Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่าเรียนทำงานกันไปชีวิตได้อะไร

เล่าเรียนทำงานกันไปชีวิตได้อะไร

Description: เล่าเรียนทำงานกันไปชีวิตได้อะไร
ผู้แต่ง พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุต.โต)
จำนวน 41 หน้า
ขอขอบคุณข้อมูลแหล่งที่มา เพื่อการศึกษาเรียนรู้เท่านั้น

Search

Read the Text Version

เลา เรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ติ ไดอ ะไร พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าติ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๑

เลา เรยี น-ทํางานกนั ไป ชวี ติ ไดอ ะไร  พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ISBN 974-344-395-9 พมิ พคร้ังท่ี ๒+ (ปรับปรงุ ) - ๒๕๔๙ ๒,๐๐๐ เลม (รวมเนอื้ หาท่คี ัดตดั มาจากหนงั สอื ๒ เลม และปรับปรุงเพมิ่ เติมตามควร) พมิ พครั้งท่ี ๑๒ - มกราคม ๒๕๕๑ ๒,๐๐๐ เลม - คุณปย มน พัวพงศกร พมิ พเปน ธรรมทาน แบบปก: พระชัยยศ พุทธฺ วิ โร พมิ พท ี่

อนโุ มทนา

สารบัญ อนโุ มทนา ก เลาเรยี น-ทาํ งานกนั ไป ชีวิตไดอะไร ๑ มนษุ ย คอื สตั วผ ตู อ งศกึ ษา ชวี ติ ทด่ี ี คอื ชวี ติ แหง การศกึ ษา ๑ ทํางานเพื่ออะไร? ๗ ควรทํางานกนั อยางไร? ๑๐ จดุ มงุ หมายของคน หรอื จุดมุงหมายของงาน? ๑๔ ทํางานอยางไร จงึ จะไดค วามสขุ ? ๒๑ ชวี ติ งาน และธรรม: ความประสานสูเอกภาพ ๒๘ ชวี ิต งาน และธรรม: อสิ รภาพภายในเอกภาพ ๓๑

เลา เรียน-ทํางานกันไป ชวี ติ ไดอะไร* -E- มนษุ ย คอื สัตวผูตองศกึ ษา** ชวี ติ ทีด่ ี คอื ชีวติ แหง การศกึ ษา ธรรมชาติของมนุษยเปนอยางไร ธรรมชาตขิ องมนษุ ยก ็คือ เปน สตั วท ตี่ องฝก หรอื ตองศกึ ษา และฝกได หรือศึกษาไดดว ย การที่มนุษยเราจะมีชีวิตท่ีดีงาม เราจะตองศึกษาฝกฝนพัฒนาตัว เองใหด ีขึ้นไป ในระบบการดาํ เนินชีวิตของเรา ซึง่ ประกอบดว ยพฤติกรรม จิตใจ และปญ ญา เมือ่ เราฝก ฝนพฒั นา มกี ารศกึ ษา กท็ ําใหก ารดาํ เนินชวี ติ ของเราดีข้ึน แตถ าเราไมเรยี นรู ไมฝ ก เราจะดําเนินชวี ิตใหดไี มไ ดเ ลย ท้ังน้ี เพราะมนุษยอยูด วยสัญชาตญาณอยา งเดยี วไมพอ สัญชาตญาณนี้มนุษยอาศัยไดนอยเหลือเกิน ไมเหมือนสัตวชนิด อืน่ ทอ่ี าศยั สัญชาตญาณไดมาก จนกระท่ังวามนั แทบไมตองเรยี นรู ไมตอง ฝกฝนอะไรเลย มนั กอ็ ยไู ด แตสัตวน ั้น ถงึ แมมนั จะฝกไดบาง มนั ก็ฝกไดน อยเรยี นรไู ดน อ ย อยางยง่ิ อยา งดกี ต็ องใหม นุษยฝกใหจนพอทําอะไรไดบ า งในขอบเขตทจ่ี าํ กดั * ชอื่ เรอ่ื งใหม สาํ หรบั เนอื้ เรอื่ งทคี่ ดั ตดั ตอนจากหนงั สอื ๒ เลม คอื ถงึ เวลามารอื้ ปรบั ระบบ พฒั นาคนกนั ใหม และ ชวี ติ นเี้ พอ่ื งาน งานนเี้ พอ่ื ธรรม ซงึ่ นาํ มารวมตอ กนั ตามทค่ี ณุ โยมนาม พนู วตั ถุ ไดเ ลอื กและแจง ความประสงคเ พอื่ พมิ พแ จก (ครงั้ แรก มถิ นุ ายน ๒๕๔๘) ** จาก ถงึ เวลามารอ้ื ปรบั ระบบพฒั นาคนกนั ใหม, พมิ พค รง้ั ที่ ๕, พ.ศ. ๒๕๔๓, หนา ๓๐–๓๖

๒ เลาเรยี น-ทาํ งานกนั ไป ชวี ิตไดอ ะไร ยง่ิ ตรงขามกบั มนษุ ยทีอ่ าศยั สญั ชาตญาณแทบไมไดเ ลย การดําเนนิ ชีวิต ตอ งเรียนรตู องฝกท้ังหมด การดําเนินชีวติ ท่ดี ีของมนษุ ยตองอาศยั การลงทนุ คอื ตอ งเรียนรูตองฝก แตพ รอ มกันนัน้ มนษุ ยกเ็ รียนรูและฝกไดอยางแทบ ไมมีขีดจาํ กัด หลกั การของพระพุทธศาสนาสอนตามธรรมชาตวิ า มนษุ ยเปนสตั ว ท่ตี องฝก และฝกได ฝกไปทาํ ไม ก็ฝกใหดาํ เนนิ ชีวิตไดด ยี ่ิงขน้ึ ไป จะไดม ี ชีวิตทีด่ ีงาม มคี วามสขุ เปนอสิ ระ และอยรู ว มกนั ไดอยา งมสี นั ตสิ ุขในสงั คม และในโลก ทาํ ไมจึงตองฝก เพราะชวี ติ ของเราทเ่ี กดิ มาตัง้ แตเ ร่มิ ตน เราได เรยี นรมู า ไดฝ ก ไดหัดมา เราจึงอยูร อดมาได และอยูไดด ว ยดี อยางทเี่ ห็นกนั อยูวา มนุษยเ กิดมาอาศัยสัญชาตญาณแทบไมไ ดเ ลย เราตองเรียนรูและตองฝกตองหัดเอาท้ังนั้น พอเกิดมาก็ตองมีคนอ่ืนอุมชู กอน ตอ งเลีย้ งดเู ปนเวลาหลายป ในระหวา งทเี่ ขาเลี้ยงดนู น้ั ตวั เองทําอะไร ตัวเองกเ็ รยี นรูแ ละฝก หดั ไป ตองเรียนตองฝก ท้ังนน้ั ทง้ั การนัง่ การนอน การยนื การกิน การขบั ถาย จนกระทั่งมาเดิน มาพดู ตอ งฝก ตองหดั หมด จึงบอกวา การดําเนินชีวิตของมนุษยแทบไมมีอะไรไดมาเปลาๆ มนุษยต องลงทนุ ท้ังน้นั ลงทุนดวยการหัด ดว ยการฝก ดวยการเรียนรู เรา จงึ ไดการดาํ เนนิ ชวี ิตท่ดี ีมา การดาํ เนนิ ชวี ติ ทด่ี นี นั้ เราเรยี กลดั สนั้ วา จรยิ ะ สว นการเรยี นรู ก็ เรยี กเปน คาํ ศพั ทว า สกิ ขา (คอื การศกึ ษา) เมอื่ การดาํ เนนิ ชวี ติ ทด่ี นี นั้ เราได มาดว ยการเรยี นรู กจ็ งึ พดู สนั้ ๆ วา จรยิ ะนนั้ เราไดม าดว ยสกิ ขา เพราะฉะน้ัน ชีวิตของมนุษย ถา จะเปน ชวี ติ ทด่ี ี ตอ งมีการศึกษา ตลอดเวลา คือตอ งเปนชวี ติ แหงการศกึ ษา จะพดู วา ชีวติ ทด่ี ี คอื ชวี ติ แหง การศึกษา กไ็ ด เพราะชวี ติ ท่ีดี ตองมีการฝกฝนพฒั นา เราไมสามารถได ชีวิตทด่ี มี าเปลาๆ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓ พรอมกันนน้ั การดาํ เนนิ ชวี ติ กเ็ ปน โอกาสใหม นษุ ยไ ดเรยี นรูห รือได ศึกษา กลา วคอื มนษุ ยก็เรียนรูหรอื ศึกษาจากการดาํ เนินชีวติ น่ีแหละ เพราะ ฉะนั้น การดาํ เนินชีวิตท่ีดี จึงเปนการดาํ เนินชวี ติ พรอมไปดว ยกนั กบั การ เรียนรู และจึงกลา ววา ชวี ติ ที่ดี คือชวี ติ แหงการเรยี นรู (สกิ ขา) และมนุษย ย่งิ เรียนรู กย็ ิง่ มีชีวติ ทดี่ ี (จรยิ ะ) เพราะฉะนัน้ ถาการศึกษาถูกตอ ง ยิ่งศกึ ษา กย็ งิ่ มจี ริยะ แตม นุษยสว นใหญ ไมใสใ จในหลักการที่เปนธรรมชาตนิ ้ี เม่อื การ เรียนรู การฝก การหดั นัน้ จําเปน เพื่อใหตัวดาํ เนินชวี ติ อยูได เขากเ็ รียน กฝ็ ก ก็หัดไปดวยความจําเปนจาํ ใจ แคพอจะใหต วั อยรู อดได แลวกห็ ยุดฝก เขา จงึ ไมพฒั นาเทาท่คี วร ถาใครตระหนักถึงธรรมชาติของชีวิตมนุษยวา ชีวติ ที่ดขี องมนุษย ไดมาดวยการเรยี นรู ฝก ฝน พัฒนา ตองมสี ิกขา ถาเราฝก ฝนพฒั นาเรยี นรู อยูเรอื่ ย ชีวติ ของเราจะดีงาม เขากจ็ ะสกิ ขาตอ ไปเรือ่ ยๆ จนมีชวี ติ ที่ประเสริฐ อยา งนอยกใ็ หอ ยูดี มิใชแ คอ ยรู อด ชีวติ ทีม่ กี ารศกึ ษา คอื เรยี นรู ฝก หัด พัฒนาอยเู รือ่ ย จะเปนชวี ติ ที่ ประเสรฐิ เรยี กวา “ชวี ติ ประเสรฐิ เกดิ จากการศกึ ษา” ดงั พทุ ธพจนท ยี่ า้ํ อยเู รอื่ ย วา ทนโฺ ต เสฏโ  มนสุ เฺ สสุ แปลวา ในหมมู นษุ ยน นั้ ผทู ฝี่ ก แลว เปน ผปู ระเสรฐิ ความเปนสตั วพ เิ ศษของมนุษยอยูตรงนี้ คอื การท่ีศกึ ษา เรยี นรู ฝก หดั พฒั นาได และฝกหดั พฒั นาไปไดอ ยา งแทบไมม ีที่ส้นิ สุด จนเปน พทุ ธะก็ ได อกี ทง้ั ฝกตวั เองไดดว ย ดงั วาทะที่วา มนุสสฺ ภูตํ สมฺพทุ ธฺ ํ อตฺตทนตฺ ํ สมาหิตํ แปลวา พระสมั พทุ ธเจา นี้ ทง้ั ทเ่ี ปน มนษุ ย แตฝ ก พระองคแ ลว มพี ระทยั อบรมถงึ ทแี่ ลว แม เทพทง้ั หลายกน็ อ มนมสั การ นี่กลายเปนพลิกกลับเลย แตกอนน้ัน มนุษยตองไหวกราบเคารพ เทวดา แตพ อมนษุ ยฝ ก ตนดแี ลว เทวดากลบั มาไหวม นุษย

๔ เลาเรียน-ทาํ งานกันไป ชีวิตไดอ ะไร พระพุทธศาสนาเกิดในสังคมที่บูชาเทพเจา มนุษยเอาแตหวังพ่ึง อาํ นาจดลบนั ดาลขา งนอก พระพทุ ธเจา ตอ งใหก าํ ลงั ใจวา อยา มวั ไปออ นวอน อยา มวั ไปหวงั พง่ึ ตวั คณุ นแ้ี หละพฒั นาได และถา คณุ พฒั นาตวั ดี เทวดาและ แมแ ตพ ระพรหมก็หันมานบั ถือคณุ นเ้ี ปนการตรสั ใหคนเกิดกําลงั ใจ ไมใ ห มัวงอมืองอเทา ไปหวงั พ่งึ ส่งิ ภายนอก ตกลงวา ในคติพทุ ธศาสนา เร่ืองจริยะหรอื จรยิ ธรรมไมไ ดแ ยกจาก การศกึ ษาเลย แตเ ปน เรอื่ งเดยี วกนั เพอื่ ใหม จี รยิ ะ คอื การดาํ เนนิ ชวี ติ ทดี่ งี าม ทป่ี ระเสรฐิ กต็ อ งมสี กิ ขา คอื ศกึ ษา ฝก ฝน เรยี นรู พฒั นา และเมอ่ื คนมจี รยิ ะ คอื ดําเนินชวี ิตท่ีดีงามไป เขาก็ย่งิ ไดส กิ ขา คือไดเ รียนรฝู ก ฝนพฒั นามากขน้ึ จงึ ไดอ า งพระพทุ ธดาํ รสั ทวี่ า พรหมจรยิ ะ คอื จรยิ ะอนั ประเสรฐิ ได แก ศลี สมาธิ ปญ ญา ซงึ่ ตรงกบั สกิ ขา คอื การเรยี นรู ฝก ฝน พัฒนา ไดแก ศลี สมาธิ ปญ ญา ๓ อยางเหมือนกัน ไตรสกิ ขา คือ ศลี สมาธิ ปญ ญา บอกชดั อยูแลว วา ฝก ๓ อยา ง ฝก อะไร ก็ฝก พฤติกรรม ฝกจติ ใจ ฝกปญญา แลว กเ็ กิดจรยิ ะดีงาม (เรยี กวา พรหมจรยิ ะ) คอื การดาํ เนนิ ชวี ติ ทด่ี งี าม ทาํ ใหม พี ฤตกิ รรม จติ ใจ และปญ ญา ทด่ี ยี งิ่ ขนึ้ ไป ฝก อะไรกไ็ ดส ง่ิ นนั้ ฝก ทไ่ี หน กฝ็ ก ทศ่ี ลี สมาธิ ปญญา คติของสัตวชนิดอืน่ วา เกิดมาดว ยสัญชาตญาณใด ก็ตายไปดว ย สญั ชาตญาณนั้น แตของมนุษยไมอยา งน้ัน คติของมนุษยว า ฝก อยา งไรได อยางนั้น จึงเปนหลักการของมนุษยวาจะตองมีการฝก คือเรียนรูฝกหัด พฒั นา เพราะนี่เปนธรรมชาติของมนษุ ย ผเู ปนสัตวทต่ี อ งฝก และฝกได คาํ วา “ตองฝก ” แสดงถึงความเสยี เปรียบของมนษุ ย ท่ีวา สตั วอนื่ มันไมต องฝก ไมตอ งหัด ไมต อ งเรียนรู มนั ก็อยูไ ด สว นมนษุ ยนีแ่ ยกวา ตอ งฝก จึงอยูได แต “ฝกได” แสดงความพิเศษทเ่ี ปนขอ ดีของมนุษยว า มนษุ ยน้ีฝก ได จนกลายเปน สตั วผ ูประเสริฐ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕ นกี่ บ็ อกอยใู นตวั วา มนษุ ยน เี้ ปน สตั วท ป่ี ระเสรฐิ ดว ยการฝก หรอื ฝก แลว จงึ ประเสรฐิ ถา ไมฝ ก กไ็ มป ระเสรฐิ แตตรงขาม ถาคนไมฝกตน จะแยยิ่งกวาสัตวอื่นๆ เพราะโดย สัญชาตญาณ คนสูสตั วอ ่ืนไมได เมื่อคนไมฝ กตน คนกไ็ มม ปี ญญาซึ่งเปน แกนทจี่ ะทาํ ตัวใหป ระเสริฐ สวนสตั วอ ่นื ถงึ จะอยไู ดหรอื เกงดว ยสญั ชาตญาณ แตมนั ฝก ไมไ ด คือสตั วอ นื่ นน้ั มนั ไมตองฝก และมนั ก็ฝกไมไดดว ย (ไมใ ชฝกไมไดเลย มนั เรียนรแู ละฝก ไดใ นขอบเขตจํากัดมาก และตอ งใหมนุษยฝ กให) แตมนษุ ยนี้ ๑. ฝกได ๒. ฝก ตัวเองได ฝก ตนไดน แี่ หละสาํ คญั อยา งยง่ิ การเรยี นรูฝกฝนพฒั นาอยางแทท ี่ ไดผ ลสงู สุด ก็คอื ฝกตวั เอง หมายความวา รจู ักเรียนรู เอาสงิ่ ทัง้ หลายเปน ปจจัยในการฝก ฝนพัฒนาตนเอง แลวจะฝกฝนพัฒนาไปถึงไหนกัน ก็พฒั นาไปจนเต็มสุดศักยภาพ ของความเปนมนุษย หรือเทาท่ีความเปนคนจะใหถึงได อยางที่วาแลว มนุษยศ กึ ษาใหเปน นกั ปราชญ นกั วิทยาศาสตร นักอะไรๆ อกี มากมาย ได ทง้ั น้นั จนกระท่ังฝกใหถ ึงท่สี ดุ มนษุ ยจ ะเปนพุทธะกไ็ ด พูดงา ยๆ วา ไมเ พยี งศกั ยภาพทางรางกาย แตยังมศี กั ยภาพทางจิต และศักยภาพทางปญ ญาอีกมากมายหลายระดบั แมแตความสขุ กย็ ังมีอีก หลายขน้ั ไมใชแคความสขุ จากการเสพทางผัสสทวารทต่ี องพ่งึ พา ขน้ึ ตอตัว ประกอบภายนอก และตองแยง ชงิ กัน แตมีความสขุ ท่ปี ระณตี และเปน อิสระ ท่ีมนุษยจ ะพัฒนาศักยภาพขึ้นไปไดไปถึงยิ่งข้ึนๆ ไป อกี มากมาย ขอยอ นไปหาขอ สรปุ วา ระบบจรยิ ะในพทุ ธศาสนาเปน เรอื่ งของชวี ติ ทงั้ ชวี ติ ทเี่ ปน องคร วม เปน ระบบความสมั พนั ธข องเหตปุ จ จยั ๓ ดา น ทสี่ ง ผลตอ

๖ เลาเรยี น-ทาํ งานกนั ไป ชวี ติ ไดอ ะไร กนั จะไปแยกจากกนั ไมไ ด ตอ งพฒั นาไปดว ยกนั และการทจี่ รยิ ะนน้ั จะเปน พรหมะ (พรหมจรยิ ะ) คอื จะเปน การดาํ เนนิ ชวี ติ ทด่ี งี ามได จรยิ ะกต็ อ งเปน ไป ตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย (ทเ่ี ปน สตั วท ต่ี อ งฝก ตอ งเรยี นร)ู คอื ตอ งศกึ ษา เพราะฉะน้ัน จริยะจึงแยกจากการศึกษาไมไ ด และดังน้ัน เรือ่ ง การศกึ ษา กับเร่อื งจริยะ จึงแทบจะเปน เรือ่ งเดยี วกนั แตเวลานี้เรามองจริยธรรมเปนสวนเศษนิดเดยี วของการศกึ ษา และ การศกึ ษาทเ่ี ราพดู ถงึ กนั นน้ั เมอ่ื มองในแงข องพทุ ธศาสนา กเ็ ปน เศษนดิ เดยี ว ในระบบการศกึ ษาของพทุ ธศาสนา เพราะการศกึ ษาปจ จบุ นั มองพรา แลว การศึกษาในความหมายของคนทั่วไป จะมองเนนไปในเร่ืองของ การเลาเรียนวชิ าทาํ มาหากิน ท้ังๆ ท่ีนกั การศึกษาบอกวาไมใ ชแคนั้น แตเวลาจดั การศกึ ษาในเชิง ปฏิบัติ เรากม็ ักจะเอาอยา งนน้ั หรือแมแตแ คนน้ั จนกระทัง่ ชาวบานกม็ อง เปน อยางน้ันวา การศกึ ษาคืออะไร คือไปเลาเรยี นวิชา เพือ่ จะไดเอามาทาํ มา หาเลีย้ งชีพ ตลอดจนเอาไปเปนเครอ่ื งมือหาผลประโยชน อยา งดีกเ็ อามาพฒั นาเศรษฐกจิ พัฒนาสงั คม จนกระทงั่ ไปๆ มาๆ ตวั คนเองกก็ ลายเปน แคทรพั ยากรมนุษย เม่ือคนมองแคบๆ และเขวกันไป จนการศึกษาเปนแคการรูวิชา เลีย้ งชพี ทํามาหากนิ คนเลาเรยี นไป ทํางานทําเงนิ ไดมา กว็ ายวนอยกู บั ความ วุนวายในการวิ่งแขงแยงกันหาความสุข จนกระท่ังสังขารเห่ียวแหงรวงโรย เทย่ี วหาความสขุ ไมไ หว กเ็ หงาหงอย แลว ชวี ติ กจ็ บไป ในสภาพเชน น้ี ศกั ยภาพของความเปนมนุษยที่มีอยู ถกู ท้ิงสูญเปลา เกดิ มาแลวชีวติ เหมือนวาวา งเปลา อยางนาเสียดาย ไมไดประโยชนจากการมี ชีวิต และไมไ ดใชชวี ิตใหเ ปนประโยชน ใหส มกบั ศกั ยภาพทต่ี นมี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๗ ทํางานเพื่ออะไร?* งานเปน กจิ กรรมสว นสาํ คญั ของชวี ติ เพราะฉะนน้ั ถา จะดใู หล ะเอยี ด วา เราใชช วี ติ กนั อยา งไร กต็ อ งมาดเู รอื่ งการทาํ งานวา ทาํ กนั อยา งไรดว ย คนเรานัน้ มองการทาํ งานตางกันไปหลายอยาง และจากความเขา ใจ เกย่ี วกบั ความหมายของการทํางาน ก็ทําใหเ ขามีพฤตกิ รรมการทํางาน เปน แบบของตนๆ ไปตามความเขาใจนั้น อยางแรกซึ่งเห็นชัดท่ีสุด คนโดยมากมองงานวาเปนเครื่องมือหา เลีย้ งชพี ทําใหมีเงนิ มีทอง สําหรบั เอามาซือ้ หารับประทาน มาจับจายใชสอย หาความสุขอะไรตา งๆ คนจํานวนมากมายมองความหมายของงานแบบน้ี ถาถือตามคติน้ี ก็จะเขา กับคาํ ขวัญที่วา งานคอื เงิน เงนิ คอื งาน บันดาลสุข ตอ งทาํ งานจงึ จะมีเงิน และตองมีเงินจงึ จะไดค นมาทํางาน นค้ี ือความหมายขั้นแรก แตยงั มีความหมายตอไปอีก สาํ หรบั คนอกี จํานวนมาก นอกจากมองความหมายทีห่ น่งึ แลว ยงั มี ความหมายท่ีสองพวงมาดว ย คอื มองขยายกวา งไกลออกไปวา งานนีจ้ ะนํา ชวี ติ ของเราไปสูการมีตําแหนง มีฐานะ เจรญิ กาวหนา รุงเรือง หรือรงุ โรจน และไดรับความนิยมนับถือ ท่ีทางพระเรียกวาโลกธรรม อนั นกี้ เ็ ปนความ หมายท่ีสําคัญเหมอื นกนั คนไมนอยมองงานในความหมายแงน ้ี ตอ ไป งานยงั มคี วามหมายอยางอืน่ อกี และความหมายบางอยา งก็ ชวยใหเ รามองกวา งออกไปนอกตัวเอง ในความหมายทีว่ ามาแลว เรามองจํากัดเฉพาะตัวเอง ที่บอกวา งาน * ตอ แตน ไี้ ปจนจบเลม ปรบั จาก ชวี ติ นเ้ี พอื่ งาน งานนเ้ี พอื่ ธรรม, ฉบบั พมิ พค รง้ั ที่ ๑๔, พ.ศ.๒๕๔๓, หนา ๙–๔๙ (ตรงกบั ครง้ั ที่ ๑๔, พ.ศ.๒๕๔๔ แตไ มต รงกบั ครง้ั ลา สดุ พ.ศ.๒๕๔๗ ซงึ่ พมิ พข นาดจว๋ิ )

๘ เลา เรียน-ทาํ งานกนั ไป ชวี ติ ไดอ ะไร เปน เครือ่ งเล้ยี งชีวติ ก็เปนเร่ืองของตวั ฉนั งานเปน บันไดไตเตา ไปสคู วามรุง เรอื ง หรอื ความสําเร็จ กเ็ พอื่ ตัวฉัน แตทจ่ี รงิ งานไมใ ชแ คเพอ่ื ตัวฉัน งานเปนเร่อื งกวางกวาน้นั งานเปน เร่ืองท่ีเปนไปเพื่อการสรางสรรค เปนไปเพ่ือการพฒั นา เปนกิจกรรมของ สังคม เปนของประเทศ เปน ของโลก โลกจะเปน ไปได สงั คมจะดําเนินไปได ประเทศชาตจิ ะพฒั นาได จะ ตองอาศัยคนทํางาน เพราะฉะน้ัน คนทที่ าํ งานจึงเทา กบั ไดมสี วนรว มในการ สรางสรรคพัฒนาสงั คมประเทศชาติ ตามความหมายของงานในแงนี้ พอเราทํางาน เรากน็ กึ ทเี ดียววา ตอนนเ้ี รากาํ ลังทําการอยา งหนงึ่ ซ่ึงเปนสวนรว มในการพฒั นาสงั คมประเทศ ชาติ หรอื มองวา เรากาํ ลงั ทําอะไรอยา งหน่งึ เพ่ือประโยชนส ขุ ของสังคมหรอื ของประชาชน ตอ ไป งานยงั มคี วามหมายอกี ในแงวาเปนส่ิงที่แปรสภาพชวี ิตของ คน ทําใหคนมชี วี ิตท่ีแตกตา งกันไป ดาํ เนินชวี ติ ตางกนั ไป มสี ภาพความเปน อยแู ตกตา งกนั คนเปนกรรมกรก็มีความเปนอยูแบบหนึ่ง คนเปนนักวิชาการก็มี สภาพชีวิตอกี แบบหน่ึง ทา นท่ีเปนแพทยก ็มีสภาพชีวติ ไปอีกแบบหนึง่ เปน พระภิกษุกม็ สี ภาพความเปนอยอู ีกแบบหน่ึง สภาพความสมั พันธใ นสงั คมก็ แปลกกนั ไป ทง้ั หมดน้ีกเ็ ปน เรอ่ื งของงานท่แี บง สภาพชวี ิตของคนใหแ ตกตาง กัน จึงจดั วาเปนความหมายอีกอยางหนึ่งของงาน สาํ หรับบางคนอาจมองวา งานเปน สิ่งท่ีทาํ ใหชวี ติ มีคุณคา ถึงกบั บอกวา คาของคน อยูทผี่ ลของงาน คนท่กี ลาวคติอยางนม้ี องไปในแงวา งานเปนสงิ่ สาํ คญั ทท่ี ําใหชวี ิตมีคา ถาไมท ํางานทดี่ มี ปี ระโยชน ชวี ติ นก้ี ็ไมมคี า

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙ ตอไป ความหมายของงานอกี อยางหนงึ่ กค็ ืองานเปน โอกาสทีจ่ ะได พฒั นาตน หรอื วา การทํางาน คือการพัฒนาตน ความหมายของงานในแงท ี่เปน การพัฒนาตนนี้ ไปสัมพนั ธก บั ความ หมายของการใชชีวิตอยางที่วามาเมื่อกี้ ท่ีพูดวาดําเนินชีวิตเพื่อพัฒนาตน หรอื เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพนนั้ ทจี่ รงิ สาระของมนั กอ็ ยทู ง่ี านนเ่ี อง ทเี่ ปน ตวั พฒั นา งานน้แี หละเปน สิ่งท่พี ฒั นาชวี ิตของเรา พฒั นาใหเรามีความสามารถ ทาํ ใหเ รามคี วามเชย่ี วชาญ มคี วามเกง กาจในทางใดทางหนงึ่ แมใ นดา นการฝก ฝนทางจติ ใจหรอื ในทางคณุ ธรรม งานกเ็ ปน เครอ่ื งมอื ฝก ฝนคน ทาํ ใหเ รามีความ ขยัน มคี วามอดทน ทําใหม ีระเบยี บวินยั มีใจเขม แขง็ ทําใหร จู ักสมั พันธก บั เพอ่ื นพองผูรวมงานและคนทวั่ ไป ส่ิงเหลาน้ีลวนอาศยั งานเปนเคร่ืองฝก ถา คนรูจักทาํ งาน คอื ทาํ งานเปน จะสามารถใชง านเปน เคร่อื งมือใน การฝกฝนพัฒนาตนเองไดมากมาย เพราะฉะน้ัน ในแงหนึ่ง นักทาํ งานจะมองวา งานเปนสิง่ ทชี่ ว ยฝก ฝนพัฒนาตวั ของเขา อยางทว่ี าทาํ ใหศกั ยภาพของเขาถงึ ความสมบรู ณ ท้ังหมดนี้เปนความหมายของงานในแงตางๆ ซ่ึงกลาวไดมากมาย หลายนัย นอกจากนี้ ก็อาจมีผูทม่ี องความหมายของงานในแงอนื่ อีก แตใ น แงหลกั ๆ แลวก็จะเปนอยา งนี้

๑๐ เลา เรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ติ ไดอ ะไร ควรทาํ งานกนั อยางไร? ทีนี้ เม่อื คนทาํ งานไปตามความหมายและความเขา ใจของเขา ความ หมายของงานตามท่เี ขาเขาใจนนั้ กม็ ีผลตอพฤติกรรมในการทาํ งาน และสง ผลตอความรูสึกและตอสภาพจิตใจในการทาํ งานของเขาดว ย เราเขาใจการทํางานอยา งไร เรากม็ ุง หวงั ผลสนองไปตามความหมาย นัน้ ถาเกิดผลสนองตามความมงุ หมาย เราก็เกดิ ความพงึ พอใจ ถา ไมสนอง ตามความมงุ หมาย กเ็ กิดความเศรา เสยี อกเสยี ใจ เพราะฉะนน้ั ความเขา ใจ ในความหมายของงานจงึ มผี ลกระทบตอชีวติ จิตใจของเรามาก ตัวอยา งเชน คนท่ีทํางานในความหมายทีเ่ ปนเพยี งเคร่ืองมอื หาเลย้ี ง ชพี ใหไ ดผ ลตอบแทน ใหไ ดผ ลประโยชน ถา ไมไ ดผ ลประโยชนมาก หรอื ได มานอ ยไป เขาก็จะรสู ึกไมส มหวัง ไมพ อใจ เกิดความทุกข เพราะวาความมงุ หมายในการทํางานของเขา ไปอยูทผ่ี ลประโยชนตอบแทน คอื เรื่องเงนิ ทอง เปน ตน การที่เขาจะมีความสุขหรือความทกุ ข กอ็ ยแู คน้ัน ทีน้ี ถามองความหมายของงานไปในแงวา เปนการทาํ หนาท่ีหรอื บาํ เพ็ญประโยชนเพ่อื สังคมประเทศชาติ สาํ หรับคนที่มองอยา งน้ี บางทีแมวา ผลประโยชนต อบแทนอาจไมม ากนัก แตค วามพงึ พอใจของเขาอยูท่ีวา งาน น้นั ทําใหเกดิ ประโยชนแ กสังคม ดงั นนั้ ถาเหน็ วางานของเขาไดชว ยสังคม เขาก็มีความสขุ ความรูสกึ ในใจจึงสมั พนั ธกับการมองความหมายของงาน คนท่มี องงานในแงข องการพัฒนาตน หรอื พฒั นาศกั ยภาพ เวลา ทํางานก็จะเพลินไปกับงาน เพราะในเวลาที่ทํางานเราไดฝกตัวของเราอยู ตลอดเวลา เมอ่ื ทํางานไป เรากไ็ ดความรูค วามสามารถ เพม่ิ พูนความชาํ นาญ

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑ มากขน้ึ สว นเรอื่ งทวี่ า จะไดผ ลประโยชนต อบแทนมากนอ ย เราจะไมค าํ นงึ มาก นกั แตเ ราจะมคี วามพงึ พอใจ ในการทไี่ ดพ ฒั นาตนเองใหม ศี กั ยภาพเพม่ิ ขยาย เพราะฉะนน้ั การเขา ใจความหมายของงาน จึงมผี ลสําคัญมากตอ สภาพจิตใจ ตอนน้ี อยากจะพูดถึงความรูสึกพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมเก่ียวกับ เรื่องงานสักนดิ หนึง่ เมอื่ พดู ถงึ ความหมายของงาน ถา มองดวู ฒั นธรรมไทยและนาํ ไปเทยี บ กบั วฒั นธรรมตะวนั ตก จะเหน็ วา แตกตา งกนั และความแตกตางนั้นก็แสดงถึง พนื้ ฐานการสั่งสมฝกอบรมจิตใจของวฒั นธรรมท่ตี า งกนั คนไทยเรามองคําวา งานกนั อยา งไร กอ นท่วี ัฒนธรรมแบบตะวนั ตก เขา มา คนไทยเราใชค าํ วา งาน ในความหมายทีไ่ มเหมอื นปจจุบัน เรามงี าน วัด เรามงี านสงกรานต เรามงี านกฐิน เรามงี านทอดผา ปา ฯลฯ คําวางานในความหมายของคนไทย เปนกิจกรรมเพื่อความสนุก สนาน เพ่ือความบนั เทงิ อยางงานวัดกเ็ ปน เร่ืองสนุกทง้ั น้นั มีมหรสพ มี ละครหนงั ลเิ ก ในงานสงกรานตเราก็ไปสนกุ กนั เอานาํ้ ไปอาบใหกัน ไปเลน อะไรตอ อะไรกนั ครกึ ครน้ื แตค วามจริงงานมีความหมายที่ซอนอยูลึกกวา นน้ั คอื เปน เร่อื ง การทําความดี กจิ กรรมทเ่ี ปน หลักเปนแกนของงาน กค็ ือ การทาํ บุญ ทําการ กุศล หรอื บําเพญ็ ความดีบางอยา ง โดยเฉพาะการมารวมกนั ทาํ ประโยชนบ าง อยา งเพื่อสวนรวม แมแตง านสงกรานต กม็ ีกิจกรรมท่เี ปนการทาํ บญุ ทํากศุ ล อยู รวมทัง้ การขนทรายเขา วดั ดังน้ัน การทํางานจึงมีความหมายในเชิงที่เปนกิจกรรมในการทํา ความดบี างอยา ง หรอื เกย่ี วของกบั กิจกรรมทางศาสนา แตส ว นหน่งึ ทปี่ นอยู ดว ยก็คอื ความสนกุ สนานบนั เทงิ ซ่งึ เปน สว นที่หลงเหลอื มาถึงปจจบุ นั ในคน

๑๒ เลา เรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ติ ไดอ ะไร ไทยสวนมาก พูดรวบรัดวา ความหมายของงานท่ีเปนไปตามวัฒนธรรมไทยน้ี เหลือมาในรูปของความสนกุ สนานเปนหลกั ทีน้ี ในแงของสงั คมตะวันตก การทํางานแบบตะวันตกเขา มาพรอม กับวฒั นธรรมตะวันตกนัน่ เอง ตามความหมายแบบตะวันตก งานคืออะไร งานในความหมายของตะวันตกนัน้ เรยี กวา work และมีคําสาํ คัญ ท่คี กู ับ work เปนคาํ ตรงขา มกับ work ซ่งึ ชวยใหความหมายของ work เดน ชดั ขนึ้ มาดว ย คอื คําวา leisure แปลวา การพักผอนหยอนใจ งานในความหมายของฝรงั่ เปนคกู นั และตรงขามกบั การพักผอ น หยอนใจ เพราะฉะนัน้ วฒั นธรรมตะวนั ตกจงึ มองงานวาเปน เรอื่ งของความ เหนด็ เหน่ือย ลําบากตรากตรํา เปนเรื่องท่ีตอ งทนทาํ ดวยความทกุ ขยาก และ ก็จงึ ตองมีสิ่งทเ่ี ปนคูกันเพือ่ ทดแทน คอื การพกั ผอนหยอนใจ ตามวัฒนธรรมของฝร่งั นี้ คนเราตอ งทํางาน เสรจ็ แลว ก็ไปพกั ผอน หยอ นใจ เพื่อชว ยทดแทนชดเชยหรือผอนระบาย ดังนัน้ งานจงึ เปนส่ิงที่ทํา ใหเ กดิ ความเครยี ดไดม าก และถา เราตั้งทาไวไ มดี มที า ทีของจิตใจท่ไี มถกู ตอ ง คือไมม คี วามรักงาน เราก็จะทาํ งานดวยความเหน่ือยหนายและอยากจะ หนีงาน งานกลายเปน ส่งิ ทห่ี นกั หนา ตอ งเผชญิ ตอ งผจญ ตองตอสู เมอ่ื มองอยา งนี้ คนกจ็ งึ ตอ งหาทางหลกี เลย่ี งไปเสยี จากงาน ตอ งการ ใหง านเลกิ หรอื จะหนจี ากงานเพอื่ ไปหาการพกั ผอ น อนั เปน สงิ่ ทจี่ ะตอ งแกไข ดวยเหตุน้ี จงึ ตอ งมจี ริยธรรมที่เขา ชดุ เปน คกู นั คือวา คนในวัฒน- ธรรมตะวนั ตก ซึ่งทาํ งานแบบตะวนั ตก จะตอ งสรา งนสิ ัยรกั งานข้ึนมาใหได พอรักงาน ก็มีใจสู และทนตอความหนักความเหนด็ เหนื่อยของงานได

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๓ เปน อนั วา ความหนกั และความเหนด็ เหน่อื ย เปน ลักษณะงานแบบ ตะวนั ตก คนไทยรับเอาความหมายของคําวา “งาน” ในแงทเ่ี ปนความหนัก นา เหนอ่ื ยมาจากตะวันตก โดยไมไ ดรบั เอานสิ ยั รักงานมาดว ย แตเรามีนิสยั รักสนุก ที่ส่ังสมมากบั ความหมายของงานในวัฒนธรรมไทยของเราเอง ในสภาพแหงความนุงนงั และสบั สนของวฒั นธรรมอยางนี้ ถาปรับ ตัวไมดี เราจะเสียทงั้ สองดาน คือ ตวั เองก็รกั ความสนุกสนานตามความ หมายของงานแบบเกา เราจะมุงหาแตความสนุกสนาน พอเจองานแบบ ตะวันตกท่หี นักและไมสนกุ ตวั ไมม ีนสิ ยั รักงาน ก็อยากจะหนีงานไป แตเม่อื ตองทํา หนีไมไ ด กต็ อ งจาํ ใจฝนใจหรือสักวา ทํา ลงทาย ท่ีวา เสยี ทงั้ สองดา น คอื งานกไ็ มไดผล คนก็เปนทกุ ข เพราะฉะนัน้ ถาจะใหดี กต็ องแกไ ขใหถ ูกตอ ง ความหมายท่ดี ีของ เราในวฒั นธรรมเกา วา งานเปน กจิ กรรมเพอ่ื สวนรวม เพ่อื รวมกันสรา งสรรค อะไรสักอยางหนึ่ง โดยมคี วามสนุกสนานเปน ผลพวงมา หรอื เปน ผลพลอย ได เราก็รกั ษาไว และในเวลาเดียวกัน งานในความหมายทยี่ ากท่ีหนัก ตองสู ตอ งทําดวยความเหนด็ เหนอ่ื ยนี้ เรากย็ นิ ดตี อนรับไมถ อยหนี จะตองแกป ญหาใหไดวา ทําอยางไรจึงจะใหก ารทํางานเปน ไปดวยดี ท้ังยังมีน้ําใจเผ่ือแผนึกถึงสวนรวมไว แลวก็มีนิสัยรักงานสูงานมาชวย สนับสนุนดวย ถาแกใหเ ปน อยางนไ้ี ด ก็จะกลบั รา ยกลายเปนดี แทนทีจ่ ะเสยี ทั้ง สองดา น ก็กลายเปนไดท ง้ั สองทาง คือ งานกไ็ ดผ ล คนกเ็ ปน สขุ

๑๔ เลา เรยี น-ทาํ งานกันไป ชวี ิตไดอะไร จดุ หมายของคน หรอื จุดหมายของงาน? จะเหน็ วา ความหมายทางจติ ใจเปน เรื่องสาํ คญั เราจะสงู าน หรอื จะ หนงี าน กอ็ ยทู ภ่ี าวะจติ ใจอยา งทวี่ า มาแลว และในการทจี่ ะมสี ภาพจติ ใจทเี่ ออื้ ตอ การทาํ งานนน้ั สงิ่ หนง่ึ ทจี่ ะสนบั สนนุ ใหค นทาํ งานไดผ ลดี กค็ อื กาํ ลงั ใจ พอพูดถึงกาํ ลังใจก็มีปญหาอกี กําลงั ใจจะมาไดอ ยา งไร กาํ ลงั ใจก็ เปน เรอ่ื งของความสมั พนั ธเชงิ วงจรอกี มนั ยอ นไปยอ นมา ถามีกําลังใจ เราก็ทํางานไดดี แตท ําอยา งไรเราจงึ จะมีกําลังใจ ถา ทาํ งานแลวไดผลดี กม็ กี าํ ลงั ใจ พองานไดผ ลดมี ีกาํ ลังใจ ก็ยง่ิ ทํางาน ยิ่ง ทาํ งาน ก็ยิง่ ไดผ ลดี ยง่ิ ไดผ ลดี ก็ยง่ิ มีกาํ ลังใจ เปน การสงผลยอ นไปยอ นมา กําลงั ใจ เปน เรอื่ งสาํ คญั ในการทาํ งาน แตก ารทจ่ี ะมกี าํ ลงั ใจได กอ็ ยู ทกี่ ารเขาใจความหมายของงานนัน้ แหละ คนท่ีเขาใจความหมายของงานวาจะทําใหไดผลตอบแทน หรือได ผลประโยชนมา ถาเขาไดผลตอบแทน ไดผลประโยชนม า เขากม็ ีกาํ ลังใจ แลวกท็ าํ งาน แตถ าไมไ ดผ ลตอบแทนเปนอตั ราเปน เงนิ ทอง กไ็ มม ีกาํ ลังใจ แตอ ีกคนหน่ึงมองความหมายของงานวาเปนการไดพ ัฒนาตน หรือ เปน การไดบ าํ เพญ็ ประโยชนแ กส งั คม เมอื่ เขาไดท าํ อะไรพอใหร สู กึ วา ไดฝ ก ตน หรอื ไดช ว ยเหลอื สงั คม เขากม็ กี าํ ลงั ใจ แมจ ะไมไ ดผ ลตอบแทนเปน วตั ถสุ กั เทา ไร กาํ ลังใจจึงไปสัมพนั ธก ับผลตอบสนองจากงาน ไมว า จะเปน ผลทาง วัตถุหรอื ผลทางจิตใจ จะเปนผลแกตนเองหรอื ผลแกส วนรวมก็ตาม แลว แต จะมองความหมายของงานอยา งไร รวมความวา กาํ ลงั ใจเปน สิ่งสาํ คัญกจ็ รงิ แตก ไ็ มใ ชเคร่อื งกํากบั ที่

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๕ แนนอนวาจะใหเ กดิ คณุ คา ทเ่ี ปน ประโยชนเสมอไป อยางทวี่ า คนท่ีทํางานมงุ แตผลประโยชนตอบแทนเปนเงินทองวัตถุ ถาผลตอบแทนนอ ยไป ไมได มากมายอยา งทห่ี วงั ก็จะเกดิ ปญหาไมม ีกําลงั ใจในการทาํ งาน เพราะฉะน้ัน เราจะตอ งหาอะไรมาชวยกาํ ลังใจใหไดผลดยี ิ่งข้นึ เพือ่ ใหง านเกดิ คณุ คา อยา งแทจ รงิ สิง่ หน่ึงทจ่ี ะมาหนนุ คุณคา น้ีได ก็คอื ศรทั ธา ศรทั ธาเปน ส่งิ สาํ คัญอยางมาก ศรทั ธา คอื ความเชอื่ ซงึ่ ในความหมายอยา งหนงึ่ กค็ อื การเหน็ คณุ คา ของสง่ิ นน้ั เมอื่ เหน็ คณุ คา ของสง่ิ ใด กพ็ อใจสงิ่ นนั้ มน่ั ใจในสง่ิ นน้ั และใจก็ ยึดเหนยี่ วมุง ไปหาและมุงไปตามสงิ่ นัน้ เมอ่ื มงุ ไปหาหรอื มุง หนา ตอสิ่งนั้น มุง จะทําและมงุ จะตามมันไป กเ็ กิดกาํ ลงั ขน้ึ มา บางทอี ยา งท่วี าถงึ ไหนถึงกนั ศรทั ธาเปนพลัง เมือ่ เรามศี รัทธาตอ ส่ิงใด เราก็จะสามารถอทุ ิศชวี ติ ทัง้ รา งกายและจิตใจ อุทศิ เรี่ยวแรงกาํ ลังของเราใหแ กสง่ิ นั้น เพราะฉะนน้ั การทีจ่ ะใหเ กดิ กําลงั ใจในทางที่ดี ไมตดิ อยูแ คผ ลตอบแทนหรือสง่ิ ทต่ี นจะได จะเอา ก็จึงตองสรา งศรัทธาขึ้นมา ศรัทธาจะเกดิ ขึ้นได ดวยการเขาใจความหมายน่ันแหละ เชน ถาเรา เขา ใจความหมายของงานในแงว า เปน ส่งิ ทมี่ ีคุณคา เปนเคร่ืองสรางสรรคทํา ใหเ กดิ ประโยชนแ กส งั คม เปนตน เราก็เกิดศรัทธาในงาน เพราะมองเห็น คณุ คา ของงานน้นั พอมศี รทั ธาอยา งนแี้ ลว ศรัทธานนั้ กจ็ ะสงเสริมกาํ ลงั ใจ ในลักษณะที่พว งเอาความเปนคณุ เปนประโยชนเขามาดวย ไมใ ชเ ปน กาํ ลงั ใจ ลวนๆ ทเ่ี พียงแตเกดิ จากความสมอยากในการไดว ัตถเุ ทาน้นั เมื่อเขามาถกู ทางอยา งน้ี พอมศี รัทธาแลว กําลังใจท่ีเกดิ ขึ้น ก็จะ เปน กําลังใจทท่ี ําใหเกดิ สงิ่ ทีเ่ รยี กวา ธรรม คอื มีความดงี าม มคี ณุ ประโยชน พวงมาดว ย

๑๖ เลาเรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ิตไดอ ะไร นอกจากมีศรัทธาในงานแลว กต็ อ งมีศรัทธาในวิถีชีวิตดว ย เรือ่ งนี้ จึงมีความหมายโยงไปหาชวี ิตดวย วาเรามองชีวิตอยางไร คนทีม่ องความหมายของชีวติ ในแงวา วิถีชีวติ ทด่ี ี คือการหาความ สนุกสนานใหเต็มที่ คนอยางน้ันจะมาศรัทธาในความหมายของงานที่เปน คุณเปนประโยชนแกส ังคม ก็เปน ไปไดย าก เพราะฉะน้ัน ความหมายของงานที่จะทําใหเ กดิ ศรทั ธาจึงตองโยงไป หาความหมายของชีวติ ท่ีดีดว ย เชนมองวา ชวี ติ ที่ดี คือการที่เราไดใชช วี ิตน้ี ใหเ ปนประโยชน มีคุณคา และการที่ไดพ ฒั นาตน เปน ตน พอมองความหมายของงานในแนวเดยี วกนั น้ี ความหมายของงาน น้ันก็มาชวยเสรมิ ในแงท ีเ่ กิดความสัมพนั ธอ ยางสอดคลอ งกนั คือ ความ หมายของงาน กบั ความหมายของชวี ติ มาสมั พันธเสริมยํา้ ซึ่งกันและกัน แลว ศรทั ธาก็จะเกดิ ขึน้ อยา งม่นั คง ทีนี้ มองตอ ไปอกี ใหช ดั เจนยง่ิ ข้นึ เรอื่ งนไี้ มใ ชอยแู คศ รทั ธาเทา นน้ั ถาเราวิเคราะหจิตใจของคนทท่ี าํ งาน จะเห็นวา แมแตศ รทั ธาก็เปนสว นหนึง่ ของส่งิ ทเ่ี รยี กวา แรงจงู ใจ เมื่อมาทํางาน เราก็ตองมีแรงจูงใจทง้ั น้นั ทง้ั หมดทพี่ ูดมากอ็ ยใู น หลกั การของเรือ่ งแรงจูงใจทัง้ สิ้น คนเราจะทาํ กจิ กรรมอะไรก็ตอ งมีแรงจงู ใจ เม่ือมาทํางานเราก็ตองมีแรงจูงใจใหมาทํางาน แรงจูงใจจึงเปนหลักใหญใน การแบง ประเภทของการทาํ งาน แรงจงู ใจ นั้นมีอยู ๒ ประเภทใหญๆ ดวยกนั แรงจงู ใจดานหนง่ึ ท่ีเปนหลักใหญๆ คอื ความตองการผลตอบแทน ตอ งการผลประโยชน ตอ งการเงนิ ทอง อนั นเี้ ปน แรงจงู ใจทม่ี งุ เขา หาตวั เอง เปน ความปรารถนาสว นตวั หรอื เหน็ แกต วั ทางพระเรยี กวา แรงจงู ใจแบบตณั หา

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๗ ทีนี้ ตอจากตณั หายังมีอีก เราตอ งการความสาํ เรจ็ แตความสําเร็จ นั้นเปนความสําเร็จของตัวเรา โดยเฉพาะความสําเร็จของตัวเราในรูปของ ความยิง่ ใหญ ในรปู ของการไดต าํ แหนง ไดฐานะเปน ตน อนั นีก้ เ็ ปนแรงจงู ใจ ในแงข องตวั เองเหมอื นกนั คอื ตองการผลประโยชนต อบแทนสว นตวั ในรูป ของความสําคญั ของตนเอง ความโดดเดน เชน มตี ําแหนง ใหญโ ต มีฐานะสงู ขอ น้เี รียกวา แรงจงู ใจแบบมานะ “มานะ” นน้ั ทางพระแปลวา ถอื ตวั สาํ คัญ คอื ความอยากใหตนเอง เปนคนโดดเดน มคี วามสาํ คญั หรือยง่ิ ใหญ ไมใชมานะในความหมายของ ภาษาไทยวา ความเพยี รพยายาม ตกลงวา แรงจูงใจสําคญั ดา นทีห่ นงึ่ นี้ เปน เร่ืองของตัณหาและมานะ ซงึ่ สําหรับมนษุ ยป ุถุชนก็เปนธรรมดาทจ่ี ะตองมี แตจ ะทาํ อยา งไรใหป ระณตี สักหนอ ย เชน วา ถาเปนความตองการผลตอบแทนในข้นั ธรรมดาของมนุษย ก็ขอให อยูในขอบเขตเพียงวาสาํ หรับใหเปนอยูดวยความสะดวกสบายพอสมควรใน โลกนี้ หรอื เปน อยูดีไมข ัดสนในปจ จัยส่ี ถา จะมมี านะ กใ็ หม นั มาในรปู ของความภมู ใิ จในความสาํ เรจ็ ของงาน มีเกียรติมีฐานะเปนที่ยอมรับในสังคมหรือไดรับความนิยมนับถือ คือเอา ความสําเร็จมาโยงกับงาน ไมใชเปนเพียงความสําเรจ็ เพือ่ ความยง่ิ ใหญข อง ตน ทจ่ี ะไปหยามเหยียดขม เหงรงั แกคนอื่น ถาหากวา ความสาํ เรจ็ ไปโยงกบั ตัวงาน มันกย็ งั เปน เรอ่ื งของความดี งามได เร่อื งอยา งนี้ทางพระพทุ ธศาสนาไมไ ดปฏิเสธ ทา นยอมรับความจรงิ ของปถุ ชุ น แตท ําอยา งไรจะใหโยงเขาไปหาแรงจูงใจท่เี ปน ธรรมใหมากข้ึน ทนี ้ี แรงจงู ใจพวกทสี่ อง กค็ อื แรงจงู ใจเชน อยา งศรทั ธาทม่ี ตี อ งานทมี่ ี

๑๘ เลา เรียน-ทาํ งานกันไป ชีวิตไดอะไร คณุ คา เปน แรงจงู ใจทต่ี อ งการใหค วามดงี ามเกดิ มหี รอื ปรากฏขนึ้ ความตอ งการ ความดงี าม ตอ งการความจรงิ ตอ งการสง่ิ ทมี่ คี ณุ คา เปน ประโยชนอ ะไรตา งๆ เหลา นี้ เปน แรงจงู ใจทที่ า นเรยี กดว ยคาํ ศพั ทท างธรรมอกี คาํ หนงึ่ วา \"ฉนั ทะ\" ตัวอยางเชน คนทํางานดวยความตองการใหเกิดความสงบสุข ความเรียบรอย ความเปน ระเบยี บของสังคม ถาทํางานเปน แพทย หรอื ทํางานเก่ียวกับโภชนาการ ก็อยากใหมนุษยในสังคมนี้เปนคนที่มีสุขภาพดี รางกายแข็งแรง อยากใหมีแตอาหารท่ีมีคณุ คา แพรหลายออกไปในสังคมน้ี แรงจูงใจหรอื ความปรารถนาอยา งนี้ ทานเรียกวา เปน แรงจงู ใจแบบฉันทะ แรงจูงใจน้ีสําคัญมาก ถามองอีกแงหนึ่งจะเห็นวา แรงจูงใจนี้ สัมพันธก ับสัมฤทธผิ ลหรือจุดหมาย ซง่ึ อาจแบง ไดเปนจดุ หมายของคน กับ จุดหมายของงาน แรงจูงใจแบบท่ีหน่ึง ท่ีตองการผลตอบแทนเปนเงินเปนทอง ตองการเกียรติฐานะความยิ่งใหญนั้น โยงไปหาจุดหมายของคนท่ีทํางาน สวนแรงจูงใจแบบที่สองจะมุงตรงไปยงั จุดหมายของงาน ตามธรรมดาไมวา เราจะทาํ งานอะไร งานน้ันยอ มมจี ุดหมาย เชน วา การทาํ งานแพทยก็มจี ุดหมายทีจ่ ะบาํ บัดโรค ทาํ ใหค นไขห ายโรค ใหค นมสี ขุ ภาพดี ตวั งานน้ันมคี วามมุง หมายท่ชี ดั เจนและตรงไปตรงมา ถาเราทํางานใหการศึกษา เราก็ตองการผลท่ีเปนจุดมุงหมายของ การศกึ ษา จุดหมายของงานในการใหก ารศึกษา ก็คือ การทีเ่ ด็กและเยาวชน เปนคนดี มีความรูมีความประพฤติดี รูจักดาํ เนินชีวิตอยางถูกตอง ได พฒั นาตนเองยงิ่ ขน้ึ ไป งานทุกอยางมจี ดุ หมายของมัน แตค นท่ีไปทํางานก็มีจุดหมายของ ตัวเองดว ย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๙ ทีนีป้ ญ หากอ็ ยทู ว่ี า เม่อื เขาไปทาํ งานนัน้ เขาจะทาํ งานเพื่อจดุ หมาย ของคน หรอื ทํางานเพอื่ จุดหมายของงาน ถา เขาทาํ งานดวยแรงจงู ใจแบบทห่ี นง่ึ จดุ หมายทีอ่ ยูในใจของเขาก็ จะเปน จุดหมายของคน คือทาํ งานเพอื่ จุดหมายของคน ใหตนไดนั่นไดนี่ แตถาเขาทํางานดวยแรงจูงใจแบบที่สอง เขาก็จะทํางานเพื่อจุด หมายของงาน ใหงานเกิดผลเปน ประโยชนตามคณุ คา ของมนั ทนี ี้ ในการทเี่ ปนปุถชุ น เมื่อยงั มกี เิ ลส ก็ตอ งประสานประโยชน คอื ตองใหจ ุดหมายของคนไปสัมพันธเชอ่ื มโยงกบั จุดหมายของงาน หมายความ วา ตองใหไ ดจ ดุ หมายของงานเปนหลกั ไวกอน แลว จึงมาเปนจุดหมายของ คนทีหลงั คอื ใหจุดหมายของคนพลอยพวงตอมากบั จดุ หมายของงาน ถา เอาแตจุดหมายของคนแลว บางทงี านไมส าํ เร็จ และเสียงานดว ย คือ คนน้ันมุงแตจ ุดหมายของคนอยา งเดียว จะเอาแตตวั ไดเงนิ ไดท อง ไม ไดต องการใหง านสาํ เร็จ ไมไ ดต อ งการเห็นผลดีทจ่ี ะเกิดจากงานนัน้ ไมไดม ี ความคดิ ทีจ่ ะเอาธุระ หรือเห็นความสาํ คญั เกย่ี วกับตัวงาน เพราะฉะน้ันจึง พยายามเลยี่ งงาน หรอื หาทางลัดทีจ่ ะไมตอ งทาํ งาน ขอใหไ ดเงินหรือผลตอบ แทนมากแ็ ลว กนั ตกลงวา แรงจูงใจแบบหนึ่งเปนเร่ืองสัมพันธกับจุดหมายของคน และแรงจูงใจอีกแบบหน่ึงเปน แรงจูงใจท่สี มั พันธก บั จดุ หมายของงาน ซึ่งจะ เหน็ ไดว า เม่ือทาํ งานไปแลว ไดผ ลสําเรจ็ ขน้ึ มา จะเปนผลสาํ เร็จของคน หรือ เปนผลสาํ เรจ็ ของงาน ถา จะทาํ งานใหถ กู ก็ตอ งมองไปทผ่ี ลสําเร็จของงาน ไมใ ชมุงเอาแต ผลสาํ เร็จของคน ถาจะเปนผลสําเร็จของคน ก็ตองใหเปนผลทค่ี วามสําเรจ็ ของงานสง ทอดมาอกี ตอหนงึ่

๒๐ เลาเรยี น-ทาํ งานกนั ไป ชีวติ ไดอ ะไร คนจํานวนไมนอยหวังแตผลสําเร็จหรือผลประโยชนของคนอยาง เดยี ว ถาเปนอยางน้ี กจ็ ะเปน ปญหาตอ การพัฒนาประเทศชาติ การพฒั นา ประเทศชาติ และการแกป ญหาของสังคม ก็ยากทจี่ ะบรรลุความสาํ เร็จ และ จะสงผลตอไปถงึ สภาพจิตใจดว ย ดงั ไดพ ดู มาแลว วา สภาพจติ ใจกบั การทาํ งาน สง ผลยอ นกลบั กนั ไปมา คอื สภาพจติ ใจทดี่ สี ง ผลตอ การทาํ งาน ใหท าํ งานไดด ี และการทาํ งานไดด ีมีผล สาํ เรจ็ กส็ งผลยอ นกลับไปยังสภาพจิตใจ ทําใหมกี าํ ลงั ใจเปนตน อีกทีหน่ึง ดงั ตวั อยา งท่ีพูดมาแลว นี้ ทว่ี า สภาพจิตใจในดา นแรงจูงใจ ทม่ี งุ จุด หมายของคน กบั มงุ จดุ หมายของงาน ซงึ่ จะสง ผลตอ ความสมั ฤทธใ์ิ นการทาํ งาน แลว ก็ยอ นกลับมาบนั ดาลผนั แปรสภาพจติ ใจของคนใหเปนไปตา งๆ กนั

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๑ ทํางานอยางไร จงึ จะไดความสุข? ในสมยั ปจจบุ ัน โดยเฉพาะในสภาพการทํางานแบบตะวนั ตก ไดมี คําพดู สาํ คญั ในทางไมดีคําหนึ่งมาเขา คกู บั การทํางาน คอื ความเครียด ยงิ่ ถา ไมม คี วามบากบน่ั สงู าน ซง่ึ เปน แรงจงู ใจทถี่ กู ตอ งในการทาํ งาน แบบตะวนั ตกนน้ั เขา มาดลุ ดว ยแลว ความเครยี ดจะกอ ปญ หาอยา งมาก ความเครยี ดนี้ กาํ ลังเปน ปญหาสาํ คัญของอารยธรรมของมนุษยใ น โลกยคุ ปจ จุบนั การทาํ งานหาเงนิ หรอื วิถชี ีวติ ท่เี นน ดา นเศรษฐกจิ ของคนยคุ น้ี พว ง เอาความเครยี ดมาดว ย ในสงั คมตะวนั ตกปจ จบุ นั นี้ คนยงั มนี สิ ยั สงู าน ทไี่ ดส ะสมมาแตอ ดตี ยงั ตดิ ยงั ฝง อยู แตม าในระยะหลงั ๆ น้ี ความใฝเ สพเหน็ แกบ รโิ ภคกม็ ากขนึ้ สว นในสงั คมไทยของเรานี้ มผี กู ลา ววา คนไทยมคี า นยิ มบรโิ ภคมาก ไมค อ ยมคี า นยิ มผลติ จงึ จะยง่ิ มปี ญ หาหนกั กวา เขาอกี เพราะคา นยิ มบรโิ ภค ขดั แยง กบั กระบวนการทาํ งาน เนอ่ื งจากการทาํ งานตอ งการความอดทน ตอ งตอ สกู บั ความยากลาํ บาก เมอ่ื ไมม นี สิ ยั รกั งานสงู านเปน พนื้ ฐานรองรบั คนทน่ี ยิ ม บรโิ ภคจะไมส ามารถทนได จะจาํ ใจทาํ ทาํ ดว ยความฝน ใจ จะรอคอยแตเ วลา ทจี่ ะไดบ รโิ ภค ความตอ งการกข็ ดั แยง กนั และเมอื่ ความตองการขัดแยง กัน ก็ เกดิ ภาวะทเี่ รียกวา “เครียด” จงึ ทํางานดวยความเครยี ด คนที่มีคานิยมบริโภคมาก เมื่อตองทํางานมาก ก็ยิ่งเครียดมาก โดยเฉพาะคนท่ีตองการผลตอบแทนทางวัตถุ ทํางานไปก็ทําดวยความ กระวนกระวาย เกดิ ความขดั แยงในจิตใจ มีความกังวลวา ผลตอบแทนท่เี รา

๒๒ เลา เรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ิตไดอะไร ตองการจะไดหรอื เปลา จะไดน อยกวาทีต่ ั้งความหวงั หรอื เปลา หรอื วาเรา อาจจะถูกแยง ผลตอบแทนไป หรือถกู แยงตาํ แหนงฐานะไป ความหว งกังวล ตางๆ นท้ี ําใหเ กดิ ความเครยี ด ซ่งึ เปน ปญ หาทางจติ ใจท่สี ําคญั เม่ือขาดความรักงาน ใจไมอยกู ับงาน ความรูสึกรอเงินรอเวลาก็จะ เดนขึ้นมาและกดดันใจนั้น โดยเฉพาะเม่ือจดุ หมายของคน กบั จุดหมายของ งาน ลกั ลนั่ ขัดแยง กัน เชน งานเสรจ็ เงินยงั ไมมา หรือวา ตําแหนง ยงั ไมไ ด แรงกดดันก็ย่ิงมาก เลยยิ่งเครียดหนัก ปญหาตา งๆ รวมทัง้ ความเครยี ดน้นั กเ็ กิดจากแรงจงู ใจประเภท แรกทเ่ี รยี กวา ตณั หา-มานะ โดยเฉพาะคา นยิ มบรโิ ภค และคา นิยมโก หรูหรา ซงึ่ กาํ ลังแพรห ลายอยูใ นสงั คมของเรา และบางทีกถ็ ึงกบั มองกนั วา เปนเรอื่ งท่ีดี สว นแรงจูงใจทถ่ี ูกตอ ง คือทาํ งานดว ยใจที่ใฝส รา งสรรค มองงาน เปนโอกาสท่ีจะไดพัฒนาตน อยากพัฒนาประเทศชาติหรือทาํ ประโยชนแก สังคม ตอ งการผลสาํ เรจ็ ของงานหรือทาํ งานเพอื่ จดุ หมายของงานแทๆ แมจะทํางานดวยแรงจงู ใจทีด่ ีแบบนี้ ถาเกิดความรสู ึกเรงรดั จะรบี รอ นทํา และมีความหว งกังวลเกรงงานจะไมเ สร็จ ก็อาจจะมีความเครียดได ตา งแตวาจะเปนความเครยี ดทีค่ ลายไดงาย (เพราะไมมอี ารมณด านลบท่เี กิด จากตณั หา) เพราะฉะน้ัน ไมว า จะเปน ฝายท่มี แี รงจูงใจไมดกี ็ตาม มแี รงจูงใจท่ดี ี กต็ าม ก็ยงั มคี วามเครียดได ยังอาจมีปญ หา แตเ ราสามารถแยกความแตก ตางไดว า ในฝา ยหนึ่ง แรงจงู ใจเพอื่ จดุ หมายของคน ซงึ่ มงุ เอาประโยชนส ว น ตนดว ยตณั หา-มานะ มโี ทษตอ สงั คมและตอ ชวี ติ มาก สว นฝา ยทสี่ อง แรงจงู ใจเพอ่ื จดุ หมายของงาน มคี ณุ คา มาก มคี ณุ ประโยชนต อ สงั คมมาก พฒั นา

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๓ ชวี ติ คนไดด ี ตกลงวา ทั้งสองอยางยังมีปญหาอยู ทําอยางไรจะแกไขใหการ ทํางานมีสวนท่ีเปน คณุ อยางเดยี ว เปน ประโยชนแ กชวี ติ โดยสมบรู ณ อันนี้ เปน ข้นั ตอ ไป ตอไปกม็ าถึงขัน้ ทวี่ า ทง้ั ทํางานดี และมีความสุขดว ย ซ่ึงจะตอ งมี การตัง้ ทาทที ถ่ี ูกตอง และตอนนี้จะเปนเร่ืองของการพฒั นาจิตใจ และพฒั นา ปญญา ควบคไู ปกับการทํางาน เม่อื กีน้ ี้ เราเอางานมาพฒั นาชีวติ จิตใจของเรา แตอ กี ดา นหนง่ึ ใน การทาํ งานน้ัน เราจะตองพัฒนาชีวิตจิตใจของเราไปดวย เพ่ือเอาชีวิตจิตใจท่ี ดีไปพฒั นาการทํางาน การทํางานทีจ่ ะใหไ ดทง้ั ผลดีและมีความสุขดวยน้นั มี อะไรหลายแงท จ่ี ะตองพจิ ารณา แงท ่หี นง่ึ กอ็ ยางทวี่ าเมือ่ กี้ คือ ในการท่ีจะใหเกดิ ผลดีตอชีวิตและ สงั คม เราตองมีแรงจูงใจท่ถี ูกตอง ซ่ึงตองการจุดหมายของงาน มีฉนั ทะ มี ความใฝดี มคี วามใฝส รา งสรรค และพรอมกบั การมฉี นั ทะนัน้ ก็ตอ งมคี วาม รเู ทา ทนั ความจริง ซึ่งเปน เร่อื งของปญ ญาดว ย อยา งนอ ยรูเ ทาทันวาส่ิงทั้ง หลายเปนไปตามเหตปุ จจัย เพยี งต้ังทา ทขี องจติ ใจแบบรเู ทา ทนั ขนึ้ มาแคน เี้ ทา นน้ั เรากจ็ ะเรม่ิ มี ความสขุ งา ยขน้ึ ทนั ที เราจะมองดสู งิ่ ตา งๆ ดว ยสายตาทม่ี องเหน็ ถกู ตอ งมากขนึ้ ในขณะที่เรากาํ ลังเรงงานเต็มท่ี ขยนั เอาใจใสเตม็ ท่ี เรากลับจะมี ความกระวนกระวายนอยลง หรือทาํ งานดวยความไมกระวนกระวาย คอื มี ความรูเทาทันวาส่ิงท้ังหลายเปนไปตามเหตุปจจัย ขณะน้ีเรากําลังทําเหตุ ปจ จัย เรากท็ าํ เหตปุ จ จยั น้นั ใหเตม็ ที่ สว นผลน้ันมันจะเปน ไปตามเหตปุ จจยั ของมัน เราก็ดมู นั ไป ไมม ตี ัวเราทีเ่ ขา ไปวนุ วายดว ย พอวางใจอยา งนีเ้ ราก็

๒๔ เลา เรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ิตไดอ ะไร เปน อิสระ สบาย ไมต อ งหว งกงั วลกบั ผล เราทาํ เหตปุ จ จยั ใหดกี ็แลวกนั อันนี้เปน ขอ ท่ีหน่งึ กลาวคือ ควบคกู ับแรงจงู ใจท่ีถูกตองหรอื ฉนั ทะ นั้น ก็ใหม ีการรูเทาทันความจรงิ ดวย อยางนอ ยใหท ําใจวา สง่ิ ทง้ั หลายเปน ไปตามเหตุปจจยั มองไปตามเหตปุ จจัย ขอน้ีเปนทาทีพ้นื ฐานตามหลักธรรม ทีว่ า ใหมองสิง่ ทงั้ หลายวา เปนไปตามเหตปุ จ จยั เปนการทาํ ใจขัน้ ท่ีหนงึ่ ตอไปแงที่สองก็คือ เวลาทํางานเรามักมีความรูสึกแบงแยกหรือ แยกตวั ออกไปวา นต่ี ัวเรา น่ีชีวิตของเรา น่ันงาน เราจะตอ งทาํ งาน ตลอดจน รูส ึกวางานเปน เรอื่ งเหนด็ เหนือ่ ยตองตรากตราํ ไมมองวา งานน้ีแหละเปน เนือ้ แท เปนเนื้อเปน ตัวของชวี ติ ทจ่ี รงิ นน้ั งานไมใ ชส ง่ิ ตา งหากจากชวี ติ งานทเ่ี ราบอกวา เปน กจิ กรรม ของชวี ติ นนั้ ทจี่ รงิ มนั เปน ตวั การดาํ เนนิ ชวี ติ ของเราเลยทเี ดยี ว ในชวี ติ ของเรา ทีเ่ ปน ไปอยนู ้ี งานนน่ั เองคือความเปนไปของชวี ติ เพราะฉะนน้ั การทํางานจึง เปน เน้ือหาหรอื เปน เน้อื ตวั ของชวี ิตของเรา เมื่อทํางาน เราอยาไปมคี วามรสู กึ แยกวา นน่ั เปนงาน เปน กิจกรรม ตางหากจากชีวิตของเรา การท่ีมีความรูสึกวาเราจะตองไปเหน็ดเหนื่อย ตรากตรํา หรือวามันเปนเรื่องหนักเรื่องทนที่เราจะตองทํางานตอไป รอ หนอ ยเถอะ เราทาํ งานเสร็จแลว จะไดไปหาเวลาพกั ผอ น ความนกึ คิดอยา งน้ี จะทําใหเกิดความรูสึกแปลกแยก และเกดิ ความรสู ึกท่ีครุนคดิ เหมือนถกู กด ถกู ทบั อยูอยากจะพน ไปเสีย เกิดความเครยี ด เกดิ ความกงั วล เกดิ ความ หวง เกดิ ความหวงั ในเบื้องตนคนเราตองอยูดวยความหวัง แตพอถึงข้ันหน่ึงแลวไม ตองหวัง เพราะความหวงั สําเรจ็ จบส้นิ อยใู นตวั ตอนนจี้ ะมีความสขุ ยิ่งกวา ตอนแรกทีม่ ีความหวัง

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๒๕ คนท่ีไมมีความหวังเลย จะมีความทุกขมาก ในขนั้ ตอ มาเขาจงึ มี ความสุขดว ยการทีม่ ีความหวงั เขามคี วามหวงั วา หลังจากนแี้ ลว เขาจะไดจ ะ พบส่งิ ทีป่ รารถนา แลวเขาก็จะสุข จะสบาย เขามีความหวงั อยา งนี้ และเขาก็ มีความสขุ แตความหวังน้ันคูกับความหวาด เปนคูกันกับความหวงและ ความกงั วล ดังนนั้ พรอ มกับการมคี วามสุขดว ยความหวงั น้ัน เขากม็ คี วาม กังวล เชน เมื่อหวงั วา จะได ก็หวาดระแวงหรือกังวลวา จะมอี ะไรมาขัดขวาง ใหไมเ ปนไปอยางที่หวงั เปน ความทกุ ขอ ยา งหนึง่ ในการรอความหวัง สว นคนอกี พวกหนึ่งนนั้ อยเู หนอื ความหวงั หรอื พนเลยความหวังไป แลว คือไมต องอยูดวยความหวัง ไมตอ งอาศัยความสุขจากความหวัง หรอื วาความสุขของเขาไมตองขึ้นตอความหวัง เพราะชีวิตเปนความสุขตลอด เวลา โดยไมต องหวังเลย และไมตอ งหว งกังวล เพราะฉะนน้ั ถา เราจะทาํ งานใหไดผลดี โดยท่ีวาชีวิตกม็ คี วามสขุ และงานก็ไดผลดดี วย กค็ วรจะมาใหถงึ ข้ันนี้ คอื ข้ันที่วา มองงานกบั ชวี ติ เปนอันหน่ึงอันเดียวกัน มองวางานเปนกิจกรรมที่เปนเนื้อเปนตัวของชีวิต แทๆ แลว เราก็ทํางานไปอยา งท่ีรสู ึกวา มนั เปน การดําเนินชวี ติ ของเราเอง และ ดําเนนิ ชีวิตนัน้ ใหดีท่ีสุด ตอไปอกี ดานหนึ่งก็คอื เมอื่ เราทํางานไป ไมวา จะมองในความหมาย วา เปนการพฒั นาตนเองกต็ าม เปน การกระทําเพอ่ื ประโยชนส ุขของประชาชน หรือของสังคมกต็ าม ในเวลาทที่ าํ อยูน้นั สภาพจติ ใจอยา งหน่งึ ทคี่ วรเกดิ ขึน้ ก็คอื ความรา เริงบนั เทงิ ใจ ความเบิกบานใจ การทํางานในความหมายบางอยางก็เอ้ือตอการเกิดสภาพจิตอยางน้ี อยูแ ลว เชน ถาเราศรัทธาในความหมายของงาน ในคณุ คาของงาน เรา

๒๖ เลาเรียน-ทาํ งานกนั ไป ชีวติ ไดอะไร ทาํ งานไปก็ทําจิตใจของเราใหร าเรงิ ไดง า ย แตการทจี่ ะใหร าเริงนั้น บางทกี ็ตอ งทาํ ตัวทําใจเหมือนกัน ไมใชว า มนั จะเกดิ ขน้ึ มาเฉยๆ เราตอ งตง้ั ทา ทขี องจติ ใจใหถ กู ตอ ง บอกตวั เอง เรา ใจ ตวั เองใหร า เรงิ ทาํ ใจใหเ บกิ บานอยเู สมอ สภาพจติ อยา งนเ้ี รยี กวา มปี ราโมทย ทางพระบอกวา สภาพจิตทีด่ ีของคนนนั้ กค็ อื หนึ่ง ปราโมทย มคี วามราเรงิ เบิกบานใจ สอง ปต ิ มคี วามอม่ิ ใจ ปลาบปลื้มใจ สาม ปสสทั ธิ มคี วามผอนคลาย หรือสงบเยน็ ขอที่สามนีม้ ีความสาํ คญั มากในยุคปจ จบุ นั คือ เมอ่ื ผอนคลาย กไ็ ม เครียด เปนขอท่ีจะชวยแกปญหาสภาพจิตในวัฒนธรรมสมัยใหมของยุค อุตสาหกรรม พอมีปสสัทธแิ ลว ส่ี สขุ มคี วามฉํ่าชนื่ รน่ื ใจ จิตใจคลอ งสบาย แลว ก็ หา สมาธิ มใี จแนว แน อยูตัว แนบสนทิ และมัน่ คง ไมวอกแวก ไมฟงุ ซาน ไมหวัน่ ไหว ไมม ีอะไรรบกวน เรียบ สมํา่ เสมอ อยกู ับกิจ อยูก บั งาน เหมือนดงั กลนื เขาเปนอันหนง่ึ อนั เดียว กบั งาน ซงึ่ หมายถงึ วาสมาธใิ นการทํางานก็เกิดขน้ึ ดว ย องคประกอบ ๕ ตวั นี้ เปนสภาพจติ ของคนท่ปี ฏิบัตธิ รรม ดังนนั้ ในการเปนอยูและในการทํากิจกรรมทุกอยาง เราจึงปฏิบัติธรรมไดท้ังนั้น เมื่อเราดาํ เนินชวี ิตถกู ตอง ทําส่งิ น้นั ๆ ไดถ กู ตอ ง เรามสี ภาพจิตท้งั หา อยา งน้ี ก็เรยี กวา เรากําลงั ปฏบิ ัตธิ รรมตลอดเวลา หลายคนไปมองการปฏบิ ตั ธิ รรมแยกจากชวี ติ ออกไป ตอ งรอไปเขา ปา ไปอยวู ดั การปฏบิ ตั ธิ รรมอยา งนนั้ อาจเปน course แบบ intensive แตใ น ปจ จุบันคือทุกขณะนี้ เราตอ งปฏิบัตธิ รรมตลอดเวลา ถา ใครปฏบิ ัตไิ ดอ ยา งนี้ ตลอดเวลาแลว การปฏิบัติอยา งท่เี รยี กวา intensive course กไ็ มจําเปน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๗ สําหรบั บางคนจาํ เปน เพราะเขาไมเ คยฝกตนเลย ทีนี้ ถา เราฝก ตัวเองตลอดเวลาดว ยการทํางานแบบนี้ เราก็ปฏบิ ัติ ธรรมตลอดเวลาอยูแลว เราทํางานไป โดยมีสภาพจติ ดี ซ่ึงจะไมม ปี ญหาสุข ภาพจติ เลย เพราะมันเปนสุขภาพจิตเองอยแู ลว ในตวั ขอใหมีปราโมทย ใหม ปี ต ิ มีปสสัทธิ มสี ขุ มสี มาธเิ ถิด ถาทําอยางน้ี แลวสบาย งานกไ็ ดผ ลดวย จติ ใจก็ดีดวย ถา ทํางานอยางนี้ ก็กลายเปน ทาํ งานเพ่อื ธรรมแลว และคนอยา งนี้ จะไมคอยคาํ นึงถึงผลตอบแทน ไมตองรอความสขุ จากผลตอบแทน คนทมี่ งุ ผลตอบแทนตอ งรอวา เมอ่ื ไรเขาไดผ ลตอบแทนเปน เงนิ เปน ทองแลว เขาจงึ จะมคี วามสขุ แตร ะหวา งนน้ั กท็ กุ ขแ ทบตาย ทาํ งานดว ยความ ทุกขแ ละรอความสุขอยูเร่ือยไป จะไดห รอื ไมไ ดกย็ งั ไมแนนอน ไมม่ันใจ แต การปฏบิ ัติโดยมสี ภาพจิตหา อยางนี้ ไดท ัง้ งานไดท ง้ั ความสขุ เสร็จไปในตวั ทีนี้ พอถึงขน้ั ทํางานอยา งมีความสุขโดยไมต อ งหวัง ไมตองหวงผล ตอบแทนแลว เราทํางานไป ชวี ิตแตล ะขณะกจ็ ะเปนความเต็มสมบรู ณของ ชวี ติ ในทุกขณะน้ันๆ ตอนนแ้ี หละจะถงึ จดุ รวมท่ที กุ อยางมาอยดู วยกนั ทง้ั งาน ท้งั ชีวิต และความสขุ จะสําเรจ็ ในแตล ะขณะ ตรงน้ีแหละเปนหัวใจสําคัญ ในตอนแรกนั้นเปน เหมือนวา เราแยก งาน แยกชีวติ แยกความสุขเปนสวนๆ แตพ อถึงตอนนี้ ทาํ ไปทาํ มา ทุกอยา ง มารวมอยดู วยกนั ทงั้ หมดในขณะเดียว ตราบใดเรายงั แยกเปน สวนๆ และแยกตามเวลา ตราบนัน้ ชวี ติ จะ ตอ งดน้ิ รนคอยหาและหลบหนสี งิ่ เหลา น้นั ทลี ะอยางๆ อยตู ลอดเวลา คือเปน ชีวติ ทตี่ ามหาวันพรุงนี้ ซึง่ ไมมาถึงสกั ที แตถ า ทําใหเ ปนปจ จบุ ันเสีย ทกุ อยา ง ก็ครบถวนอยดู วยกันทนั ที ทุกอยางก็สมบรู ณ

๒๘ เลา เรยี น-ทาํ งานกันไป ชีวติ ไดอ ะไร ชีวิต งาน และธรรม: ความประสานสูเ อกภาพ ในสภาพอยางน้ี เราจะมองเห็นพัฒนาการของคนในการทํางาน มองเหน็ พัฒนาการของชีวิต ในลักษณะท่วี า ตอนตน คนจํานวนมากมองแบบปุถุชนวา งานเพอื่ ชีวิต คือเรา ทาํ งานเพอื่ จะไดผ ลตอบแทนมาเล้ียงชวี ติ ชวี ติ ของเราอาศัยงาน คอื เรา อาศยั งานเพ่อื ใหช ีวิตของเราเปน อยูได ตอ มาจะเหน็ วา มกี ารกา วหนา ไปอกี ขนั้ หนง่ึ คอื กลายเปน งานเพอ่ื งาน ตอนนง้ี านกเ็ พอื่ งานนนั่ แหละ คอื เพอ่ื ใหง านนนั้ สาํ เรจ็ ดว ยดี เพอื่ จดุ มงุ หมาย ของงาน ตรงไปตรงมา ทว่ี า งานเพ่อื ชีวติ นั้นเปน เรื่องของเง่ือนไข ไมใชเ ปน เหตปุ จจัย จะ ตอ งมองความเปนเหตุปจ จยั และการเปน เงือ่ นไขวาเปนคนละอยา ง งานเพื่อชวี ติ นัน้ แทจ รงิ แลว ไมใ ชความสมั พนั ธต ามเหตุปจจยั งาน ไมใ ชเ ปน เหตปุ จ จยั ของชวี ติ แตง านเปน เงอื่ นไขเพอ่ื ใหไ ดผ ลตอบแทนมาเลยี้ ง ชวี ติ แตถ า งานเพอื่ งานแลว กเ็ ปน เรอื่ งของเหตปุ จ จยั โดยตรง งานอะไรกเ็ พอ่ื จดุ หมายของงานอนั นน้ั เชน งานของแพทยค อื การบาํ บดั โรค กเ็ พอ่ื จดุ มงุ หมาย ของงาน คอื ทาํ ใหค นหายโรค ทาํ งานโภชนาการ กเ็ พอื่ ใหค นไดก นิ อาหารดี แลว คนก็จะไดม ีสขุ ภาพดี เปนจุดหมายของงานโดยตรง งานก็เพือ่ งาน เมอ่ื เราทํางานเพ่ืองานแลว ไปๆ มาๆ งานทท่ี าํ น้นั ก็กลายเปนกจิ กรรมหลกั ของชีวติ ของเรา กลายเปน ตวั ชวี ติ ของเรา งานเพือ่ งานก็กลายเปน ชวี ติ เพอ่ื งาน ชวี ติ ของเราก็กลายเปน ชวี ิตเพือ่ งาน ทาํ งานไปทาํ งานมา ชีวติ ของเรากลายเปนชีวิตเพื่องาน อน่ึง พรอมกับทว่ี าเปนงานเพอ่ื งานนนั่ แหละ มนั ก็เปน ธรรมไปใน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๙ ตวั เหมอื นอยา งทบี่ อกวา ทํางานเพ่อื ประโยชนส ขุ แกสังคม หรือวาแพทยทาํ ใหค นไขม ีสุขภาพดี การทาํ ใหเ กิดประโยชนสุขแกส ังคม และการชวยใหค น มีสขุ ภาพดกี เ็ ปน ธรรม การทค่ี รใู หการศกึ ษาแกเ ด็กนกั เรียน ทาํ ใหน กั เรยี นมี การศึกษา มสี ติปญญา การทมี่ ีสติปญญา การทีม่ ชี ีวติ ทด่ี ีงาม กเ็ ปนธรรม เพราะฉะนั้น งานนน้ั ก็เพอื่ ธรรม เม่ือเราเอาชีวิตของเราเปนงาน เอางานของเราเปน ชวี ิตไปแลว ก็ กลายเปน วา ชีวติ ของเราก็เพอื่ ธรรม งานก็เพ่ือธรรม ซง่ึ มองกันไปใหถ ึงทส่ี ดุ แลว ไมใชแคเ พ่ือเทาน้ัน คอื ทว่ี างานเพื่องาน งานเพ่ือธรรม ชีวติ เพือ่ งาน ชีวิตเพ่อื ธรรมอะไรตางๆ น้ี ในทสี่ ุด ท้ังหมดนกี้ ็เปนอันหนง่ึ อนั เดียวกนั เม่อื ถงึ ขน้ั นี้ ก็ไมตอ งใชค ําวา \"เพ่อื \" แลว เพราะทําไปทํามา ชวี ติ ก็ คืองาน งานกค็ อื ชวี ติ และงานก็เปนธรรมไปในตัว เม่ืองานเปนธรรม ชีวิตก็ เลยเปนธรรมดว ย ตกลงวา ทงั้ ชีวิตทัง้ งานก็เปนธรรม ไปหมด พอถึงจุดนี้ก็เขาถึงเอกภาพที่แทจริง ทุกอยางกจ็ ะถึงจุดทสี่ มบรู ณ ในแตล ะขณะอยางที่กลา วแลว ในภาวะแหง เอกภาพ ท่ีชวี ิต งาน และธรรม ประสานกลมกลืนเขา เปนอันหนึ่งอันเดียวกันนั้น คนทท่ี ํางานกจ็ ะมีชวี ติ และงานและธรรมสมบรู ณ พรอ ม ในแตล ะขณะที่เปนปจ จบุ นั และจะมแี ตชีวติ และงานท่ีมคี วามสุข ไม ใชชวี ติ และงานทมี่ คี วามเศรา นี้เปน ประการทห่ี น่งึ ประการที่สอง ชวี ติ น้ันมีคณุ คา เปนประโยชน ไมม โี ทษ และ ประการที่สาม ชีวิตนี้ และงานน้ัน ดําเนินไปอยางจริงจัง กระตอื รอื รน ไมเฉือ่ ยชา ไมประมาท ลักษณะของงานอยางหนง่ึ ท่เี ปน โทษ กค็ อื ความเฉื่อยชา ความทอ แท ขาดความกระตอื รือรน ซ่ึงโยงไปถึงสภาพจติ ดว ย เม่ือเราไดคณุ ลักษณะ ของการทํางาน และชวี ติ อยา งท่ีวา มาน้ี เรากไ็ ดคุณภาพที่ดที ัง้ สามดา น คอื

๓๐ เลา เรยี น-ทาํ งานกันไป ชีวติ ไดอ ะไร ไดทั้งความสุข ไดคุณประโยชนหรือคุณคา และไดทั้งความจริงจัง กระตือรือรน ซึ่งเปนเนอื้ แทใ นตวั ของงานดวย ถา เปนอยางนีแ้ ลว ชีวิตนนั้ ก็เปนชวี ิตท่มี คี วามสมบูรณใ นตัวเอง ซ่งึ ในแงของงานก็เปนอันหน่ึงอันเดียวกับงาน แลวก็เปนอันหนึ่งอันเดียวกับ ประโยชนสุขท่ีจะเกิดแกชีวิตและสังคมของมนุษยดวย ชีวิตอยางนี้จึงมี ความหมายเทา กับประโยชนส ุขดวย หมายความวา ชวี ติ คอื ประโยชนสุข เพราะการเปน อยขู องชีวติ นน้ั หมายถึงการเกิดขึน้ และการดาํ รงอยูข องประโยชนส ุขดวย คนผใู ดมชี วี ิตอยูอยางน้ี การเปนอยขู องเขาก็คือประโยชนส ุขที่เกิด ขึ้นแกเ พื่อนมนษุ ย แกช วี ิต แกสังคมตลอดเวลา เพราะฉะนัน้ ถา คนอยางนี้ มชี ีวติ ยืนยาวเทา ไร ก็เทากบั ทาํ ใหป ระโยชนส ขุ แกสงั คม แกม นษุ ย แกโลก แผขยายไปไดมากเทา นนั้ ดงั น้ัน อายุทม่ี ากขึน้ ก็คอื ประโยชนสุขของคนที่ มากขน้ึ แพรหลายกวา งขวางยง่ิ ขนึ้ ในสังคม ครง้ั หนง่ึ พระสารบี ตุ ร อคั รสาวกฝา ยขวาของพระพทุ ธเจา ถกู ถามวา ถา พระพทุ ธเจา มอี นั เปน อะไรไป ทา นจะมคี วามโศกเศรา ไหม พระสารบี ตุ รตอบวา ถา องคพ ระศาสดามอี นั เปน อะไรไป ขา พเจา กจ็ ะไมม คี วามโศก เศรา แตข า พเจา จะมคี วามคดิ วา พระองคผ ทู รงมพี ระคณุ ความดี มากมาย ไดล บั ลว งจากไปเสยี แลว ถา หากพระองคท รงดาํ รงอยยู าว นาน กจ็ ะเปน ไปเพอื่ ประโยชนส ขุ แกพ หชู นชาวโลกเปน อนั มาก พระสารบี ตุ รตอบอยางนี้หมายความวา เปนการต้งั ทาทที ี่ถกู ตอ งตอ กนั ทง้ั ตอ ตัวของทา นเอง และตอ ชีวิตของทา นผอู ื่นดว ย ก็อยางที่วามาแลว วา ชีวิตที่ยนื ยาวอยใู นโลกของคนทมี่ ีคุณสมบตั เิ ชนนี้ กค็ อื ความแพรหลาย ของประโยชนส ขุ มากยิ่งข้ึน

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓๑ ชีวิต งาน และธรรม: อิสรภาพภายในเอกภาพ เทา ทไี่ ดก ลา วมาในเรอื่ ง \"ชวี ติ นเ้ี พอื่ งาน และงานนเี้ พอื่ ธรรม\" ทงั้ หมด นี้ กเ็ ปน นยั หนง่ึ ของความหมาย แตถ า จะวเิ คราะหอ กี แบบหนง่ึ ชอ่ื หวั ขอ ท่ีตัง้ ไว ไดแ ยกชวี ติ กบั งานออกเปนคํา ๒ คํา เมื่อกี้เราไดดึงเอาชีวิตกับงาน มารวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันแลว แตถึงอยางนนั้ ในแงของความเปนจริง มันก็ยังเปน คําพดู คนละคํา ชีวติ ก็ เปนอันหนึ่ง งานก็เปนอนั หน่ึง เพยี งแตเ รามาโยงใหเปน เอกภาพ ทนี ้ี แงที่ชีวติ กับงานเปนคนละคํา ยังเปน คนละอยาง และยังมี ความหมายท่ตี า งกนั กค็ ือ งานน้นั มลี กั ษณะทจ่ี ะตอ งทํากนั เรอื่ ยไป ไมสนิ้ สุด ยงั ไมมคี วามสมบรู ณเสร็จสน้ิ ทีแ่ ทจ ริง เพราะวา งานนั้นสมั พนั ธกับ ความเปลีย่ นแปลงของกาลเทศะและของชุมชน สังคมมีความเปลยี่ นแปลงอยูเสมอ เมือ่ สงั คมเปล่ยี นแปลงไป งาน ท่ีทําก็เปลี่ยนแปลงไปดวย เพราะฉะน้ันงานจะไมมีความสมบูรณเสร็จสิ้น ตองมกี ารเปลยี่ นแปลงตอไปตามสภาพแวดลอ มของสงั คม แตชวี ิตของคนมี ความจบส้นิ ในตวั จะไมไปกับงานตลอดไป อนั นี้ก็เปนอกี แงห นง่ึ ตามท่พี ูดไปแลว แมว า ชีวิตกบั งานจะเปน เอกภาพกันไดแ ลว แตใ น แงห นึง่ กย็ งั มีความตาง อยา งทวี่ า งานสาํ หรับสังคมนี้คงดาํ เนนิ ตอ ไป แตชวี ติ ของคนมีการจบสน้ิ ได และจะตอ งจบส้ินไป แมว า เราจะไมสามารถทําใหงานมีความสมบูรณเสรจ็ สนิ้ แตชีวิต ของคนเราแตล ะชวี ติ เราควรจะทําใหสมบรู ณ และชวี ติ ของเราในโลกน้ีเราก็ สามารถทาํ ใหสมบรู ณไ ดดว ย ทาํ อยางไรจะใหส มบูรณ

๓๒ เลาเรยี น-ทาํ งานกันไป ชีวติ ไดอ ะไร ในทางพระพุทธศาสนาไดแสดงหลกั เก่ยี วกับจดุ หมายของชวี ิตไว ๓ ขนั้ วา ชีวิตทเ่ี กดิ ขึ้นมานนั้ แมว ามนั จะไมม ีจุดหมายของมันเอง เรากค็ วรทาํ ใหมจี ดุ หมาย เราอาจจะตอบไมไดวา ชีวิตน้เี กิดมามีจุดมงุ หมายหรือไม เพราะ เมอื่ วา ตามหลักธรรมแลว ชวี ติ นเ้ี กดิ มาพรอ มดว ยอวชิ ชา ชีวิตไมไดบอกเราวามันมีจุดมุงหมายอยางน้ันอยางน้ี แตเราก็ สามารถตง้ั ความมุง หมายใหแกม นั ได ดว ยการศกึ ษาและเขา ใจชวี ิต ก็มอง เห็นวา ชวี ติ นจี้ ะเปนอยูดี จะตองมีคุณภาพ จะตองเขา ถงึ ส่ิงหรอื สภาวะทม่ี ี คุณคา หรอื เปน ประโยชนแกมนั อยา งแทจรงิ ดว ยเหตุน้ี ทางพระจงึ ไดแสดงไวว า เมอ่ื เกดิ มาแลว ชวี ิตของเรา ควรเขา ถึงจุดหมายระดับตา งๆ เพ่อื ใหเ ปนชวี ติ ทส่ี มบรู ณ ซ่ึงเปน เรือ่ งทีเ่ รา จะตองทาํ ใหแ กชวี ติ ของเราเอง ใหมนั มีใหม นั เปนไดอยา งนั้น ประโยชนห รือจุดหมายนี้ ทา นแบงเปน ๓ ขน้ั จดุ หมายท่หี นึ่ง เรยี กวา จุดหมายที่ตามองเหน็ จดุ หมายของชีวติ ทตี่ ามองเหน็ โดยพ้นื ฐานท่ีสดุ กค็ ือ การมรี ายได มีทรัพยส นิ เงนิ ทอง มี ปจจยั ๔ พอพงึ่ ตัวเองได การเปน ที่ยอมรับและอยูร ว มกับคนอ่ืนได เรอ่ื งผลประโยชนแ ละความจาํ เปน ตา งๆ ทางวตั ถแุ ละทางสงั คมเหลา น้ี ชวี ติ ของเราจาํ เปน ตอ งพงึ่ อาศยั เราปฏเิ สธไมไ ด พดู งา ยๆ กค็ อื การพ่ึงตวั เอง ไดใ นทางเศรษฐกิจและสังคม เปน หนาทข่ี องเราท่จี ะตองทําใหเ กดิ ใหมี ทุกคนควรท่จี ะตองพจิ ารณาตวั เองวา ในขนั้ ทหี่ น่ึง เกยี่ วกบั การมี ทรพั ยท จี่ ะใชส อย มปี จ จยั ทพ่ี ออยไู ด การมคี วามสมั พนั ธท ดี่ กี บั ผอู นื่ ในสงั คม เร่ืองของความอยูดี พึ่งตนเองไดในทางเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงเปน ประโยชนท ี่ตามองเหน็ นี้ เราทําไดแ คไหน บรรลุผลไหม นค่ี ือขนั้ ท่หี นง่ึ ที่ทาน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๓๓ ใหใ ชเ ปนหลกั วัด ตอไปขนั้ ท่ีสอง จดุ หมายทีเ่ ลยตามองเห็น หรือประโยชนซ ่งึ เลย ไกลออกไปขางหนา เลยจากที่ตามองเหน็ ซงึ่ รวมถึงเลยจากโลกน้ีไปดวย ก็ คือดา นในหรอื ดานจิตใจ หมายถงึ การพฒั นาชีวิตจติ ใจ รวมท้งั การมคี วาม สุขในการทํางาน การมองเหน็ คณุ คาของงานในแงค วามหมายท่แี ทจริง วา เปนประโยชนตอเพอ่ื นมนษุ ยห รือเพอ่ื สันตสิ ขุ ความประพฤติสจุ ริต ความมี นา้ํ ใจพรอ มทจี่ ะสละจะทาํ จะใหเ พอื่ ประโยชนส ว นรวมและการชว ยเหลอื ตา งๆ คุณคา และคุณธรรมเหลาน้ี ซ่ึงทาํ ใหเ กดิ ความมั่นใจและเอบิ อิม่ ภาย ในจิตใจ ม่นั ใจถึงขนาดทว่ี าไมตอ งหวน่ั หวาดกลวั ภยั โลกหนา เปน ความสุข ที่ลกึ ซ้ึง เปนส่งิ ที่เลยจากตามองเห็น คนหลายคนแมจะมีประโยชนท่ีตามองเหน็ พรั่งพรอ มบริบูรณ แต ไมม คี วามสขุ ที่แทจ รงิ เลย เพราะพน จากท่ตี ามองเห็นไปแลว จิตใจไมพรอ ม ไมไ ดพฒั นาเพยี งพอ เพราะฉะนน้ั ตอ งมองวา ในสว นทม่ี องไมเห็น คือเลย ไปกวา นั้น ยงั มีอกี สว นหนึ่ง แลว สวนนนั้ เรามีแคไหนเพยี งไร สดุ ทา ย จดุ หมายทพ่ี น เหนอื โลก หรอื จดุ หมายทพ่ี น เปน อสิ ระ เรยี ก วา ประโยชนส งู สดุ คอื ประโยชนเ หนอื ทง้ั ทตี่ ามองเหน็ และทเี่ ลยจากตามองเหน็ ประโยชนในขนั้ ทีส่ องนนั้ แมจะเลยจากทต่ี ามองเหน็ ไปแลว กย็ งั เปนเพียงเร่ืองนามธรรมในระดับของความดีงามตา งๆ ซึง่ แมจะสูง แมจ ะ ประเสริฐ ก็ยังมีความยึดความติดอยูในความดีความงามตางๆ เหลานั้น และยังอยูในขายของความทุกข ยงั ไมพ นเปนอิสระแทจ รงิ สวนจุดมุงหมายขั้นสุดทายน้ี ก็คือการอยูเหนือส่ิงเหลาน้ันข้ึนไป คือความเปนอิสระโดยสมบูรณ ซ่ึงทางพระพุทธศาสนาถือวา ความเปน อสิ ระโดยสมบูรณเปน จดุ มงุ หมายท่ีแทจริงของชวี ิต

๓๔ เลาเรียน-ทาํ งานกันไป ชวี ติ ไดอ ะไร ตอนน้ี แมแ ตงานทวี่ าสาํ คญั เราก็ตองอยเู หนอื มัน เพราะถงึ แมว า งานกบั ชีวติ ของเราจะเปนอันหน่งึ อันเดียวกนั แตตราบใดทเี่ รายงั มคี วามติด ในงานนัน้ อยู ยงั ยึดถือเปน ตวั เรา เปนของเรา งานแมจ ะเปนสิ่งท่ีดีงาม มี คณุ คา เปนประโยชน แตเ รากจ็ ะเกดิ ความทุกขจ ากงานนน้ั ได มันยังอาจจะ เหน่ยี วร้งั ใหเ ราเอนเอยี งได จึงจะตอ งมาถงึ ขนั้ สุดทา ยอีกขนั้ หนึง่ คอื ความ หลดุ พนเปน อิสระโดยสมบูรณ อยเู หนอื ส่งิ ทัง้ ปวง แมแตสิ่งที่เรยี กวา งาน ในข้ันนเ้ี ราจะทาํ งานใหดีทีส่ ดุ โดยท่จี ิตใจไมต ิดคางกังวลอยูกับงาน ไมวาในแงท่ีตัวเราจะไดผ ลอะไรจากงานนัน้ หรือในแงวางานจะทําใหตวั เรา ไดเปน อยา งนัน้ ๆ หรือแมแตในแงวา งานของเราจะตองเปนอยางนน้ั ๆ การมองตามเหตุปจจัยน้ันเปนตัวตนทาง ท่ีจะทําใหเรามาถึงข้ันน้ี ในเวลาท่ที าํ งาน เราทาํ ดว ยความตง้ั ใจอยา งดีทส่ี ดุ มุงแนว เดด็ เด่ียววา ตอ ง ใหสัมฤทธ์ิผลบรรลุจุดหมายนั้นๆ แตพรอมกันน้ันก็มีทาทีของจิตใจที่ ตระหนักรูถึงความเปนไปตามเหตปุ จ จยั ทาํ การใหต รงเหตปุ จจัย มองไป ตามเหตปุ จจยั ถางานนน้ั มนั เปนไปตามเหตุปจ จยั มนั กเ็ ปน เรื่องของเหตุ ปจ จยั ท่ีจะใหเ ปนไป ไมใ ชเ รื่องของตวั เราทจ่ี ะเขาไปรับกระทบ เขาไปอยาก เขาไปยดึ หรือถือคา งไว เรามีหนา ทแี่ ตเพียงทําเหตุปจจยั ใหดที ี่สดุ ดว ยความรทู ีช่ ดั เจนทส่ี ดุ มแี ตต ัวรู คอื รวู า ท่ดี งี ามถกู ตอ งหรือเหมาะควรเปนอยางไร รูวาเหตปุ จ จยั ที่ จะใหเปน อยา งนั้นคอื อะไร แลวทาํ ตามทรี่ ู คอื ทําเหตปุ จจยั ทีร่ วู า จะใหเกดิ ผลเปนความดงี ามถกู ตองเหมาะหรอื ควรอยา งน้นั เมื่อทําเหตปุ จ จยั แลว มนั กเ็ ปนเรือ่ งของเหตุปจจัยนนั้ แหละทจี่ ะทาํ ใหเกิดผลขน้ึ มา เราหมดหนาทแ่ี คน ั้น ไมต อ งมายงุ ใจนอกเหตุปจจัย ไมตอง ไปอยากไปยดึ ตอนนี้ใจของเรากเ็ รียกวา ลอยพน ออกมาไดส วนหน่ึง

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓๕ เม่ือใดเราเขาถึงความจริงโดยสมบูรณแลว จิตใจของเราก็จะเปน อิสระอยางแทจริง ซงึ่ ทาํ ใหท าํ งานนน้ั ไดผลสมบูรณ โดยท่พี รอมกนั นนั้ ก็ไม ทําใหตัวเราตกไปอยูใตความกดทับ หรือในการบีบค้ันของตัวงานน้ันดวย แตเ รากส็ ขุ สบายโปรงใจอยตู ามปกติของเรา อันน้เี ปน ประโยชนสูงสุดในขั้น สุดทาย ถา สามารถทําไดอยางนี้ ชีวิตกจ็ ะมีความสมบรู ณใ นตัว ดังไดก ลา วแลว วา งานไมใชเปนตวั เรา และกไ็ มใชเปน ของเราจรงิ แตง านนั้นเปนกิจกรรมของชวี ิต เปน กิจกรรมของสงั คม เปน ส่ิงท่ชี ีวติ ของ เราเขาไปสมั พันธเ ก่ียวขอ ง แลว กต็ องผา นกนั ไปในท่สี ดุ งานน้ันเราไมสามารถทาํ ใหสมบูรณแทจรงิ เพราะมันขนึ้ กับผลทมี่ ี ตอสง่ิ อื่น ขน้ึ กบั ปจ จยั แวดลอ ม กาลเทศะ ความเปลยี่ นแปลงของสงั คม คน อื่นจะตอ งมารับชว งทํากันตอไป แตชวี ติ ของเราแตล ะคน เปน สิง่ ทที่ าํ ใหสมบูรณได และเราสามารถ ทําใหสมบูรณไ ดแ มแ ตด ว ยการปฏบิ ตั ิงานน้แี หละอยา งถกู ตอง เมื่อเราปฎิบัติตองานหรือทํางานอยางถูกตอง มีทาทีของจิตใจตอ งานถูกตอ งแลว ชีวิตกจ็ ะเปน ชวี ติ ทส่ี มบูรณใ นตัวในแตละขณะน้นั นั่นเอง นี่ คอื ประโยชนในระดบั ตา งๆ จนถึงขั้นสงู สุดทท่ี างธรรมไดสอนไว รวมความวา ภาวะทีช่ ีวิต งาน และธรรม ประสานกลมกลนื เขา ดวย กันเปน หนึ่งเดยี ว หรือเอกภาพ ทีก่ ลาวมานั้น เมือ่ วเิ คราะหลงไปแลว ยงั แยกไดเปน ๒ ระดับ ในระดับหนง่ึ แมวา ในเวลาทํางาน ชีวติ จะเต็มอิ่มสมบรู ณใ นแตละ ขณะนนั้ ๆ ทุกขณะ เพราะชวี ิตจิตใจกลมกลนื เขา ไปในงานเปนอันเดียวกนั พรอมทง้ั มีความสุขพรอมอยูดว ยในตัว แตล กึ ลงไปในจิตใจ ก็ยงั มีความยึด ติดถอื มั่นอยวู างานของเราๆ พรอ มดว ยความอยากความหวงั ความหมายมน่ั

๓๖ เลา เรียน-ทาํ งานกนั ไป ชวี ติ ไดอะไร และความหวาดหว่นั วา ขอใหเ ปนอยางน้นั เถิด มนั จะเปน อยางนน้ั หรอื ไม หนอ เปนตน จึงยังแฝงเอาเช้ือแหง ความทกุ ขซอนไวล ึกซ้งึ ในภายใน ขัน้ น้ียังเปน เอกภาพทมี่ ีความแยกตา งหาก ซงึ่ สิง่ ทตี่ า งหากกันเขา มา รวมกนั มตี ัวตนท่ีไปรวมเขากบั สงิ่ อ่นื หรือฝง กลืนเขาไปในส่งิ นนั้ ในงานน้ัน ซึ่งเมอื่ มีการรวมเขา ก็อาจมกี ารแยกออกไดอ ีก สวนในอีกระดบั หนงึ่ ความประสานกลมกลืนของชีวิตจิตใจกับงาน ที่ทํา เปน ไปพรอ มดว ยความรเู ทาทนั ตามความเปน จริงในธรรมชาติของชวี ติ และการงานเปน ตน ที่เปน ไปตามเหตปุ จจัย โดยไมต องอยากไมตอ งยึดถือ สาํ คัญมนั่ หมาย ใหนอกเหนอื หรอื เกินออกไปจากการกระทําตามเหตุผล ดวยความต้ังใจและเพยี รพยายามอยา งจรงิ จัง ข้นั นเี้ ปนภาวะของอิสรภาพ ซึ่งเอกภาพเปนเพียงสาํ นวนพดู เพราะ แทจรงิ แลว ไมมอี ะไรแยกตา งหากท่จี ะตองมารวมเขาดว ยกนั เนือ่ งจากไมมี ตัวตนที่จะเขาไปรวมหรือแยกออกมา เปนเพียงความเปนไปหรือดําเนินไป อยา งประสานกลมกลนื ในความสัมพันธข องสง่ิ ท้งั หลาย ทแี่ ทกค็ อื ความโปรงโลงเปน อสิ ระ เรียกวาภาวะปลอดทุกขไรปญ หา เพราะไมม ีชอ งใหความคับขอ งตดิ ขัดบีบคน้ั เกิดข้ึนไดเ ลย ฉะนน้ั พงึ เขา ใจวา ภาวะทชี่ วี ติ งาน และธรรม ประสานกลมกลนื เขา เปน หนงึ่ เดยี ว ดงั ไดก ลา วมากอ นหนา นี้ ซงึ่ ผทู าํ งานมชี วี ติ เตม็ สมบรู ณเ สรจ็ สน้ิ ไปในแตล ะขณะ ทเี่ ปน ปจ จบุ นั นนั้ วา ทจี่ รงิ แลว เมอื่ ถงึ ขนั้ สดุ ทา ย กต็ รง กนั กบั ภาวะของการมชี วี ติ ทเี่ ปน อสิ ระอยพู น เหนอื งาน ทก่ี ลา วถงึ ในทนี่ นี้ น่ั เอง ท้ังน้ีเพราะวา ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันน้ัน หมายถึงความ สมั พนั ธท ก่ี ลมกลนื เสร็จสิ้นผา นไปในแตละขณะ ไมใ ชเ ปนการเขา ไปยึดตดิ ผูกพันอยูด วยกัน ซงึ่ แมจ ะอยใู นขณะเดยี วกนั กก็ ลายเปน แยกตา งหาก จงึ มา

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓๗ รวมหรอื ยดึ ตดิ กนั แตในภาวะท่ีเปน เอกภาพอยา งสมบรู ณแทจริง ผูทท่ี ํางาน มีชีวติ เปน งาน และมีงานเปนชวี ติ ในขณะน้ันๆ เสร็จสิน้ ไป โดยไมมีตัวตนทจ่ี ะแยก ออกมายึดติดในขณะนั้น และไมมีอะไรคางใจเลยไปจากปจจุบัน จึงเปน อิสรภาพในทามกลางแหง ภาวะทเี่ รียกวา เปน เอกภาพนนั้ ทีเดียว เปน อันวา ชวี ติ นเี้ พอื่ งาน งานนเี้ พอื่ ธรรม และลกึ ลงไปอกี ชวี ิตนี้ก็ เปนงาน และงานนี้ก็เปนธรรม และชวี ติ กเ็ ปนธรรมเองดวย จนกระทัง่ ในที่ สุด ชวี ิตนี้ก็มาถงึ ข้นั สดุ ทาย คอื เปน ชวี ติ ที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกับงาน แตก ็ เปน อิสระอยพู น เหนอื แมแตง าน ก็เปนอันวา ถึงความจบส้ินสมบูรณ ถาถึงขั้นนี้ก็เรียกวาเปน ประโยชนสงู สดุ ในประโยชนส ามขน้ั ทเี่ ราจะตองทาํ ใหได พระพทุ ธศาสนาบอกไววา คนเราเกดิ มาควรเขาถงึ ประโยชนใหครบ สามข้นั และประโยชนท ั้งสามข้ันนแ้ี หละคอื เคร่อื งมือ หรอื เกณฑม าตรฐานท่ี ใชว ัดผลของตนในการดาํ เนนิ ชวี ติ ถาเราดาํ เนินชีวิตของเราไปแลว คอยเอาหลักประโยชน หรอื จุด หมายสามขนั้ น้ีมาวัดตวั เองอยเู สมอ เรากจ็ ะเหน็ การพัฒนาของตวั เราเอง ไมวาเราจะมองชีวิตเปน การพฒั นาตนเอง หรือเปน การสะสมสรา ง สรรคค วามดีก็ตาม หลักประโยชนสามข้ันน้ีสามารถนาํ มาใชไดเสมอไป ใชไ ด จนถงึ ขน้ั สมบรู ณเ ปน อสิ ระ จบการพฒั นา อยพู น เหนอื การทจี่ ะเปน ทกุ ข แม แตเ พราะความดี