา่ ดว้ ยการปกครองนักเรียน พ.ศ. 2553 (แกไ้ ขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2563) ดงั นี้ - ตัดคะแนนความประพฤติตัง้ แต่ 30 คะแนนข้นึ ไป - ทำทัณฑบ์ น - ทำกจิ กรรมเพอื่ ปรับเปลยี่ นพฤติกรรม เมอื่ คณะกรรมการสภานกั เรยี นพน้ จากตำแหน่งเน่ืองด้วยขาดคณุ สมบัติตาม (2) - (10) ใหด้ ำเนินการ คัดเลือกและแต่งต้งั บุคคลผ้มู ีคุณสมบัติเหมาะสมแทนตำแหน่งทว่ี ่างลง โดยผทู้ ไี่ ด้รับการแต่งต้ังอยใู่ นตำแหน่ง ตามวาระของผทู้ ต่ี นแทนเท่านน้ั ข้อ 20 ให้ผู้อำนวยการโรงเรียน แตง่ ต้ังคณะกรรมการสภานักเรียน ตามมติท่ปี ระชุมคณะกรรมการ สภานกั เรยี น ประกอบดว้ ยตำแหน่งดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ประธานคณะกรรมการสภานักเรียน จำนวน 1 คน (2) รองประธานสภานกั เรยี น จำนวน 2 คน (3) เลขานุการ จำนวน 1 คน (4) คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการ จำนวน 2 คน (5) คณะกรรมการโสตทัศนอุปกรณ์ จำนวน 2 คน (6) คณะกรรมการฝา่ ยสถานที่ จำนวน 4 คน (7) คณะกรรมการฝ่ายกจิ กรรมพเิ ศษ จำนวน 3 คน (8) คณะกรรมการฝ่ายกีฬาและนันทนาการ จำนวน 2 คน (9) คณะกรรมการฝา่ ยประสานงาน จำนวน 2 คน (10) คณะกรรมการฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์ จำนวน 2 คน (11) คณะกรรมการฝา่ ยปฏคิ มและสวสั ดิการ จำนวน 2 คน (12) คณะกรรมการฝ่ายอนามัยและส่ิงแวดล้อม จำนวน 3 คน การมอบหมายการปฏิบัติหน้าทขี่ องคณะกรรมการนักเรียนฝา่ ยต่าง ๆ ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไป ตามประกาศโรงเรียนท่เี กยี่ วข้องโดยตอ้ งสอดคล้องกับนโยบายของโรงเรยี นและหน่วยงานต้นสงั กดั ในปีการศึกษานนั้ ข้อ 21 ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ แต่งตั้งครูท่ปี รกึ ษาสภานักเรยี น ขอ้ 22 ประธานคณะกรรมการสภานักเรยี น รองประธานคณะกรรมการสภานักเรยี นและ คณะกรรมการสภานกั เรียนต้อง (1) มสี ถานภาพการเปน็ นักเรียนโรงเรียนหนองไผอ่ ย่างถูกต้องตามกฎหมาย (2) มีผลการเรียนเฉล่ยี สะสมไมต่ ำ่ กว่า 2.75 (3) ดำรงตำแหน่งเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรยี น (4) ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวินยั นกั เรยี นมากกว่าการว่ากล่าวตักเตอื น (5) เปน็ ผู้ที่มีความเล่อื มใสและยึดม่นั ในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ (6) เปน็ ผู้ทร่ี ักและเทดิ ทนู ในเกียรติของโรงเรยี นอย่างแท้จริง
(7) มภี าวะความเปน็ ผู้นำ เสยี สละ มนี ้ำใจ มคี วามสามคั คีและซื่อสัตย์ สจุ รติ (8) มีความประพฤติเรียบร้อย ไมเ่ คยมีประวัติเสื่อมเสยี ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมอย่างร้ายแรง (9) เป็นผู้มคี วามรับผดิ ชอบสงู มีความหนักแนน่ มเี หตผุ ลและมีความยตุ ธิ รรม ข้อ 23 คณะกรรมาธิการวิสามัญประจำสภานักเรียนต้อง (1) มสี ถานภาพการเป็นนกั เรียนโรงเรียนหนองไผ่อย่างถูกต้องตามกฎหมาย (2) มผี ลการเรยี นเฉล่ียสะสมไมต่ ่ำกวา่ 2.75 (3) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินยั นักเรียนมากกวา่ การวา่ กล่าวตักเตือน (4) เป็นผู้ทม่ี ีความเล่ือมใสและยึดมัน่ ในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข (5) เปน็ ผู้ท่ีรกั และเทดิ ทูนในเกยี รตขิ องโรงเรียนอยา่ งแท้จริง (6) มภี าวะความเปน็ ผู้นำ เสยี สละ มีนำ้ ใจ มคี วามสามัคคีและซ่อื สตั ย์ สุจริต (7) มคี วามประพฤติเรยี บร้อย ไมเ่ คยมีประวตั ิเส่ือมเสยี ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอยา่ งรา้ ยแรง (8) เปน็ ผู้มีความรบั ผิดชอบสูง มคี วามหนักแนน่ มเี หตผุ ลและมีความยุตธิ รรม ข้อ 24 ใหส้ ภานักเรียนดำเนินการเปดิ ประชุมสภานักเรียนคร้งั แรกภายในสิบหา้ วนั นับต้ังแต่วันท่ี คณะกรรมการการเลือกตง้ั ประกาศรับรองผลการเลือกตัง้ โดยให้ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผห่ รือผู้ทไ่ี ด้รับ มอบหมายเป็นประธานในการประชมุ การประชุมตามวรรคหนงึ่ ให้พิจารณาและชีแ้ จงบทบญั ญตั ิต่าง ๆ ตามระเบียบฉบบั นี้พรอ้ มท้ังให้ สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียน คณะกรรมการสภานักเรียน และคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ประจำสภานักเรยี น ดำเนินการถวายสัตย์ปฏญิ าณตนตอ่ หนา้ พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสิน- ทรมหาวชริ าลงกรณพระวชริ เกลา้ เจ้าอย่หู ัวดว้ ยคำกล่าวดงั นี้ “ข้าพเจ้า (ชอ่ื ผปู้ ฏิญาณ) ขอปฏญิ าณว่า ข้าพเจ้าจะปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ดี ้วยความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตเพื่อประโยชน์ ของนักเรยี นและโรงเรยี น ทงั้ จะรกั ษาไวแ้ ละปฏบิ ตั ติ ามซ่ึงกฎระเบยี บของโรงเรยี นทุกประการ” ข้อ 25 สมาชิกสภาผู้แทนนักเรยี นและคณะกรรมการสภานักเรยี นย่อมเป็นผแู้ ทนของนักเรียนโรงเรียน หนองไผ่ทุกคน ไม่อยใู่ นความผูกมัดแหง่ อาณตั ิมอบหมาย หรือความครอบงำใด ๆ และต้องปฏิบัติหน้าทด่ี ว้ ย ความซ่ือสตั ย์สจุ ริตเพ่อื ประโยชน์สว่ นรวมของโรงเรียน ขอ้ 26 คุณลักษณะที่พงึ ปฏิบัติของคณะกรรมการสภานักเรียน มีดังนี้ (1) เปน็ ผู้มีความจงรกั ภักดีตอ่ ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์และเคารพในเกยี รติของ โรงเรียนหนองไผอ่ ย่างจรงิ ใจ
(2) ประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีแก่ผู้อน่ื ตลอดเวลา (3) บำเพญ็ ตนให้เป็นประโยชน์ต่อสว่ นรวม (4) ยดึ มั่นในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ มีความเป็นผู้นำทด่ี ีและผูต้ ามทีด่ ี (5) เป็นผูม้ ีคุณธรรม จริยธรรมและประพฤตติ นตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ (6) เป็นผ้อู นุรักษแ์ ละเผยแพร่ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม ข้อ 27 การบรหิ ารงานของสภานักเรยี น ใหแ้ บง่ ความรบั ผดิ ชอบ ดงั น้ี (1) การวางระเบียบหรือข้อบงั คับและการบรหิ ารกจิ กรรมนักเรยี น ใหเ้ ปน็ อำนาจและหน้าท่ี ของสภานักเรยี น (2) ครูท่ีปรึกษาสภานักเรียนให้คำปรึกษาในการวางแผนหรือการเขยี นโครงการและมีอำนาจ หนา้ ที่ในการควบคุมดูแลการปฏบิ ตั ิงานของสภานักเรยี นให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยตามวัตถปุ ระสงค์ในข้อ 5 (3) การปฏิบัตงิ านในกจิ กรรมต่าง ๆ ของนักเรยี นให้สภานักเรียนเป็นผ้เู สนอโครงการโดย ได้รับความเหน็ ชอบจากครูท่ีปรึกษาสภานกั เรยี นให้ผู้อำนวยการโรงเรยี นพจิ ารณาอนุมัติ ข้อ 28 การปฏบิ ตั งิ านตามหน้าท่ขี องสภานกั เรียนจะขัดหรือแยง้ กบั ระเบยี บหรือข้อบังคับอ่นื ใดของ ทางราชการท่ีโรงเรยี นถือปฏิบัตอิ ยูม่ ิได้ กับทั้งต้องรักษาไว้ซง่ึ ศลี ธรรม วัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี อนั ดงี าม ทัง้ นี้ เวน้ แต่กรณีท่จี ำเปน็ ให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นกอ่ น ขอ้ 29 สภานักเรียนใหม้ อี ำนาจหน้าท่ดี ังนี้ (1) จัดการประชมุ สภานกั เรียน (2) จดั ทำโครงการกจิ กรรมนักเรียนทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นเสนอครูท่ปี รึกษาสภา- นกั เรียนพิจารณาเห็นชอบตามข้นั ตอนของโรงเรยี น (3) เป็นตวั แทนของนักเรยี นในการกระทำใด ๆ ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น (4) ปฏบิ ตั ิหน้าทที่ ี่ได้รับมอบหมายจากโรงเรยี น (5) เผยแพร่ความรเู้ รื่องประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ แก่นักเรยี นและ ดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียน (6) ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่น ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย ข้อ 30 ภาคเรยี นหนึ่ง ๆ ให้มีการประชุมสามัญสภานักเรียนอย่างน้อยเดอื นละ 1 ครั้ง โดยอาจมีการ ประชุมวิสามญั ในกรณีรบี ดว่ นก็ได้ ซ่งึ การประชุมแตล่ ะคร้งั ต้องประกอบดว้ ยองคป์ ระชุม ดงั นี้ (1) สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี น คณะกรรมการสภานักเรยี นและครูที่ปรึกษาสภานกั เรยี น
(2) ใหป้ ระธานคณะกรรมการสภานักเรียนปฏิบตั หิ นา้ ที่เปน็ ประธานในการประชมุ ใหเ้ ลขานุการเปน็ ผู้ออกหนงั สือเชญิ ประชุมและจดบนั ทึกการประชุม (3) ในการประชมุ ต้องมีผเู้ ขา้ ประชุมไม่น้อยกว่ากง่ึ หน่งึ ของจำนวนสมาชิกสภานักเรยี น จงึ จะครบองคป์ ระชมุ (4) ในการประชมุ ให้แถลงผลงานอ่นื ๆ ทีป่ ระชมุ มสี ทิ ธใ์ิ นการซักถาม (5) ถา้ ประธานไม่อยู่ในท่ีประชมุ ใหร้ องประธานเป็นประธานในทปี่ ระชุมหรือเลือก สมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นหรือคณะกรรมการสภานกั เรยี นเป็นประธานในการประชมุ (6) การวินจิ ฉัยช้ีขาดของท่ีประชุมให้ใชเ้ สยี งข้างมาก (7) ผ้เู ข้าประชุมคนหนง่ึ ให้มีเสยี งหนึง่ ในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสยี งเทา่ กันให้ประธาน ในที่ประชุมออกเสยี งเพิ่มขึน้ เสียงหนึ่งเปน็ เสียงชี้ขาด (8) การประชุมแต่ละครง้ั ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน ผูช้ ่วยผอู้ ำนวยการ ท่ีปรกึ ษาสภานกั เรยี นและคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ประจำสภานกั เรยี นมสี ทิ ธทิ ่ีจะเข้าร่วมประชุม แสดงความ คดิ เห็น ใหข้ ้อเสนอแนะแต่ไม่มสี ิทธิในการลงมติที่ประชุม ข้อ 31 ในการประชุมใหม้ วี าระการประชมุ ดงั นี้ (1) เรื่องทีป่ ระธานแจ้งทป่ี ระชุมทราบ (2) รบั รองรายงานการประชมุ (3) เร่อื งทีเ่ สนอให้ท่ปี ระชุมทราบ (4) เรื่องทเี่ สนอให้ท่ปี ระชุมพิจารณา (5) เร่ืองอ่ืน ๆ ขอ้ 32 ในท่ปี ระชมุ สภาผแู้ ทนนกั เรยี น คณะกรรมการสภานักเรียนและที่ประชุมร่วมกนั ของทง้ั สองสภาสมาชกิ ผูใ้ ดจะกลา่ วถ้อยคำใดในทางแถลงขอ้ เทจ็ จรงิ แสดงความคดิ เหน็ หรอื ออกเสียงลงคะแนน ยอ่ มเป็นเอกสทิ ธ์ิโดยเด็ดขาด ผู้ใดจะนำไปเปน็ เหตุฟ้องร้องว่ากลา่ วสมาชิกผู้นนั้ ในทางใด ๆ มิได้ ข้อ 33 บทเฉพาะกาล ในวาระเริ่มแรก (1) สมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี น คณะกรรมการสภานักเรียนและคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญ ประจำสภานักเรียนทด่ี ำรงตำแหนง่ ก่อนระเบียบน้ีประกาศบังคับใช้ให้ถือวา่ สมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี น คณะกรรมการสภานักเรียนและคณะกรรมาธิการวิสามัญประจำสภานกั เรียนน้ันเปน็ สภานกั เรียนตามระเบยี บ น้ีและใหป้ ฏบิ ัตหิ น้าท่ีต่อไปจนกว่าจะมีการเลือกตัง้ สมาชกิ สภานกั เรียนในปีการศึกษา 2563
(2) ในปีการศึกษา 2563 ให้มีจำนวนสมาชกิ สภาผ้แู ทนนกั เรียนทง้ั สนิ้ เจ็ดสิบสีค่ นโดย แบ่งเป็นสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรียนในระบบแบ่งเขตเลือกต้ังจำนวนสีส่ ิบเกา้ คนและสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียน ในระบบบัญชรี ายช่อื จำนวนย่ีสบิ หา้ คน (3) ในปีการศกึ ษา 2564 ใหม้ ีจำนวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรยี นทง้ั สิ้นเจด็ สิบห้าคนโดย แบ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนนักเรยี นในระบบแบ่งเขตเลือกตง้ั จำนวนหา้ สบิ คนและสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนกั เรียน ในระบบบัญชีรายช่อื จำนวนยี่สบิ หา้ คน (4) ในปีการศึกษา 2565 ใหม้ ีจำนวนสมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นตามข้อ 7 (5) ภายหลังจากระเบียบนม้ี ีผลบังคับใช้ใหผ้ อู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่โดยความเห็นชอบ ของครทู ี่ปรึกษาสภานกั เรียนกำหนดใหม้ ีการจัดการเลือกตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นเป็นการทว่ั ไปตาม ระเบียบนที้ ันทภี ายในหนึง่ รอ้ ยแปดสิบวนั ประกาศ ณ วันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ลงชื่อ (นายพชั ริน ภชู่ ยั ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่
ระเบยี บโรงเรยี นหนองไผ่ วา่ ด้วยการบริหารสภานกั เรียนโรงเรียนหนองไผ่ เพื่อใหก้ ารดำเนินการบริหารสภานักเรยี นของโรงเรียนหนองไผ่ เปน็ ไปตามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของทาง ราชการ ฉะนนั้ อาศัยอำนาจตามความในมาตร 39 (1) แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 3 กรกฎาคม 2546 จงึ วางระเบียบว่าด้วยการบรหิ าร สภา นักเรียนโรงเรยี นหนองไผ่ ไว้ดงั น้ี ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบยี บโรงเรียนหนองไผ่ว่าด้วยการบริหารสภานกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ พ.ศ. 2563” ข้อ 2 ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บงั คับต้งั แต่ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 เป็นต้นไป ขอ้ 3 ใหผ้ อู้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรยี นและผชู้ ่วย ผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารงานกิจการนกั เรียน รักษาการตามระเบียบ ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี “โรงเรียน” หมายถงึ โรงเรียนหนองไผ่ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40 “นักเรยี น” หมายถงึ นักเรียนโรงเรียนหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 “สภานกั เรยี น” หมายถึง สภานักเรียนโรงเรยี นหนองไผ่ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 40 “ครทู ี่ปรกึ ษาสภานักเรยี น” หมายถึง ครูทีไ่ ด้รับการแตง่ ต้ังใหป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่คณะกรรมการงาน สง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย กล่มุ บริหารงานกิจการนักเรยี น โรงเรียนหนองไผ่ “ผู้อำนวยการโรงเรียน” หมายถึง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่ “พรรค” หมายถงึ การรวมกลุ่มของนักเรียนตงั้ แต่สองคนข้ึนไปเพื่อสมัครเขา้ รับการเลอื กตงั้ เป็นสมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรียน คณะกรรมการสภานักเรยี น “ผ้สู มัครรบั เลอื กตง้ั ” หมายถึง ผู้สมคั รรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียน “ผ้มู สี ิทธเิ ลอื กตั้ง” หมายถงึ นกั เรยี นโรงเรียนหนองไผ่ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 40 “การประชุม” หมายถึง การประชมุ สภานกั เรยี นซง่ึ ประกอบไปดว้ ยสองส่วนคือ การประชมุ สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นและการประชุมคณะกรรมการสภานกั เรยี น โดยจะมีการประชมุ รว่ มกนั หรอื แยกกนั ประชมุ ก็ไดท้ งั้ นเ้ี ป็นไปตามทีร่ ะเบยี บกำหนดไว้ “ทป่ี ระชมุ ” หมายถึง สถานท่ีทก่ี ำหนดให้พจิ ารณาและให้ความเหน็ ชอบในญัตติต่าง ๆ “ประกาศโรงเรยี น” หมายถึง ประกาศโรงเรยี นหนองไผ่
ขอ้ 5 ใหม้ ีสภานักเรียน โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี (1) เพ่ือสง่ เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุขใน โรงเรยี น (2) เพ่ือใหน้ ักเรียนได้มีสว่ นรว่ มในการบริหารกจิ กรรมของนักเรยี น (3) เพื่อใหน้ ักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถอยา่ งสรา้ งสรรค์ (4) เพื่อให้นักเรยี นไดเ้ รียนรูการทำงานรว่ มกันตามวิถีทางในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ขอ้ 6 สภานกั เรียนประกอบด้วยสภาผ้แู ทนนักเรียนและคณะกรรมการสภานักเรยี น สภานกั เรยี นจะ ประชุมร่วมกันหรือแยกกนั ย่อมเปน็ ไปตามบทบญั ญัติของระเบียบตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้อง ขอ้ 7 สภาผ้แู ทนนกั เรยี นประกอบด้วยสมาชกิ จำนวนเจ็ดสิบหกคน ดงั น้ี (๑) สมาชกิ ซ่ึงมาจากการเลอื กต้งั แบบแบง่ เขตเลือกต้ังจำนวนหา้ สิบเอด็ คน (๒) สมาชิกซ่งึ มาจากบญั ชรี ายชอ่ื ของพรรคจำนวนย่ีสิบห้าคน ในกรณีท่ีตำแหนง่ สมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรียนวา่ งลงไมว่ ่าดว้ ยเหตุใด และยงั ไม่มีการเลอื กต้งั หรือ ประกาศชือ่ สมาชกิ สภาผ้แู ทนนักเรียนขน้ึ แทนตำแหนง่ ทวี่ า่ ง ให้สภาผู้แทนนกั เรียนประกอบด้วย สมาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรียนเท่าทมี่ อี ยู่ ในกรณีมีเหตุใด ๆ ทีท่ ำให้สมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นแบบบัญชีรายช่อื มีจำนวนไม่ถึงย่สี ิบห้าคน ใหส้ มาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นแบบบญั ชีรายชื่อประกอบดว้ ยสมาชกิ เท่าที่มีอยู่ ขอ้ 8 ในการเลือกตั้งทวั่ ไป เมื่อมสี มาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี นไดร้ บั เลือกตง้ั ถึงรอ้ ยละเกา้ สิบหา้ ของ จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนทั้งหมดแลว้ หากมีความจำเปน็ จะต้องเรียกประชุมสภานักเรียนกใ็ ห้ ดำเนนิ การเรียกประชุมสภานักเรียนได้ โดยใหถ้ ือวา่ สภาผแู้ ทนนกั เรียนประกอบด้วยสมาชกิ เท่าทีม่ ีอย่แู ต่ตอ้ ง ดำเนินการให้มีสมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นให้ครบตามจำนวนตามข้อ 7 โดยเรว็ ในกรณเี ช่นน้ใี ห้ สมาชิกสภาผู้แทนนกั เรียนดงั กล่าวอยู่ในตำแหน่งไดเ้ พยี งเท่าอายุของสภาผู้แทนนักเรียนที่เหลอื อยู่ ข้อ 9 สมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียนซ่งึ มาจากการเลือกต้ังแบบแบง่ เขตเลือกต้ัง ให้ใช้วิธีออกเสยี ง ลงคะแนนโดยตรงและลับ โดยให้แต่ละเขตเลอื กต้งั มีสมาชิกสภาผู้แทนนักเรยี นได้เขตละหน่งึ คนและผู้มสี ิทธิ เลือกต้งั มีสทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กตั้งได้คนละหนึง่ คะแนน โดยจะลงคะแนนเลือกผู้สมคั รรบั เลอื กตัง้ ผใู้ ด หรอื จะลงคะแนนไม่เลือกผู้ใดเลยก็ได้ให้ผู้สมัครรับเลือกตงั้ ซึง่ ได้รับคะแนนสูงสดุ และมีคะแนนสูงกวา่ คะแนน เสียงทีไ่ ม่เลือกผู้ใดเป็นผูไ้ ดร้ ับเลอื กตั้ง หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขในการสมัครรับเลอื กต้ัง การออกเสียงลงคะแนน การนบั คะแนน การรวมคะแนน การประกาศผลการเลอื กต้ัง และการอนื่ ทีเ่ กี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามประกาศโรงเรียนหนองไผ่วา่ ดว้ ยการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี น
ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือกตัง้ เมื่อตรวจสอบเบอ้ื งตน้ แลว้ มีเหตุอันควรเชอ่ื ว่า ผลการเลือกต้ังเปน็ ไปโดยสุจริตและเท่ียงธรรม และมจี ำนวนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละเกา้ สิบหา้ ของเขตเลือกตง้ั ทงั้ หมด ซง่ึ คณะกรรมการการเลือกตัง้ ต้องตรวจสอบเบ้ืองต้นและประกาศผลการเลือกตงั้ ให้แล้วเสรจ็ โดยเรว็ ข้อ 10 พรรคใดส่งผูส้ มัครรับเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลอื กต้ังแล้ว ให้มสี ิทธิส่งผสู้ มัครรบั เลอื กตั้งแบบ บญั ชรี ายช่ือได้ การส่งผู้สมัครรบั เลอื กตั้งแบบบญั ชรี ายชอื่ ใหพ้ รรคจัดทำบัญชีรายชอ่ื พรรคละหน่ึงบญั ชี โดยผู้สมคั รรบั เลอื กตั้งของแต่ละพรรคต้องไม่ซำ้ และไม่ซำ้ กบั รายชื่อผ้สู มคั รรบั เลือกตง้ั แบบแบง่ เขตเลือกตั้ง โดยสง่ บญั ชีรายช่ือดงั กลา่ วให้คณะกรรมการการเลือกตงั้ ก่อนปดิ การรับสมคั รรับเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทน นกั เรียนแบบแบง่ เขตเลือกต้งั การคาํ นวณหาสมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี นแบบบัญชีรายช่ือของแตล่ ะพรรคให้เปน็ ไปตามประกาศ โรงเรยี นหนองไผว่ ่าด้วยการคำนวณหาสมาชกิ สภาผ้แู ทนนักเรยี นแบบบญั ชรี ายชื่อ ในการเลือกตงั้ ทัว่ ไป ให้พรรคที่สง่ ผู้สมคั รรบั เลอื กตั้งแจ้งรายชอื่ บุคคลซึ่งพรรคนั้นมีมตวิ ่าจะเสนอให้ ดำรงตำแหนง่ ประธานคณะกรรมการสภานักเรียนและรองประธานคณะกรรมการสภานักเรยี น ข้อ 11 อายขุ องสภานกั เรียนมกี ำหนดคราวละหนงึ่ ปีการศึกษา นบั แต่วันเลอื กต้ัง ในระหวา่ งอายขุ อง สภาผู้แทนนกั เรยี น จะมีการควบรวมพรรคที่มีสมาชกิ เป็นสมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นมิได้ ข้อ 12 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นเรมิ่ ตั้งแต่วันเลอื กตัง้ ข้อ 13 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียนส้ินสดุ ลง เมอ่ื (1) ถึงคราวออกตามอายขุ องสภานกั เรียน (2) ตาย (3) ลาออก (4) สภาผู้แทนนกั เรยี นมมี ตใิ ห้ออกด้วยคะแนนเสียงมากกว่าสองในสาม (5) ขาดคณุ สมบัตกิ ารเป็นสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรยี น (6) ย้ายสถานศกึ ษา (7) ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่มีคำส่ังให้หยดุ ปฏบิ ัติหนา้ ที่ (8) ขาดจากการเปน็ สมาชิกของพรรคหรือลาออกจากพรรคทตี่ นเป็นสมาชิก (9) ขาดประชมุ เกนิ รอ้ ยละยส่ี บิ ของจำนวนวนั ประชมุ ทัง้ หมด (10) ประพฤตติ นไมเ่ หมาะสมกับสถานภาพการเปน็ นักเรียนโรงเรยี นหนองไผห่ รอื (11) ถูกลงโทษทางวินยั นกั เรียนตามระเบียบโรงเรยี นหนองไผ่วา่ ดว้ ยการปกครองนักเรยี น พ.ศ. 2553 (แก้ไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2563) ดังน้ี
- ตัดคะแนนความประพฤติต้งั แต่ 30 คะแนนขน้ึ ไป - ทำทัณฑบ์ น - ทำกิจกรรมเพอื่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอ้ 14 ผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผโ่ ดยความเห็นชอบของครูที่ปรึกษาสภานักเรียนมีอำนาจในการ ยุบสภานกั เรียนและสั่งให้มีการเลือกตัง้ สภานักเรียนใหมไ่ ดเ้ ม่อื เหน็ วา่ การเลือกต้ังนัน้ มไิ ดเ้ ป็นไปโดยสจุ ริต โปรง่ ใสและเปน็ ธรรมหรือเหน็ ว่าการดำเนนิ งานของสภานักเรียนมกี ารขดั กนั แห่งผลประโยชน์หรอื ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ภาพลกั ษณ์ของโรงเรยี นหรือไมเ่ ป็นไปตามครรลองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข การดำเนินการตามวรรคหนึง่ ให้จัดทำเป็นประกาศโรงเรียนโดยใหด้ ำเนนิ การเสรจ็ สิ้นภายในสบิ หา้ วัน นบั แต่วันท่ีผ้อู ำนวยการโรงเรียนมคี ำส่งั และให้นำความในข้อ 9 และ 10 มาบังคับใช้โดยอนโุ ลม ข้อ 15 เมื่อตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรียนว่างลงเพราะเหตอุ ื่นใด นอกจากถึงคราวออกตามอายุ ของสภานกั เรยี น ให้ดำเนนิ การดงั ต่อไปนี้ (1) กรณเี ปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรียนในระบบแบง่ เขตเลอื กตัง้ ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรยี นโดย ความเห็นชอบของครูท่ีปรกึ ษาสภานักเรยี นมคี ำสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งสมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี น และใหด้ ำเนินการจัดทำประกาศโรงเรยี นเพื่อจดั ให้มีการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียนแทนตำแหนง่ ที่ว่าง ลงภายในสามสิบวนั นับแตว่ นั ท่ีตำแหน่งว่างลงเวน้ แต่อายุของสภานักเรียนเหลอื อยไู่ มถ่ งึ เกา้ สิบวนั (2) ในกรณเี ป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนนกั เรียนในระบบบญั ชีรายชอ่ื ให้ประธานคณะกรรมการ สภานกั เรียนโดยความเหน็ ชอบของครูทีป่ รกึ ษาสภานกั เรยี นดำเนนิ การประกาศรายช่ือให้ผูม้ ชี ือ่ อยใู่ นลำดับ ถัดไปของบัญชีรายช่อื พรรคนั้นเลอื่ นขึ้นมาแทนสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นในตำแหน่งทวี่ ่างลง โดยตอ้ งทำเปน็ ประกาศโรงเรียนภายในเจด็ วันนับแตว่ ันท่ีตำแหนง่ น้ันวา่ งลง หากไม่มีรายชอ่ื เหลืออยู่ในบัญชที ี่จะเลอ่ื นขึ้นมา แทนตำแหนง่ ท่วี า่ ง ให้สมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นแบบบญั ชีรายชือ่ ประกอบดว้ ยสมาชิกเท่าทมี่ ีอยู่ สมาชิกภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี นผูเ้ ข้ามาแทนตาม (๑) ใหเ้ ริม่ นบั แต่วนั เลือกตั้งแทนตำแหน่ง ท่วี ่าง ส่วนสมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผูแ้ ทนนกั เรียนผเู้ ขา้ มาแทนตาม (๒) ใหเ้ รม่ิ นับแตว่ นั ถัดจากวันประกาศ ช่ือในประกาศโรงเรียน และให้สมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนผู้เขา้ มาแทนตำแหนง่ ที่ว่างน้นั อยู่ในตำแหนง่ ไดเ้ พียง เทา่ อายุของสภานักเรียนท่เี หลืออยู่ การคาํ นวณสัดสว่ นคะแนนของพรรคสำหรบั สมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นแบบบัญชีรายชอ่ื เม่ือมีการ เลือกต้งั แทนตำแหน่งที่ว่าง ให้นำความในข้อ 10 วรรคสองมาบงั คับใช้โดยอนโุ ลม ข้อ 16 บุคคลผ้มู คี ุณสมบตั ติ ่อไปน้ีในวันสมัครรบั เลือกต้งั เป็นผู้มสี ทิ ธิสมคั รรับเลอื กตั้งเป็น สมาชิกสภาผูแ้ ทนนักเรียนตามระเบียบฉบบั น้ี (1) เป็นนักเรียนโรงเรยี นหนองไผ่อยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย (2) มีผลการเรียนเฉล่ียสะสมทกุ ภาคเรียนไม่ตำ่ กวา่ 2.50
(3) ไม่เคยถูกลงโทษทางวนิ ัยนักเรียนมากกว่าการว่ากล่าวตักเตอื น (4) เปน็ ผู้ทมี่ ีความเลือ่ มใสและยดึ ม่นั ในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ (5) เปน็ ผู้ท่ีรกั และเทดิ ทนู ในเกยี รตขิ องโรงเรยี นอย่างแท้จริง (6) มภี าวะความเป็นผู้นำ เสยี สละ มีน้ำใจ มคี วามสามคั คีและซ่ือสัตย์ สจุ รติ (7) มีความประพฤติเรียบร้อย ไมเ่ คยมีประวตั เิ สอ่ื มเสยี ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมอยา่ งร้ายแรง (8) เปน็ ผูม้ คี วามรับผดิ ชอบสูง มีความหนักแน่น มีเหตุผลและมคี วามยตุ ธิ รรม ขอ้ 17 ให้มคี ณะกรรมการสภานักเรียน ประกอบดว้ ย (1) ประธานคณะกรรมการสภานักเรียน และรองประธานคณะกรรมการสภานกั เรียนจำนวน สองคนซง่ึ มาจากพรรคทม่ี ีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี นในระบบบญั ชีรายชอื่ สูงที่สุดตามที่แจง้ รายช่ือไว้ ในกรณีที่พรรคใดมีจำนวนสมาชิกสภาผูแ้ ทนนักเรยี นในระบบบัญชรี ายชือ่ เท่ากนั ให้ใช้วิธีการจบั สลาก (2) กรรมการ ตอ้ งเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี นแบบแบ่งเขตหรือแบบบัญชรี ายชอื่ ซง่ึ มา จากการคัดเลือกโดยประธานคณะกรรมการสภานักเรียนจำนวนไม่เกนิ ยสี่ ิบสองคน (3) คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญประจำสภานักเรยี น มาจากการคัดเลือกนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษา ปที ี่ 5 โดยครูทป่ี รกึ ษาสภานักเรยี น จำนวนไมเ่ กินสิบคน เพื่อชว่ ยเหลือการปฏิบัติงานของสภานกั เรยี นอีกท้ัง สามารถเสนอแนะ เสนอความเห็นตอ่ การดำเนนิ กิจกรรมของนักเรยี นและกิจการสภานกั เรียนได้แต่ไมม่ ีสทิ ธิ ลงคะแนนเสียงซึ่งผู้ท่ีไดร้ บั การคดั เลอื กต้องไม่ดำรงตำแหน่งสมาชกิ สภาผ้แู ทนนกั เรยี น หลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเงื่อนไขในการคัดเลือกคณะกรรมการสภานกั เรยี นและคณะกรรมาธกิ าร วิสามญั ประจำสภานักเรียนให้เปน็ ไปตามประกาศโรงเรยี น ขอ้ 18 สมาชิกภาพของคณะกรรมการสภานกั เรียนเร่ิมตงั้ แตว่ นั ท่ผี ู้อำนวยการโรงเรียนมีคำสงั่ แตง่ ตง้ั โดยมวี าระในการดำรงตำแหน่งหนึ่งปกี ารศึกษา ข้อ 19 สมาชิกภาพของคณะกรรมการสภานกั เรยี นสิน้ สุดลง เมื่อ (1) ถึงคราวออกตามวาระการดำรงตำแหนง่ (2) ตาย (3) ลาออก (4) สภาผแู้ ทนนกั เรยี นมมี ตใิ ห้ออกดว้ ยคะแนนเสียงมากกวา่ สองในสาม
(5) ขาดคุณสมบัติการเปน็ คณะกรรมการสภานักเรยี น (6) ย้ายสถานศกึ ษา (7) ผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผม่ คี ำส่งั ให้หยดุ ปฏิบตั ิหน้าท่ี (8) ขาดประชมุ เกนิ ร้อยละยีส่ ิบของจำนวนวันประชมุ ทงั้ หมด (9) ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับสถานภาพการเป็นนกั เรียนโรงเรยี นหนองไผห่ รือ (10) ถูกลงโทษทางวนิ ัยนักเรียนตามระเบียบโรงเรยี นหนองไผ่ว่าดว้ ยการปกครองนักเรยี น พ.ศ. 2553 (แก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2563) ดงั น้ี - ตัดคะแนนความประพฤติตง้ั แต่ 30 คะแนนขึ้นไป - ทำทัณฑ์บน - ทำกจิ กรรมเพอื่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม เมอ่ื คณะกรรมการสภานกั เรียนพ้นจากตำแหนง่ เน่ืองดว้ ยขาดคณุ สมบตั ิตาม (2) - (10) ใหด้ ำเนินการ คัดเลอื กและแตง่ ตัง้ บุคคลผู้มีคณุ สมบตั ิเหมาะสมแทนตำแหน่งทวี่ ่างลง โดยผูท้ ่ีได้รับการแต่งตงั้ อยูใ่ นตำแหน่ง ตามวาระของผทู้ ี่ตนแทนเท่าน้ัน ขอ้ 20 ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรยี น แต่งตัง้ คณะกรรมการสภานักเรยี น ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ สภานักเรยี น ประกอบดว้ ยตำแหน่งดังต่อไปนี้ (1) ประธานคณะกรรมการสภานกั เรียน จำนวน 1 คน (2) รองประธานสภานกั เรยี น จำนวน 2 คน (3) เลขานุการ จำนวน 1 คน (4) คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการ จำนวน 2 คน (5) คณะกรรมการโสตทัศนอุปกรณ์ จำนวน 2 คน (6) คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ จำนวน 4 คน (7) คณะกรรมการฝา่ ยกิจกรรมพิเศษ จำนวน 3 คน (8) คณะกรรมการฝ่ายกฬี าและนนั ทนาการ จำนวน 2 คน (9) คณะกรรมการฝา่ ยประสานงาน จำนวน 2 คน (10) คณะกรรมการฝา่ ยประชาสมั พันธ์ จำนวน 2 คน (11) คณะกรรมการฝา่ ยปฏิคมและสวสั ดิการ จำนวน 2 คน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183