การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ในการทํางาน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)
หนาขอ มลู (ใชตามที่วดั สง ใหในการพิมพใ หมท ุกคร้งั )
หนาอนุโมทนา/คำปรารภ (ใชต ามทว่ี ดั สงใหใ นการพมิ พใ หมทุกคร้งั )
สารบัญ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทํางาน................................. ๑ สันโดษไมดี ไมสันโดษจึงดี ...............................................................๒ ความไมส ันโดษ ทเี่ ปนพระจรยิ าวตั รของพทุ ธเจา................................๙ ความอยากทด่ี ี............................................................................... ๑๒ อิทธิบาท ๔: ทางแหงความสําเรจ็ .................................................... ๑๓ ฉันทะทาํ ใหข ยนั ตณั หาทําใหข ี้เกยี จ................................................ ๑๗ สนั โดษท่ีถูกตอ งมธี รรมฉนั ทะ ........................................................ ๒๔
การเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ในการทํางาน เรื่องการเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทํางานนี้ ความจริงก็เปน เร่ืองท่ีมีชือ่ แบบสมยั ใหม ถาจะจับเขากบั หลกั ธรรมะ กย็ งั นึกไมช ดั วา คาํ วา “ประสิทธิภาพ” นี่จะแปลวา อะไรดี คําวา ประสทิ ธิ ก็หาตวั ศพั ทใ นภาษาบาลไี ดอ ยู แตก ไ็ มใ ชเ ปน คําแบบดั่งเดมิ ทีใ่ ช คอื เอา รูปศพั ทมาประกอบกนั คําวา สิทธิ กแ็ ปลวา ความสาํ เร็จ ถาเติม ‘ป’ เขา ไปขางหนา ก็เปน ‘ปสทิ ธ’ิ แปลวา ความสาํ เรจ็ ทวั่ แลว กม็ ี ภาพ หรอื ภาวะเขา ไป ภาวะแหงความสาํ เรจ็ ทั่ว หรือภาวะท่ีทาํ ให สาํ เร็จผลอยา งดอี ะไรทํานองนี้ แตน่กี เ็ ปน การพูดเชือ่ มโยงไปทาง ภาษาบาลนี ดิ หนอ ยเทา น้นั เอง ความเปนจรงิ ความหมายทว่ั ๆ ไป กเ็ ขา ใจกันอยแู ลว อยางท่ีไดกลาวมาแลววา เรื่องท่ีจะพูดตอไปน้ี คือ เรื่อง ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน จึงอยากจะโยงเรอื่ งประสิทธภิ าพนไ้ี ปถึง พระพทุ ธเจา พดู ถงึ ประสทิ ธภิ าพการทาํ งานของพระพทุ ธเจา เพราะ ตอนนี้จะพูดถึงธรรมะของพระองคที่ใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การทาํ งาน กต็ อ งแสดงใหเ หน็ วา พระพทุ ธเจา นน้ั ทรงมปี ระสทิ ธภิ าพ
๒ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทํางาน ในการทาํ งานมาก ชีวิตของพระองคเปนตัวอยา งของการทาํ งาน อยา งมีประสทิ ธิภาพ เมอ่ื พระองคม ีประสิทธภิ าพในการทํางาน แลว คําสัง่ สอนของพระองคทว่ี า จะชว ยใหม ปี ระสทิ ธภิ าพในการ ทํางานนัน้ จงึ จะนาเชือ่ จรงิ เพราะฉะนัน้ จะเริ่มดว ยขอความที่ แสดงวา พระพทุ ธเจาทรงมีประสิทธิภาพในการทํางาน ในแงทีเ่ ปน ประวตั ิของพระองคเองอยางไรกอ น หรอื วา พระพทุ ธเจาตรัสไว เกยี่ วกบั ผลสาํ เร็จแหงงานของพระองคอ ยา งไร สนั โดษไมด ี ไมส ันโดษจงึ ดี งานของพระพทุ ธเจาอยางแรกท่ีสุด กค็ อื การตรัสรู อะไรทาํ ใหพระองคไดตรสั รู พระองคไดท าํ งาน คอื มคี วามเพียรพยายาม อยา งมปี ระสิทธภิ าพจนประสบความสําเร็จใหตรสั รู บรรลสุ มั มา- สัมโพธญิ าณเปน พระพุทธเจาได และพระองคก็เคยตรัสไว จงึ จะ ขอยกความจากพระสตู รโดยตรง มคี วามตอนหนงึ่ วา “ภิกษทุ ัง้ หลาย เรารูชดั ถึงคุณ (คุณน้ีหมายถงึ คุณ คาก็ได) ของธรรม ๒ ประการ คอื ความเปน ผไู ม สันโดษในกศุ ลธรรมท้ังหลายหนง่ึ ความเปน ผูท ํา ความเพยี รไมร ะยอ ทอ ถอยหนงึ่ ดงั ทเ่ี ปน มา เราตง้ั ความเพยี รไวไ มยอ หยอ นวา จะเหลือแตห นัง เอน็ กระดูก ก็ตามที แมเ นือ้ และเลอื ดในสรรี ะเหอื ดแหง ไปกต็ าม หากยงั ไมบรรลผุ ลท่ีบคุ คลพึงบรรลดุ ว ย เรีย่ วแรง ความเพียรความบากบั่นของบุรษุ แลว จะ ไมหยดุ ความเพียรเสยี
สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓ ภกิ ษุทงั้ หลาย โพธญิ าณเราบรรลดุ ว ยความไม ประมาท ธรรมอนั เปนเคร่ืองปลอดโปรงรอดพนจาก เคร่ืองผกู พนั เราบรรลแุ ลวดวยความไมป ระมาท” น่ีเปนขอความสําคัญในพระสูตรตอนหนง่ึ ทมี่ าในองั คุตตร- นิกาย ตอ จากนพี้ ระองคไดต รสั เตอื นแนะนาํ พระภกิ ษุท้งั หลาย ให บําเพญ็ เพยี รตามอยางท่พี ระองคไ ดเคยทรงมาแลว ขอความตอนน้ีอาจจะไมใชแสดงคุณธรรมท้ังหมดที่พระ พุทธเจา มี ท่ีทําใหพระองคม ปี ระสิทธิภาพในการทาํ งาน แตก็กลา ว ไดว าเปนพน้ื ฐานสําคัญ จุดที่อยากจะชี้ลงไปเพ่ือทําใหเกิดความสะดุดใจเปนท่ี สงั เกตก็ตรงท่ีวา “ความเปนผไู มส นั โดษในกศุ ลธรรมทงั้ หลาย” อัน นเี้ ปน เร่ืองท่ีตอ งการเนน สว นอันทสี่ องวา ความเปน ผูทาํ ความ เพยี รไมร ะยอ ทอ ถอย อนั นเี้ ปนเร่ืองธรรมดา คือ เร่ืองความเพยี ร น้นั เราก็ทราบกนั อยแู ลว วาเปน หลกั สาํ คญั แตท ีนค้ี วามไมสันโดษ นี่ บางทา นอาจรูส กึ แปลกหรอื ขัดหูหนอย เคยไดย นิ วา ความ สนั โดษนเี่ ปน คุณธรรมสําคัญ มาตอนนพ้ี ระพุทธเจาตรัสวา “คุณธรรมอยา งหน่ึง และเปน ขอ แรกดว ยที่ทําให พระองคต รสั รู คือความเปนผไู มสนั โดษ แตไ มใช สนั โดษเฉยๆ ไมสันโดษในกุศลธรรมทงั้ หลาย” ทีต่ องการชกี้ ค็ อื วา เราเคยนึก เราเคยไดยนิ และพดู กนั มากเรื่องความสนั โดษ กถ็ ือเปน คุณธรรมใหญอ ยา งหนึ่ง แลว เราก็ จะเห็นนกั ธรรมะพดู วา ความไมส ันโดษนีเ่ ปนส่ิงทผ่ี ดิ ไมใชคุณ ธรรม เปนอกศุ ล แตคราวนี้ช้ีมาทางตรงกนั ขาม ถาหากทานไมเคย
๔ การเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน ไดยนิ ก็ตอ งทาํ ใหเกดิ เปนความสงสยั ขึ้นมากอน จะไดม าชวยกนั ชี้ แจงใหเ กิดความชัดเจนตอ ไป เรามาพดู วาความไมสนั โดษกลาย เปน สง่ิ ดีไปแลว พระพุทธเจาเองตรสั วา พระองคไมส ันโดษจึงได ตรสั รู ทนี ้ี ตอไปจะไดพดู ถึงวา พระพทุ ธเจา ตรสั วา ความสันโดษ นี่ไมดี จะใหแปลกใจโดยสรางความฉงนสนเทหกอ น ก็อา งพุทธ- พจนอ ีกแหงหน่ึงท่ีตรสั วา “ดูกอ นนันทิยะ อยางไรอรยิ สาวกชื่อวาเปนอยู ดว ยความประมาท? อรยิ สาวกนนั้ สนั โดษดว ยความเลอื่ มใสอนั มน่ั คง ในพระพทุ ธเจา ในพระธรรม ในพระสงฆ สนั โดษ ดว ยศีลท่อี รยิ ชนยอมรับ ยอมไมเ พียรพยายามใหย่ิง ข้ึนไป…” แลว พระองคก บ็ รรยายตอไป จนในทสี่ ดุ ตรัสวา “… เม่อื เปน เชนนี้ อริยสาวกน้ันก็จึงไมม ปี ญญา รเู ขา ใจธรรมะทั้งหลาย” อันนส้ี ันโดษไมดเี สียแลว น่คี อื ส่ิงทีต่ อ งการชใี้ หเ ห็นแตต น วา มันอาจจะกลบั กันกบั ทเ่ี คยพูดกนั มาวา สันโดษน่ีเปน คุณธรรม สาํ คญั ทดี่ ี ถา ไมส นั โดษละกผ็ ดิ ธรรมะ แตใ นทน่ี พ้ี ระพทุ ธเจา ตเิ ตยี น ความสนั โดษ และทรงยกยอ งความไมส ันโดษ และยกยอ งในฐานะ เปน คณุ ธรรมทีท่ ําใหพ ระองคต รสั รูเสยี ดว ย เพราะฉะนั้นจงึ เห็นวา เรอื่ งน้เี ปน เร่ืองทน่ี าศกึ ษา
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๕ ในวงการศกึ ษาธรรมะน้นั อาจมีจดุ พลาดตรงนี้ คอื พดู กัน ไมท ั่วถงึ ไมร อบดาน เมื่อศึกษาไมร อบดานกจ็ ะเกดิ ความผดิ พลาด ข้ึนไดส องแง ฝา ยหนงึ่ กจ็ ะพดู วาสันโดษ น่เี ปนคณุ ธรรมหรอื หลกั ธรรมท่ีไมด ี ทําใหเ กิดผลรา ย เมอื่ คนท้งั หลายมคี วามสนั โดษ ก็ทาํ ใหงอมืองอเทา ไมอยากขวนขวายเพยี รพยายามทาํ สิง่ ท่ีควรทํา ไม อยากสรางตวั สรางหลักฐาน เปน ตน ถา มองในแงพ ัฒนาประเทศชาติ ก็ทาํ ใหประเทศชาติไม พัฒนาหรอื ดอ ยพัฒนา อะไรอยา งนี้ นกี่ เ็ ปน ฝายหนึง่ ซง่ึ ก็เคยมแี ม แตทา นผูใ หญท ีเ่ คยแนะนําวา ไมใหพระสอนสันโดษ เพราะทา น เหน็ วา สันโดษน้เี ปนหลักธรรมทีเ่ ปน อุปสรรคตอ การพัฒนาประเทศ ทนี ้ี อีกฝา ยหน่ึงก็พดู ถงึ แตเรอ่ื งความสันโดษ จะตอ ง สนั โดษเทานั้นจงึ จะดี จึงจะถูกตอ ง ไมสนั โดษเปน ผดิ พลาดหมด สองฝายนี้หาจดุ ยตุ ิไมไดกข็ ดั กัน เพราะฉะนัน้ จึงนา จะมีการศึกษา ใหถ อ งแทวา พทุ ธประสงคเ ปนอยางไรในเร่อื งความสนั โดษ และ ไมส นั โดษนี้ สรุปความที่ยกพุทธพจนมากลาวเม่ือตะกี้ก็ใหเห็นวา ความไมส นั โดษนเี้ ปน คณุ ธรรมอยา งหนึง่ สวนสนั โดษนนั้ กม็ ีหลัก ฐานอยใู นท่ีอื่นแนน อนแลว กเ็ ปนคณุ ธรรมเชนกัน เปน อันวาความ สันโดษเปนคุณธรรมขอหน่ึง ความไมสนั โดษเปนคณุ ธรรมอีกขอ หนึง่ ทําใหเกิดขอ สงสยั วาจะเปน ไดอ ยา งไร...สันโดษก็เปน คุณ ธรรม ไมส นั โดษกเ็ ปนคณุ ธรรม เปน คณุ ธรรมทงั้ คูไดอ ยา งไร? ในทางตรงกันขา มก็บอกวา ความสันโดษกเ็ ปน อกศุ ลธรรม เปน สงิ่ ทไี่ มด ี เปน สงิ่ ทผ่ี ิด เปน ขอ ปฏิบตั ทิ ผี่ ิด ความไมสนั โดษก็
๖ การเพิ่มประสทิ ธิภาพในการทํางาน เปนสง่ิ ทีผ่ ิดเหมือนกนั ผดิ ทั้งคูอ ีก มีถูกท้งั คู และผดิ ท้ังคู ยง่ิ นา สงสยั ไปใหญ จะขอขยายความนดิ หน่ึง คอื ใหสังเกตวาเวลาตรสั วา สันโดษหรือแมจะตรสั วาไมส ันโดษกต็ าม จะไมไ ดตรัสแตเ พียงถอย คําลอยๆ แคนัน้ มันจะตอ งมอี ะไรตามมาอกี อันนแ้ี หละคอื จุดทีว่ า ถา จะพลาดกพ็ ลาดตรงน้ี ท่ีพระพทุ ธเจา ตรสั วา พระองคเ ห็นคณุ คาของธรรมสองประการ ขอแรกก็คอื ความไมสันโดษ ทท่ี ําใหพระ องคตรัสรนู ะ พระองคต รัสตอ ไปวา ความไมสันโดษในกุศลธรรม ทงั้ หลาย ไมส ันโดษในสิง่ ทีด่ ีงาม ส่ิงทีถ่ กู ตอง ส่ิงทเ่ี กอื้ กลู เอาละ...น่กี เ็ ปน แงท่หี นงึ่ ความไมส ันโดษทีเ่ ปน คุณธรรม ในเม่ือตามมาดว ยคําวาในกุศลธรรมท้งั หลาย ไมสันโดษในกุศล ธรรมท้ังหลาย แลวก็เปนสง่ิ ทีด่ งี ามชอบธรรม เปนคณุ ธรรมสําคญั ถาหากวาสันโดษอยางที่อรยิ สาวกเมอื่ ก้ี สนั โดษดวย ศรัทธา สันโดษดว ยศลี สนั โดษในกรณีน้ีคอื สันโดษในกุศลธรรม พอใจแลว มคี ณุ ธรรมแคน ้มี คี วามดีงามแคน ้ี พอแลว อยางน้ีเปน อกุศลเปน ส่ิงท่ีไมถูกตอ ง ทานเรยี กวาเปน ความประมาท เราจะ เห็นชัดวา ในทั้งสองกรณีน้ี ความสนั โดษและความไมส ันโดษจะ เกยี่ วเนอื่ งกบั ความประมาทและความไมประมาท ความไมสันโดษในกุศลธรรมก็มาคูกับความไมประมาท คอื เม่อื ไมสันโดษในกศุ ลธรรม แลว กไ็ มประมาท ก็จะเพยี ร พยายามสรา งบําเพญ็ สงิ่ ที่ดีงามนั้นใหยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป ทีน้ี สันโดษ ถา สนั โดษในกุศลธรรม คดิ วาแคนัน้ พอแลว ก็ทาํ ใหเกดิ ความ
สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗ ประมาทคอื ไมคดิ ปรับปรงุ ตวั เอง ไมคดิ แกไข ไมค ิดพยายามสรา ง สรรคเรง รดั ตนเองใหกาวหนา ทีน้ี ทวี่ าสันโดษเปนคณุ ธรรม เปนสง่ิ ทด่ี ี สนั โดษอยางไร ก็ จะมพี ทุ ธพจนตรสั ตอไปอีกเหมอื นกนั อาจจะไมไดส งั เกต ในพุทธ พจนท ่ีตรสั เรอื่ งสันโดษ เรียกวาทกุ แหง ถา ไมใชค าถา ถา เปน คาถา บางทีขอ ความถอยคํามันจํากดั เติมอะไรไมไ ด กจ็ ะมแี ตตัวหวั ขอ ธรรมะ แตถาเปนความรอ ยแกวแลว พระพทุ ธเจา กต็ รัสเสมอเลยที เดยี ววา “ภกิ ษเุ ปนผสู ันโดษดวยจวี ร ดว ยบณิ ฑบาต ดวยเสนาสนะ ดว ยคิลานปจ จยั เภสชั บรขิ าร” นีช่ ัดเลย แลวกย็ งั ตรัสตอ ไปอกี วา “เธอเหมอื นอยางนกที่มีแตป ก บินไป ตองการจะไปทไี่ หน เมอื่ ใด กไ็ ปไดเองทันที” พทุ ธพจนน ้ี ถาหากวาอานใหจบ จะเหน็ ชัดถึงความหมาย วา สันโดษคืออะไร และมีความมุงหมายอยทู ไ่ี หน และถาเขาใจ อยา งน้ี ก็จะเห็นทนั ทวี าความสันโดษกับความไมส นั โดษนม่ี ันไป กนั ไดดวย ความสนั โดษนั่นแหละคือเปน เบ้อื งตน ของความไม สันโดษ หรอื เปน ตัวเก้อื หนนุ ความไมสนั โดษ แตจ ะตองจบั ใหถ กู ทนี ี้ สันโดษทเ่ี ปน คุณธรรมน้นั คือ สนั โดษสาํ หรบั พระ ใน ปจ จัยสี่ ถาพูดอยางภาษาญาติโยมชาวบานกค็ อื สันโดษในวัตถุ สง่ิ ท่ีจะเอามาบรโิ ภคใชส อย หรืออาจจะพูดวา วตั ถุทปี่ รนเปรอ บาํ รุงบําเรออํานวยความสะดวกสบายตา งๆ ในแงน้นั ใหส ันโดษ แตทีนีเ้ มือ่ มีความสันโดษแลว เรามีความพอใจ รจู กั อ่มิ รจู กั พอใน ดานวัตถทุ ่จี ะมาบาํ รงุ บาํ เรอปรนเปรอตนเองแลว เราก็จะมีเวลา
๘ การเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการทาํ งาน และมกี ําลงั แรงงานเหลอื ที่จะเอาไปใชท ํากจิ หนา ท่ขี องเรา สง่ิ ที่ เปนกจิ ทเ่ี ปนการงานน้ันน่นั แหละเปนพวกกุศลธรรม พระพทุ ธเจากอ นท่จี ะตรสั รู เปนพระโพธสิ ัตว งานของพระ องคกค็ อื การทําหนา ทีแ่ สวงหาสัจธรรม จะตองใหต รสั รใู หได พระ พุทธเจา ไมทรงเอาใจใสเ ทา ไรวา พระองคจ ะสะดวกสบายเรื่อง ความเปน อยู นน่ั แสดงวา พระองคส ันโดษในเร่อื งวัตถุปจจยั สี่ แต ตอ จากนนั้ พระองคไมส นั โดษแลว คอื ทรงไมสนั โดษในการทจ่ี ะ บาํ เพ็ญกุศลธรรมหรอื ในการทจ่ี ะกาวหนาในการแสวงหาสจั ธรรม ประจักษพยานหลักฐานท่ีแสดงถึงการที่พระพุทธเจาไม สนั โดษอยา งไรนัน้ มีมากมาย ตอนแรกที่พระพุทธเจาทรงออก บรรพชา เสดจ็ ไปแสวงหาความรูกอน ไปสาํ นักอาฬารดาบส กาลามโคตร ตามพทุ ธประวัติวาอยา งนัน้ ไปศกึ ษาจนกระท่ังจบ ความรูอาจารย แลวพระองคไมพอพระทัยในผลสําเรจ็ น้นั อาจารย ชวนบอกวา ทา นนนี่ ะเรยี นเกง มากจบความรขู องขา พเจา แลว ในฐานะ ที่ทา นมสี ติปญ ญาดี ขอเชิญมาชว ยกนั ส่งั สอนอบรมศิษยต อไป พระพทุ ธเจา ไมท รงพอพระทยั ไมอ ม่ิ ไมสนั โดษดว ยผล สําเร็จน้ัน ถือวายังไมบรรลุจุดมุงหมายของพระองค พระองคก็ ขอลาจากสํานักอาฬารดาบส กาลามโคตร แลวก็เสด็จไปสํานัก อทุ ทกดาบส รามบตุ ร ท่มี ชี ื่อเสยี ง แลว กศ็ กึ ษาปฏบิ ัติจนกระทั่ง หมดภูมคิ วามรูของอาจารย เมอ่ื ประสบความสาํ เร็จนน้ั แลว อาจารยก ช็ วนอีกแหละวา เอาละทานกไ็ ดศกึ ษาจนหมดภูมขิ อง ขา พเจาแลว ตอแตน ไ้ี ป มารว มกนั เปนอาจารยส่งั สอนกุลบุตรรุน หลงั ตอ ไปเถดิ
สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙ พระพทุ ธเจา ก็ไมท รงพอพระทยั คือวา ยงั ไมบ รรลเุ ปา หมายท่ีต้งั ไวก ็ขอลาจากสาํ นักนั้นไปอีก แลวกไ็ ปทรงหาวิธีการ อยา งอนื่ ไปบําเพญ็ ทุกรกริ ิยา ไมเ หน็ วา จะประสบความสาํ เร็จ พระองคกค็ นควาตอ ไปจนกระท่ังไดเ ปนพระพุทธเจา แลวพระองค ก็มาตรสั วา เราเห็นคณุ คา ของธรรมสองประการ คือ ความไม สันโดษในกศุ ลธรรมทัง้ หลาย แลวก็บาํ เพ็ญความเพียรไมระยอ จงึ ไดต รสั รู ไมร ะยอนหี่ มายความวาถา มองเหน็ จุดหมาย แนใ จดวย เหตผุ ลวาจะสาํ เรจ็ ตามนท้ี างนี้ถูกตอง ทําใหไ มกลวั ตายอยา งทวี่ า เม่ือก้นี ้ีวา ตอนที่ประทบั นัง่ ตัง้ พระทยั เลยวา เอาละ...ถา ยงั ไม บรรลุโพธิญาณแลว แมเลือดเน้อื จะเหือดแหง ไป เหลือแตเ สน เอ็น กระดูก พระองคก็จะไมยอมลุกข้ึน น่ีเปนความเด็ดเดี่ยวของพระ ทัย นเ่ี ปน ตัวอยางของความไมสนั โดษเปน เรือ่ งท่ไี มนาจะมองขา ม ความไมสนั โดษ ท่ีเปนพระจรยิ าวตั รของพุทธเจา คุณธรรมคือความไมสนั โดษนี้ ควรจะไดร บั การเนน และยก ยอ งในหมูพุทธศาสนิกชนไดมาก แตตองเปนความไมส นั โดษท่ีถกู ตองตามหลกั พทุ ธศาสนา เพราะเปน พระจรยิ าวัตรของพระพุทธ เจาทเี ดยี ว ทีนี้ ถา เรามองความไมส นั โดษเปน ธรรมสําคัญ เราจะเหน็ วาความสันโดษในเรื่องส่ิงบริโภคท่ีจะเอามาบํารุงบําเรอตัวเอง หมายความวา เอากิจหนาที่การงานวัตถปุ ระสงคทด่ี ีงามนีเ้ ปน ใหญ สว นการดําเนินชวี ิต การมีปจ จยั สี่อะไรตา งๆ นั้น เปน เพยี ง
๑๐ การเพิ่มประสิทธภิ าพในการทํางาน องคป ระกอบเกื้อกูล การมปี จจยั ส่ี การมีวตั ถอุ ํานวยความสะดวก น้นั จะตอ งมเี ปาหมายเพื่อเปนเครือ่ งเก้ือหนุนในการทจ่ี ะบําเพญ็ กจิ หนา ที่ การกระทาํ สิง่ ท่ีดงี ามเพือ่ เขาถึงจดุ ประสงคท ีเ่ ปน ประโยชน ถา อยา งนแี้ ลว รับกนั เลย สันโดษ กบั ไมสันโดษ ความ สันโดษก็เปน ฐานรองรบั แกค วามไมส นั โดษอยา งทีว่ ามาแลว และ ความไมส นั โดษนั้นก็เปนความไมป ระมาท เรอื่ งความสันโดษท่ีพดู กัน ท่ีวา เปนปญหามากก็เพราะไม ไดพูดใหช ดั วา สนั โดษในเรอ่ื งอะไร? มเี ปาหมายหรอื ความมงุ หมายอยางไร? เมื่อเราพยายามอธบิ ายแตเพียงความหมายของ คํา มันกย็ ่ิงพราออกไป สนั โดษที่ตรสั ไวโ ดยไมพ ูดวา สันโดษในเรือ่ ง อะไร กม็ ีแตใ นคาถาอยา งที่พดู มาแลว เชน บอกวา สนฺตุฏฐี ปรมํ ธนํ - ความสันโดษเปน ทรพั ยอ ยา งยง่ิ หรือในมงคลสูตรก็บอกวา “สนฺตฏฐี จ กตฺุตา เอตมฺ- มงฺคลมุตฺตมํ -- ความสันโดษ ความกตญั ู (และอะไรตางๆ อีก มากมายในมงคล ๓๘ ความสนั โดษก็เปน มงคลหน่ึงในมงคลเหลา นนั้ ) เปนมงคลอนั อดุ ม” ในคาถาอยา งน้ีไมไ ดบอกไวช ัดเจนวา ใหสันโดษในอะไร แตถ า เปนขอความรอ ยแกวจะบอกชดั ทีเดียววาสนั โดษในอะไร น่ี เปนแงห นง่ึ ทีเ่ กี่ยวกบั การศกึ ษาธรรมะ คอื ตองสะกิดบอกกนั วา ไม ใชพดู แตเ รื่องความหมายของธรรมขอน้นั ๆ เทา น้นั แตจะตอ งทาํ ความเขาใจใหค รบถวนทุกแงดว ย เชน ในแงนี้กค็ อื จะตองมอง ความหมาย โดยสมั พันธก บั จดุ มงุ หมายของธรรมะขอ น้นั ๆ และ โดยสมั พันธกับธรรมะขอ อื่นๆ ดวย อยา งความไมส นั โดษน่ชี ดั เจน
สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑ วา จะสมั พนั ธก นั กบั ความเพยี รพยายาม เชน ในขอ สองแหง คณุ ธรรม ทีใ่ หต รัสรนู นั้ กจ็ ะตามมาดวยความเพียรท่ไี มยอมระยอ ทอถอย ถาเราสนั โดษผดิ ก็ตาม ไมส นั โดษผดิ กต็ าม กจ็ ะเกิดผล รายขึน้ มาทนั ที ฉะน้ันตองจบั จดุ ใหถกู สันโดษตองสนั โดษในเร่ือง เครื่องอาํ นวยความสะดวกทางวัตถุ แตตองไมสนั โดษในกศุ ลธรรม ถาไปจับสันโดษผิดสันโดษในกุศลธรรมกห็ ยุดเลย เปนผลเสยี เลย ทเี ดยี ว มนั จะเสียอยางไร ถา พระโสดาบันสันโดษในเรอื่ งกศุ ลธรรม พระโสดาบนั นัน้ ก็กลายผูประมาทไมกา วหนา ไมตอ งไดบ รรลเุ ปน สกทาคามี อนาคามี อรหนั ต ตอ ไป ไมตองไปแลว เปน โสดาบันอยู นัน้ เอง เรียกวา เปน อริยสาวกผูประมาท ทีนี้ ถา หากวาไมส ันโดษอยา งผดิ พลาด คอื ไมส ันโดษใน สง่ิ อํานวยความสะดวก มุง หาแตวตั ถบุ ํารุงบาํ เรอตนเอง เขาเรยี ก วา มงุ หาอามสิ ถา เปน อยางน้แี ลวงานก็หยุด งานก็เสีย ใจก็ไมอ ยู กบั งาน เมอ่ื ใจกไ็ มอ ยูกบั งาน ทาํ งานกไ็ มไ ดผลดี งานก็ไมสําเร็จผล ดวยดี แลวดีไมด คี วามไมสันโดษนี่ กส็ นับสนนุ ความโลภ เมอ่ื โลภ แลวไดไมท นั ใจกต็ อ งทจุ รติ อะไรอยา งนี้ เปนตน ตัวไมส ันโดษกน็ าํ มาซ่งึ ความทุจรติ มนั กเ็ ปน เรอื่ งของผลรา ย ในจุดน้ี กส็ รุปแตเพียงวา เรอ่ื งสนั โดษและไมส นั โดษนไ่ี ม ใชค ุณธรรมทีเ่ ราจะเขา ใจเฉพาะตัวลอยๆ แตจ ะตอ งเขาใจโดย สัมพนั ธก ับสิง่ ทเี่ ปนเปา ของมันวา สันโดษในอะไร ไมส ันโดษอะไร แลวกม็ คี วามมุง หมายอะไร อยา งทไี่ ดกลา วมาแลว
๑๒ การเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทาํ งาน ถา มีความเขา ใจรว มกันอยา งน้ีแลว กจ็ ะศึกษาใหลกึ ลงไป อกี วา ความสันโดษทดี่ ีและความไมส ันโดษที่ดีนี่ จะตองมีรากฐาน อีกวาเกิดจากอะไร ทาํ อยา งไรจึงจะมสี นั โดษที่ดแี ละไมสนั โดษที่ดี ความอยากทีด่ ี มคี ุณธรรมขอหนึ่งทถ่ี ือวาเปน พนื้ ฐาน ท่จี รงิ เปนพื้นฐาน ของการทีจ่ ะกา วหนา ในคณุ ธรรมท้ังหมดทีเดยี ว คุณธรรมขอนี้ ทา นเรยี กวา “ฉันทะ” ฉนั ทะตัวน้ีเราฟงแลว คนุ หู เพราะทานทีเ่ ปนนกั ศกึ ษาธรรม น่รี ูทนั ที ฉนั ทะเปนขอหนงึ่ ในอทิ ธิบาท ๔ เราแปลกันวา ความพอใจ รักใครในสงิ่ นั้น หมายความวา ถาเรามงี านทีจ่ ะตอ งทํา เราก็รกั งานนั้น เรอื่ งทเ่ี ก่ยี วของกบั ฉันทะ เปน เรอ่ื งทเ่ี ก่ยี วกับการกระทาํ เทานั้น เพราะ อทิ ธบิ าท แปลวา ทางไปสคู วามสาํ เรจ็ หรอื คณุ ธรรม ที่ใหถ ึงความสําเรจ็ เปน เรือ่ งของการกระทํา จะทาํ ใหส าํ เรจ็ ตองมี ฉันทะ มีความรกั ความพอใจในส่งิ ทจี่ ะทํา แปลงา ยๆ วา “มใี จรัก” เมอื่ มใี จรกั แลว ก็มาโยงกับความสันโดษและไมส นั โดษ พอเรามีใจ รกั ในงานทีท่ ํา สิง่ ทเ่ี ปนวตั ถุประสงค สิง่ ทดี่ ีงามขนึ้ มา เราก็จะมีใจ ฝก ใฝอ ยกู บั วัตถปุ ระสงคข องเราน้นั อยกู บั งานทจี่ ะนาํ ไปสวู ตั ถุ ประสงค เราจะไมยอมหยุดถาไมสาํ เรจ็ ผลตามวตั ถุประสงค แลว ผลทีเ่ กิดขึ้นในแตล ะข้ันนัน้ เรายังถือวา ยงั ไมพ อ เราจะตอ งเดนิ หนา ตอไป ในแงน ี้ ก็มีความไมสันโดษเกดิ ข้ึน เรยี กวา “ไมสนั โดษใน กุศลธรรม” และเพราะการท่เี ราเอาใจมาฝกใฝ มามุง อยูก ับงานท่ี
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๓ เปนวตั ถุประสงคน ี่ เราก็จะเกดิ ความสันโดษในเรื่องของเคร่อื ง อาํ นวยความสะดวกสบาย เร่อื งปรนเปรอตางๆ คอื ไมคอ ยเอาใจ ใส จะเห็นวาคนที่ต้ังใจทํางานอยา งจริงจงั แลว ก็ไมว ุน วายกับสงิ่ ปรนเปรอบํารุงบําเรอท้งั หลาย ดงั นนั้ ฉนั ทะนี้เปนธรรมพ้นื ฐานที่ จะนาํ ไปสูส นั โดษ และความไมสันโดษท่ถี กู ตอง อทิ ธิบาท ๔: ทางแหงความสาํ เรจ็ นอกจากการท่จี ะมคี วามไมสนั โดษ และสนั โดษทถ่ี ูกตอ ง แลว เพราะฉนั ทะทาํ ใหใจมาอยกู ับงาน สง่ิ ท่ที าํ ส่ิงทเ่ี ปน เปาหมาย ทาํ ใหเ กิดจิตใจฝกใฝอ ยา งท่วี ามาเมอื่ ก้ี เม่ือใจฝกใฝกท็ าํ งานดว ย ความแนว แนจ ริงจงั สภาพท่ีจติ แนว แนอ ยูก ับส่ิงท่ีกระทาํ น้ัน เรา เรียกวา เปน “สมาธิ” เพราะฉะนั้น ฉนั ทะกน็ าํ ไปสสู มาธิ สมาธิในการทํางานเกิด ไดดว ยการมฉี นั ทะ เมื่อมสี มาธิและใจกร็ ักงานนนั้ ทาํ งานดวยใจ รัก ใจก็เปนสขุ เพราะฉะนัน้ คนทท่ี าํ งานดวยฉนั ทะก็มจี ติ ใจเปน สขุ ใจเปน สมาธิ สมาธิกท็ ําใหเปน สขุ เพราะจติ ใจสงบแนว แน เม่ือ ทําจติ ใจใหเปนสมาธิแนวแน ตง้ั ใจจรงิ จัง ใจรักงานน้นั ต้งั ใจทาํ เตม็ ท่ี มีความเพียรพยายาม ผลสาํ เรจ็ ของงานกเ็ ปนผลสําเรจ็ ท่ดี ี เรยี กวา นําไปสู “ความเปนเลิศ” ของงานน้ัน หมายความวา งานน้นั จะสําเร็จผลอยา งดเี ลิศ อนั นี้ก็เลยพนั กันไปหมด เพราะฉะน้ัน พระ พุทธเจาจึงตรัสวา ฉนั ทะเปน คณุ ธรรมอยางหนึ่งในอิทธบิ าท ๔ คือ ธรรมท่ีเปนเครื่องใหถึงความสาํ เร็จ หรือเรียกงายๆ วา “ทางแหง ความสาํ เร็จ”
๑๔ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการทาํ งาน เม่อื พูดมาถงึ อทิ ธบิ าทแลว ก็จะตองโยงไปถึงคณุ ธรรมขอ อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งดว ย เพราะอทิ ธบิ าทมี ๔ ขอ คอื ฉนั ทะ วริ ยิ ะ จติ ตะ วมิ ังสา ฉนั ทะคือ ขอท่ีพดู มาแลว ความพอใจรักใครในส่งิ นัน้ รัก งาน รกั เปา หมาย รักจุดหมายทีด่ ีงาม รกั วตั ถุประสงคของงานนนั้ ขอตอ ไปน้คี ือ วิริยะ ความเพยี ร ความพยายาม จิตตะ ความเอาใจใสในสง่ิ น้ัน วมิ งั สา ความไตรตรองสอบสวนพจิ ารณา หรอื ถาจะพดู ใหส ัน้ จํางา ยๆ ก็บอกวา “มีใจรกั พากเพียรทาํ เอาจติ ฝกใฝ ใชปญญาสอบสวน” นเ่ี ปน อทิ ธบิ าท ๔ ฉันทะเปน ขอ ที่ ๑ ตามปกตถิ ามีฉนั ทะแลว มันก็ชว ยใหเ กิด คุณธรรมขอ อนื่ ในอิทธิบาท ๔ ตามมา มันสัมพนั ธกนั ชว ยเหลือ เก้ือหนุนกนั พอมีฉันทะใจรักแลว มนั กเ็ กดิ ความเพยี รพยายาม เม่ือมีความเพยี รพยายามใจก็ฝกใฝจ ดจออยูกับสิ่งนั้น มีใจจดจอ เอาใจใสแ ลว ก็สามารถจะใชปญ ญาพิจารณาสอนสวนเรื่องราว นน้ั ไตรตรองถึงขอบกพรอง ขอ ที่ควรแกไ ข หาทางทดลองปรับปรงุ อะไรตางๆ เหลา น้ี มนั ก็ตามกนั มา ฉนั ทะ วิรยิ ะ จติ ตะ วิมงั สา เปนชดุ กันทีเดียว แตความจริงนน้ั ไมจาํ เปน จะตอ งตามลาํ ดับนี้ อทิ ธิบาท ๔ นั้นแตละขอมันกเ็ ปนใหญใ นแตล ะตัว พระพุทธเจา ตรัสวา อิทธบิ าท ๔ แตละขอเปนตัวทําใหเกิดสมาธิไดท งั้ นน้ั ใน พระไตรปฎ กจึงมกั จะตรัสเรอ่ื งอิทธบิ าท ๔ ในแงของสมาธิ แลวจะ มสี มาธติ ามชื่อของอทิ ธิบาท ๔ แตล ะขอ พระพุทธเจา ตรัสวา สมาธทิ อี่ าศัยฉันทะเกดิ ข้นึ เรียกวา “ฉนั ทสมาธิ” สมาธิท่ีอาศยั วริ ยิ ะเกดิ ขึน้ เรียกวา “วิรยิ สมาธิ”
สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๕ สมาธิที่อาศัยจิตตะ ความเอาใจฝกใฝเ กดิ ขึน้ เรยี กวา “จติ ตสมาธ”ิ และสมาธิท่ีอาศัยวมิ งั สาเกิดขนึ้ เรียกวา “วิมังสาสมาธ”ิ ตกลงมสี มาธิ ๔ แบบ อันนีอ้ าจจะเปนคาํ ท่แี ปลก ที่จรงิ พระไตรปฎก มีคาํ ตรสั ถึงเรื่องสมาธติ ามหลกั อิทธิบาทนีบ้ อยๆ การสรางสมาธิโดยเอาหลักอิทธิบาทมาใชนี่เราจะเห็นวา มันชวยใหไดผลดี แลว ไมจาํ เปนจะตองเปน ไปตามลําดับท่วี า คอื แตละขอ น่ที าํ ใหเ กดิ สมาธิไดท ง้ั นั้น แลว มนั จะสัมพนั ธกับนสิ ยั ของ คน สมาธใิ นแบบอทิ ธิบาทน่มี ันเก้ือกลู แกก ารทํางานมาก สําหรบั ขอ ฉันทะน้ันไดพ ดู มาแลว วา เมอ่ื มีใจรักแลว เรากเ็ กิดความแนวแน เกิดสมาธิในการทาํ งาน อนั นเ้ี ปนเรือ่ งแนนอน แตทนี ีส้ ําหรับคนบางคน ถา เราตองการทจี่ ะนําหรือกระตนุ ใหเ กิดสมาธิ ลักษณะจิตใจของเขาเหมาะแกการกระตุนวริ ยิ ะมาก กวา วิรยิ ะน่ีมาจากคาํ วา วีระ ตามหลกั ภาษา วีระกบั ภาวะ รวมกนั แลวกเ็ ปน วิริยะ แปลวา วรี ภาวะ ภาวะของผแู กลวกลา วริ ยิ ะทแี่ ปล วา ความเพยี รพยายาม นีแ่ ปลตามศพั ทวา ความเปนผแู กลวกลา แกลว กลา คอื ใจสู ไมยอมทอ ถา เหน็ อะไรเปน อุปสรรคหรืองานท่ี มาอยขู างหนาแลว จะตอ งเอาชนะทําใหส าํ เรจ็ คนที่มลี ักษณะ อยา งนี้ จะทาํ อะไรตองใหม ีลกั ษณะทาทาย ถา อะไรเปน เรอ่ื งทา ทายแลวใจสจู ะทําใหได คนท่มี ลี กั ษณะอยา งน้ี ทานวาใหปลูกฝง สมาธดิ วยวริ ิยะ คอื สราง วริ ยิ สมาธิ ถาเราใชจติ วทิ ยากห็ มาย ความวา คนลกั ษณะนจี้ ะตอ งทํางานใหเปน เรอ่ื งท่ที า ทาย ถา ทาํ งานหรอื ส่ิงทเี่ รียนใหเปน เรอ่ื งท่ที าทายแลว คนแบบนจ้ี ะสูแ ละ
๑๖ การเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน จะพยายามทําใหสาํ เรจ็ แลวสมาธทิ ่ีเปนตวั แกนใหง านสาํ เรจ็ จะ ตามมา คนบางคนเปนคนแบบมจี ติ ตะ ลกั ษณะเปน คนเอาใจจด จอ ถามีอะไรท่เี ขาเกยี่ วของกบั ตัวเขา เรยี กวาเปน เรื่องของเขาแลว เอาใจจดจอไมทอดท้งิ อยางนเี้ ปนลกั ษณะของคนมคี วามรบั ผิด ชอบ คนแบบนี้ ถาทาํ ใหเรอื่ งนัน้ เปน เรอ่ื งเกย่ี วกับตวั เขา อยใู น ความรับผดิ ชอบ เปนเรือ่ งของเขาขึน้ มาแลวเขาจะทํา เรยี กวา สรางสมาธดิ ว ยวิธีของจติ ตอิทธบิ าท ขอที่ ๓ คนอกี พวกหนง่ึ เปน พวกชอบสงสัย ชอบคน ควา ชอบ ทดลอง ถาทาํ อะไรใหเขาเกิดความรสู ึกสงสัย อยากรู อยากเขาใจ ข้ึนมาละก็พวกนี้เอา เพราะฉะนัน้ ถารูจติ วิทยาดใี นแบบน้ี ก็หมาย ความวา ทาํ เรื่องนั้นใหเ ปนเรื่องทน่ี าคน ควา นา ศกึ ษา นา สงสัย นา ทดลอง พออยากลองคราวน้คี นนั้นเอาจรงิ ๆ ไมทิ้ง ไมไปไหน วนุ อยูนัน่ เอง พยายามทาํ ใหไ ดใหสาํ เร็จ อทิ ธิบาทแตล ะขอ นี่เปนวธิ สี รางสมาธิท้งั น้ัน เปนทางนาํ ไป สคู วามสาํ เร็จ ไมจ ําเปนจะตองเรม่ิ ท่ีขอใดตายตัว ตามปกตนิ ้นั เร่มิ ที่ฉันทะมาก ถาเริ่มตวั หน่งึ แลว ตวั อ่นื จะมาหนุนทันที เพราะฉะนน้ั ถา คนมนี ิสัยใจรักชอบอะไรแลว ก็ทําละก็ คนน้นั กต็ องยใุ นแงฉันทะ คนไหนชอบส่ิงท่ีทา ทายก็ตอ งทาํ งานใหเปนเรือ่ งทา ทาย จึงจะเอา จรงิ ใจสู คนไหนมลี กั ษณะเปน คนมคี วามใฝใจรบั ผดิ ชอบ เร่ือง ของตัวเองเกี่ยวของจึงทาํ ก็ใชว ิธีจติ ตะ สว นคนท่ีชอบทดลองคน ควา ก็ทํางานใหเ ปน เรือ่ งที่นา อยากรอู ยากเห็น อยากเขา ใจ นา สงสัยสอบสวนไป มันก็จะไดงานข้นึ มา คือวา ทกุ อยางจะนาํ ไปสู
สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๗ การเกิดสมาธิ เมื่อเกดิ สมาธแิ ลวเขาจะทาํ งานดว ยความพอใจ มี ความสุข เมื่อทาํ ดวยความตง้ั ใจจรงิ ทาํ ดว ยสมาธิ งานน้ันก็สําเร็จ อยา งดี หลักอทิ ธบิ าท ๔ นี่ เปน ธรรมสาํ คญั ท่เี ราอาจจะตองมา ขยายวธิ กี าร คอื จากหลักใหญๆ น่ี นา จะมกี ารเอาไปขยายราย ละเอียดของวิธีการไดในแตล ะขอ เชน วา ในแงฉนั ทะ จะทาํ อยา งไร มเี ทคนคิ อะไรบา งทจี่ ะทําใหคนรักงาน หรอื ทาํ ใหง านนน้ั หรอื เร่อื ง ที่เปน หนา ท่นี ้ันเปนเร่ืองท่คี นชอบ เพราะจะมีคนพวกหนงึ่ ทว่ี า รกั ชอบละก็ทํา ทนี ้ี มีคนอกี พวกหน่งึ ทตี่ องใชธ รรมขอท่ี ๒ คือจะตอ ง สรา งเทคนคิ กนั ขนึ้ มาวา ทําอยางไรจะใหงานหรือหนา ที่นนั้ เปน เรอื่ งทา ทาย แลวคนพวกนก้ี จ็ ะมาทาํ อยา งท่ี ๓ ก็ทําใหรูสกึ เก่ยี ว ขอ งเปน เร่อื งของเขา อันท่ี ๔ ก็ทาํ ใหเ กิดความรสู กึ อยากทดลอง นเี่ ปน วิธกี ารในพุทธศาสนา ซ่ึงเปนหลักใหญๆ แตใ นแง เทคนคิ นีเ่ รายงั ไมคอยไดมีการนาํ เอามาขยาย ถา ขยายอาจจะเปน วิธกี ารท่นี า ศึกษาทีเดียว เอามาเรียนเปนวชิ าการกนั ไดสาํ หรับเพิม่ ประสิทธภิ าพในการทาํ งาน แตจุดแรกทีย่ า้ํ น่ี โยงกลับไปทเี่ กา คอื เร่ืองฉนั ทะ จงึ จะขอผานเร่ืองอทิ ธิบาทนีก่ ลับมาสูขอ ตน ในชุดของ มัน คอื ฉนั ทะ อกี คร้งั หนึง่ ฉนั ทะทาํ ใหขยนั ตณั หาทาํ ใหขเ้ี กียจ ทีนี้ จะขอพดู เร่ืองฉนั ทะอยางเดยี ว ฉันทะนเี้ ปน เรือ่ งที่เรา จะตองศกึ ษาอกี ทพ่ี ดู มาเมอื่ กี้นวี้ า ฉันทะ แปลวา ความชอบ
๑๘ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการทาํ งาน ความพอใจ ความรกั หรอื ความมใี จรัก แตค วามจริงฉันทะนนั้ มันมี ๒ แบบ ฉันทะแบบทเี่ ราวา กนั มาเมื่อกี้น้ี ในบางโอกาสจะตองเรยี ก ชอื่ ใหเ ต็มวา “ธรรมฉันทะ” แปลวา ฉันทะในธรรม ธรรมคอื อะไร? ธรรมะนใี่ หค วามหมายกันไดเ ยอะแยะ แตใ นท่นี เ้ี อาเพียง ๒ อยา ง ธรรมะแงหนึ่งแปลวา ความจริง แงที่สองแปลวา ความดีงาม พอ แปลได ๒ ความหมาย น่กี จ็ ะโยงกับเร่อื งเกยี่ วขอ งในท่นี ี้ สําหรบั ธรรมะทแ่ี ปลวา ความจริงนั้น ความจริงคอื ส่ิงทพ่ี ึงรู แลวทนี ค้ี วามดี งาม ความดงี ามคืออะไร ความดีงามคอื ส่งิ ทพ่ี ึงกระทาํ หรอื พึงทํา ใหเ กิดใหม เี ปน จริงขน้ึ มา พอบอกวา ธรรมฉนั ทะ ฉนั ทะในธรรม ความหมายท่ี ๑ คอื ฉนั ทะในความจริง ฉนั ทะในสิ่งท่พี ึงรู ฉนั ทะในแงน กี้ แ็ ปลวา อยาก ในความรู คือใฝรู เพราะฉะน้นั ฉนั ทะแงที่ ๑ กใ็ ฝรู คนมฉี ันทะแงท่ี ๑ คอื มีความใฝร ู อยากจะรู อยากจะศึกษาใหเขา ใจความจริง วา อนั นีน้ น้ั เปน อยางไร เหมือนอยา งพระพทุ ธเจาทไี่ ดต รัสรกู ็เพราะมี ธรรมฉันทะนี้ ตองการรตู องการเขาถึงความจรงิ เพราะฉะนนั้ จงึ ตอ งขวนขวายใหเ กิดความรูใหไ ด ในแงที่ ๒ ท่วี า ฉันทะในความดงี ามที่พึงทาํ ใหเกดิ ใหม ีเปน จรงิ ขึ้น กค็ อื ฉันทะในการกระทํา ความอยากทํา หรอื ใฝท าํ อนั นี้ คอื ตัวที่ทานเรยี กวา “กัตตกุ ัมยตาฉนั ทะ” เปน ฉนั ทะสาํ คัญ เปนราก ฐานของความกา วหนา เปน อันวา ฉนั ทะชอ่ื เตม็ วา ธรรมฉนั ทะ คือใฝร แู ละใฝทํา หรอื อยากรู และอยากทํา หรอื อยากศกึ ษา และอยากสรางสรรค
สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ อนั นแ้ี หละเปนตัวหลกั สําคญั พระพุทธเจาเรยี กธรรมฉนั ทะน้เี ตม็ ที่ วา “กศุ ลธรรมฉันทะ” แตบ างทเี ราจะเรยี กศพั ทใ หเต็มที่ มันยดื ยาว เกินไป กเ็ ลยตัดกนั วา ธรรมฉนั ทะ หรอื บางทา นกต็ ัดเอาตวั หนา “ธรรม” เอาออก เรยี กวา “กุศลฉันทะ” แตเ รยี กอยา งไรกต็ าม ก็ใหรู วามนั เปน ความหมายน้ี แตบางทีเราเรยี กกันสน้ั ๆ วา ฉันทะเทา น้ัน โดยหมายถึงฉันทะทตี่ อ งการทพ่ี ดู มาแลว เปนอนั วา เปนเรื่องของ ความ “ใฝร ู” และ “ใฝทาํ ” ยงั มีฉันทะอีกอยา งหนง่ึ ไดย ินกันบอยในนวิ รณ ๕ ขอ ๑ วา “กามฉันทะ ฉนั ทะในกาม” ในสิง่ ทอ่ี ยากได คอื ใจคดิ คํานงึ แตว า อยากไดโนน อยากไดน ี่ อยากไดร ปู รส กลนิ่ เสยี ง โผฏฐัพพะ ธรรมารมณท่นี า พอใจทงั้ หลาย ใจไปอยูกบั สิ่งท่ตี อ งการ อยากโนน อยากน่ี และไมเปน สมาธิ เรยี กงายๆ กค็ อื อยากไดอามสิ นีเ่ รียก วา กามฉันทะ ตกลงวาฉนั ทะมี ๒ อยา ง กามฉนั ทะ กับธรรมฉันทะ ถาเปนกามฉันทะ แลว ก็เปนเรือ่ งของโลภะ เปน เร่อื งของตณั หา ที่ จริงมนั เปน ไวพจนของตณั หาน่นั เองแหละ ตัณหาท่ีเปน กามฉันทะ นีค่ อื ตัวปฏิปกษของธรรมฉนั ทะ หรือฉันทะที่เราตองการ ตอนนกี้ ม็ าถงึ การแยกระหวา งฉนั ทะทเี่ ปน ธรรมฉันทะ กบั ฉนั ทะท่เี ปน กามฉนั ทะ หรอื เปนตณั หา ซึ่งเราจะตอ งแยกใหถ กู ถา มีกามฉนั ทะก็มงุ ไปในทางของตณั หา มุง หาสงิ่ บํารุงบําเรอวัตถุ อํานวยความสะดวกตางๆ ตณั หานน้ี ําไปสคู วามเกียจคราน ไมได ทาํ ใหเ กดิ ความสาํ เรจ็ หลายทา นบอกวา เราจะตองไมสนั โดษ สันโดษแลว ทําใหงอมอื งอเทา บานเมืองพัฒนาไมได ตอ งสง เสริม ใหค นเกิดตณั หา อยากไดโนน ไดน่แี ลวจะไดมคี วามพยายามสราง
๒๐ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการทาํ งาน โนนสรางน่ี จะไดพ ัฒนา ในท่ีนขี้ อบอกวา ถา ทาํ ใหคนมตี ัณหาแลว คนจะขเี้ กียจ มนั ตรงขา ม ทําไมจงึ วาอยางนั้น? ตณั หาทาํ ใหข เ้ี กยี จ เพราะเขาไมไ ด อยากไดง าน ไมไ ดอยากไดผลสาํ เร็จของงาน เมอื่ เราจะใหค น ทํางาน เราตองทาํ ใหเ ขารกั งาน รักความมงุ หมายของงาน รกั วัตถุ ประสงคของงาน ถา คนรกั งาน รักความมุง หมายของงาน เราเรยี ก วา มีฉันทะ แตท นี ี้ เราบอกวาใหเขาอยากไดวตั ถุ ไดเงนิ อะไรอยางนี้ เราเรยี กวาเราตณั หา ถาหากใหเขาอยากไดเ งนิ ไดว ตั ถุปรนเปรอน่ี เขาไมไดอยากไดผลสาํ เรจ็ ของงาน ไมไดรกั งาน ถาเปนไปไดเขา จะไมทาํ งาน เพราะเขาอยากจะไดเ งิน อยากจะไดว ัตถุเทา น้ัน เพราะฉะนนั้ พวกน้จี ะหาทางลดั วา ทาํ อยางไรจะไดวัตถุ ไดเงนิ โดย ไมตองทํางาน แลว เรากจ็ ะสรางเคร่อื งบบี บังคับ สรา งระบบการ ควบคุมเพ่ือเปน เงอื่ นไขใหเขาตอ งทํางานจงึ จะไดวตั ถุ ไดผ ล ประโยชน ไดเงนิ ทีเ่ ขาตองการ ใชไหม? อนั นี้คอื ระบบของความยุง ยาก จะตอ งปองกนั ความทจุ รติ กันเต็มท่ี ถา หากวาเขาหลกี เลยี่ งไดไมตองทาํ งาน พวกมีตัณหานีจ่ ะ หาทางเอาวิธีลัด ถาทจุ รติ ไดก ท็ จุ รติ พวกนถ้ี าหากวา ไมต อง ทาํ งานไดก ด็ ี ก็เลยข้ีเกยี จ เพราะฉะนัน้ ตัณหาก็สงเสรมิ ใหคนขี้ เกยี จ ถา ตัณหามากขึน้ อีกกข็ ้เี กียจ บวกสุรายาเสพตดิ การพนนั ดัง น้ันจงึ บอกไดว า ตณั หาเปน ธรรมทสี่ ง เสรมิ ความข้ีเกียจ และสง เสรมิ ความทจุ รติ ไมไ ดชวยใหเ กดิ ความดงี าม ความขยันหมนั่ เพยี ร หรือการพฒั นาอะไรเลย
สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๒๑ แตมีอยบู า งทีพ่ ระอานนทเ คยกลา ววา บางทีตองใชเ ทคนิค เหมอื นกัน บอกวาอาศยั ตณั หาละตณั หา หมายความวา บางครงั้ เราตองเอาตณั หาเปน เคร่ืองมอื เพราะวาคนบางคนทาํ ใหเ กิด ฉันทะนีย่ ากเหลอื เกนิ ตองไปกระตนุ ตัณหากอ น ใหอ ยากไดผล ประโยชน อยากไดว ตั ถุ เสร็จแลว จงึ เอาตัณหาความอยากไดว ตั ถุ หรือความโลภนั่นมาเปน เครือ่ งกระตุน ใหเกดิ ฉนั ทะความรกั งานอีก ทีหน่ึง ในกรณีท่ใี ชเ ปน เทคนคิ นี่ทา นยอม แตวา ตอ งระวงั ท่สี ุด เพราะจะไมคอ ยสาํ เร็จตามน้นั เพราะไปยัว่ ยุใหเ กดิ ความโลภ ตณั หาในวัตถุแลว ใจมันแลนไปทางน้นั ก็อยากไดวัตถุ ไมรกั งาน ความสาํ เรจ็ ของงานก็จะไมไ ด กจ็ ะไดแตในทางเกยี จครา นทจุ ริต ความอยากไดท างลัดก็เปนปญหาในการพัฒนาปจจุบันนี้ ฉะน้นั เห็นวาเราจะตองทําใหค นมีฉันทะใหได ตอ งทํา ฉันทะใหน ําไปสคู วามไมสันโดษในกศุ ลธรรมทั้งหลาย ตองใหร ักสงิ่ ท่ดี ีงาม เชน วา ในชุมชนของเรา อะไรเปน เปา หมาย ไดแก ความ สงบ ความอยดู ี ความเรยี บรอย ความสามัคคี ความสะอาด สขุ ภาพ ความปลอดภยั อะไรตางๆ ทเ่ี ปน สิ่งดีงาม สรา งความเราใจ ใหค นเกิดฉนั ทะขึน้ มาแลว การพฒั นากจ็ ะสาํ เร็จได แตถา ไปเรา ตัณหาในทางท่วี า เรามาพฒั นากัน เราจะไดมขี องนนั่ ของนี่ มีวตั ถุ ปรนเปรอ มีโทรทัศน มมี อเตอรไซค มีอะไรตออะไร เอาแตเรือ่ งท่ี เปนวัตถุบํารุงบําเรอสําหรับแตละคนซ่ึงเปนเรื่องสงเสริมความเห็น แกตวั น่ี เห็นวาพฒั นาอยา งนี้ลม เหลวจะเกดิ ปญหาขึ้นมากมาย เพราะฉะนน้ั จุดเรา ของสองอันน้ตี า งกนั คอื จุดเรา ของ ฉันทะกบั ตัณหา ในการพัฒนาจะตองเลือกเปาหมายหน่งึ คอื เปา
๒๒ การเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน หมายสาํ หรบั ฉันทะ ไดแก ส่งิ ดีงามท้งั หลายทคี่ นในชุมชนนั้นจะพงึ ต้ังเปน วตั ถปุ ระสงค แลวเอาอนั นั้นแหละยัว่ ยเุ รา ฉนั ทะใหเ กดิ ขนึ้ เปาหมายแบบทสี่ องคือ ตัณหาซึง่ เปน เรื่องของความอยาก ไดสว นตัวของแตล ะคนทอ่ี ยากจะไดวัตถมุ าปรนเปรอตวั เอง ซึ่งจะ ไมม ที างสาํ เร็จผลไดดี จะเกิดปญ หาการเบยี ดเบยี นกัน เกดิ การ เอาเปรยี บกันอะไรตา งๆ นี่ ปญ หาทง้ั หลายจะตามมา ดังนนั้ ถา หากวาจะเราตัณหาตองเราในทางท่ีเปนตัวกระตุนฉันทะอีกทีหน่ึง แตวาผูดําเนินการกระตุนเราจะตองวางวัตถุประสงคของตนเองไว ใหดีทเี ดียว แลวก็ดาํ เนนิ การโดยเขาใจกลวธิ เี ทคนคิ ตางๆ ที่ผานมานี่ขอบอกวาเรามองกันแตเพียงตัณหากับละ ตัณหา เราไมไ ดม องเรื่องฉนั ทะเลย คอื ไปมองตวั บวกแตต ัณหา แลววา ถาไมเอาตณั หากล็ บเทา นัน้ แทนท่ีวามันมตี วั บวก ๒ ดาน บวกฝา ยอกุศล กบั บวกฝา ยกุศล บวกฝายอกุศลกต็ ัณหา บวก ฝา ยดีกฉ็ นั ทะ แทนทเ่ี ราจะบอกวา ไมเอาตณั หาเอาฉนั ทะ เรากลับ บอกวา ไมไดห รอกถาละตณั หาเสียแลว คนจะไมม ีกาํ ลังทาํ งาน ตองเรา ตัณหาเอาไว สว นอกี ฝา ยหนงึ่ ก็วา ตณั หาทําใหยุง ตองให ละตัณหาไมใ หอ ยากได เลยเถยี งกันอยูนนั่ ไมไปไหนเลย เพราะฉะนนั้ ขอตง้ั เปนขอสงั เกตสําหรับแยกอยา งงา ยๆ อยางท่ีพูดแลววา ฉันทะมคี วามรกั งานแลวกร็ ักสิง่ ดีงามทเ่ี ปน วตั ถุ ประสงคของงานนั้น สวนตณั หารกั อามสิ รักผลประโยชนต อบแทน อนั นจี้ ะแสดงออก เชน เวลาประสบพบเหน็ อะไร คนที่เห็น อะไรทแ่ี ปลกตา ทสี่ วยงามดี น่ีอยากจะไดอยากจะเอามา อันนั้น เปน ความอยากแบบตัณหา แตค นทเ่ี ห็นดว ยฉันทะนี่ เวลาเหน็
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๒๓ อะไรท่ีแปลกที่ดีงามท่ีใหมท่ีนาท่ึงจะเกิดความรูสึกแปลกใจวา เอะ…ของนน่ั มาไดอ ยางไร สาํ เรจ็ ไดอยา งไร แลว อาจมีความรูสกึ วา ทําอยางไรเราถึงจะทาํ ไดอ ยางนั้น ความรูสึกนี้จะเกิดตั้งแต เดก็ ๆ ทีเดียว แลวกอ็ ยทู ่ีการปลูกฝง ของผูใหญดว ย เดก็ ไปเห็น อะไรท่ีสวยงามแปลกตาน่ี เพียงแตวา อยากจะได เอาสิง่ นน้ั มา ถา เราปลกู ฝง ในแนวนี้มนั จะเปน การเสริมตณั หา เรยี กวา เสรมิ กาม- ฉนั ทะ แตเด็กบางคนเราจะเห็นไดว า พอเห็นอะไรแปลกที่นาทงึ่ นี่ แกนกึ ในแงค วามเปนมาเปนไป สงสัยในทางเหตปุ จจัยเลย วา สงิ่ นี้ มันเกิดข้นึ มาอยางไร มันทําไดอ ยา งไร บางคนจะนึกวา ทําอยางไร เราถึงจะทําไดอ ยางน้ี ความรสู ึกอยา งนช้ี วยลดความรสู กึ อยากได อยากเอาลงไป เปน ฉันทะ ทําใหค ดิ สรางสรรค ธรรมดาปถุ ุชนแลว มันก็ตองมีความอยากไดอยากเอาบา ง แตส ําหรับปุถุชนที่เปน กัลยาณะ ก็ควรจะมีฉนั ทะดว ย คอื นอกจาก อยากไดอ ยากเอานี่ มันจะมคี วามทงึ่ อยากจะรูวา นม่ี ันสาํ เร็จมา ไดอยางไร ทาํ ไดอ ยางไร แตส ําหรบั เด็กนี่ สาํ คัญมากท่จี ะปลูกฝงนสิ ัยทจ่ี ะพัฒนา อยางถกู ตอ ง ซึ่งเปน นสิ ัยสําหรับเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการทาํ งาน ตอ ไปดว ย คือวา ผใู หญจะตอ งกระตนุ ตัวฉันทะขน้ึ มา ไมใชก ระตุน ตณั หา ถาเราเขาใจเทคนคิ นี้ตามแนวพทุ ธศาสนาแลว การปลกู ฝง อบรมเด็กกอ็ าจจะเปลีย่ นไป แทนทจ่ี ะคอยสงเสรมิ วา ถาเดก็ เห็น อะไรอยากได ผใู หญก็จะคอยเอาใหต ามท่ีแกตอ งการ ทีนี้ควรจะ ไมใ ชอยา งนนั้ แลว อาจจะชี้แนะแกใหเกดิ ความสงสยั เกดิ ความใฝ รู วาสง่ิ นี้คอื อะไร เกดิ ขนึ้ มาไดอยา งไร
๒๔ การเพิ่มประสทิ ธิภาพในการทํางาน ทําใหแกอยากจะเขา ใจเรอ่ื งนั้น อยากทาํ ได แลวนสิ ยั แบบ ฉันทะจะตามมา สันโดษท่ีถกู ตองมธี รรมฉนั ทะ ขอสรปุ วา ฉนั ทะทีถ่ กู ตองนก่ี ค็ อื ธรรมฉันทะท่จี ะไป สัมพันธก ับความสันโดษ ทําใหเกิดความสันโดษทีถ่ ูกตอง แลว กท็ ํา ใหเกิดความไมส นั โดษทถ่ี ูกตอ งดวย แลว ก็จะทําใหเ กดิ วิรยิ ะ— ความเพยี ร จิตตะ—ความเอาใจใสการงาน วิมังสา—ความคิด พิจารณาไตรตรองสอบสวน เกดิ สมาธแิ ลว กเ็ กิดปญญาความรู ความเขา ใจจรงิ แลวกน็ ําไปสแู มแตจุดมงุ หมายของพระพุทธ ศาสนา ท่ีวาเปน วมิ ตุ ต—ิ ความหลุดพน แตถ า ในทางตรงขามไปเรา ความอยากท่ผี ดิ ไมใชอยากแบบฉันทะ กจ็ ะอยากแบบตณั หา เม่ือ อยากแบบตัณหาจะมคี วามสันโดษท่ผี ดิ พลาด คือ สันโดษในกุศล ธรรมในการงานเสยี แลว งานแคนี้พอแลว ไมเอาแลว วตั ถุประสงค ของงานสาํ เรจ็ แคนี้พอแลว ไมเอาแลวกลายเปนประมาท แตจะไป เสรมิ ความไมสันโดษท่ผี ิดอีก คือ จะไปไมส ันโดษในเรอ่ื งของสิ่ง ปรนเปรอตา งๆ หาวตั ถุอามสิ มาบํารุงบําเรอตัวเอง กค็ ือเกิดความ โลภ แลว เกยี จครา นไมอ ยากทํางาน หาทางลัด เมอื่ เกิดหาทางลดั ก็เลยตอ งทจุ รติ เมอ่ื ทจุ รติ ก็เกิดปญ หาขนึ้ ท้ังสว นตนและสังคม เพราะฉะนั้น จึงมวี ิถีทางอยู ๒ ทาง วถิ ีทางหนึ่งนําไปสู ความไมมปี ระสิทธิภาพในการทํางาน คอื วิธกี ารของตณั หา และ อีกวิถที างหน่ึงนาํ ไปสูประสิทธิภาพในการทํางาน ก็คือ ฉนั ทะ และ มีขอ โยงกนั อยูท ี่วาสาํ หรบั ปถุ ุชนนั้น มนั มตี ณั หาอยเู ปน ธรรมดา
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๒๕ เพราะฉะน้ัน ถา หากวามีตัณหาแลว ใหห ากลวิธที ีจ่ ะทาํ ใหต ณั หา น้ันเปนปจจยั กระตุน ฉันทะตอ ไป แลวฉนั ทะนั้นจะนําไปสกู าร ทํางานดว ยใจรกั มีความสุข มสี มาธิ และนําไปสูความเปน เลิศของ งานนัน้ หรอื ทําใหง านสาํ เรจ็ ผลอยางดเี ลิศ แลวก็นาํ ไปสปู ระโยชน สขุ ทงั้ สวนตน และสังคมประเทศชาติ น่คี ือเรื่องประสิทธภิ าพในการทํางาน ซึ่งเปนเพียงแงหน่ึง ยังไมใ ชตวั ประสทิ ธภิ าพเอง แตเปน ฐานของความมีประสทิ ธภิ าพ วาทจ่ี ริงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการทํางานมีหลายแง คอื หลัก ธรรมที่จะเสริมประสทิ ธภิ าพนมี่ หี ลายอยาง วนั นีก้ ็เลอื กมาพดู แง หนงึ่ ซึ่งเห็นวา เปนแงสาํ คญั ถาเรามฉี ันทะมีความไมสนั โดษใน กศุ ลธรรมน่ี เรามฐี านท่จี ะทาํ ใหเ กิดประสทิ ธิภาพในการทาํ งาน ของบุคคล แลว กท็ ําใหเ กิดการพัฒนาประเทศชาติท่ถี กู ตองได อยา งแนนอน หมายเหตุ บรรยายแกชมรมสงเสริมสมรรถภาพจติ สาํ นักงาน ก.พ. ณ หองประชุม ๑ สาํ นักงาน ก.พ. เมื่อวันที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๒๕ ตพี ิมพครงั้ แรกใน วารสารขา ราชการ ปท ี่ ๒๘ ฉบับที่ ๑-๒ ม.ค. และ ก.พ. ๒๕๒๖ คร้ังที่ ๒ มทุ ติ าสกั การะ ในวโรกาสพระสงั ฆาธกิ ารรับพระราชทานสมณศักด์ิ ณ มหามงคลสมัยพระราช พิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๓๐
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: