1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ทม่ี าและความสาคัญ ในปัจจุบันผู้คนนิยมการเปลี่ยนสีผมตามสมัยนิยม เพ่ือให้เกิดความสวยงาม และมีความมั่นใจ แต่มีบางส่วนท่ีเป็นผู้สูงวัยท่ีต้องการย้อมผมเพื่อปกปิดผมขาว วิธีการปิดผมขาวที่นิยมใช้ คอื การใช้ ยาย้อมผม (Hair Dyes) ซึ่งเป็นน้ายาที่ประกอบด้วยสารเคมีส้าหรับเปลี่ยนสีผม โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือต้องการเปลี่ยนสีผมขาวหรือผมหงอกให้เป็นสีด้า หรือเปลี่ยนสีผมเดิมให้มีสีสันที่ดูสวยงามมากข้ึน โดยมีความถี่ในการใช้ประมาณ 1 คร้ังต่อเดือน (สุขสังวาลย์ เมาลิทอง, 2551) ผลิตภัณฑ์ท้าสีผมมี หลากหลายย่ีห้อต่างแข่งขันโฆษณาสรรพคุณต่าง ๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภณั ฑแ์ บบนา้ ยาหรือแบบโฟม สามารถท้าสไี ด้ด้วยตนเอง และเห็นผลทันที ซ่ึงเป็นที่ยอมรับกันว่า การย้อมสีผมจะท้าให้มีบุคลิกภาพดูดี และสวยงาม แต่ผู้บริโภคจะต้องค้านึงถึงความปลอดภัยจาก สารเคมที ่เี ปน็ ส่วนผสมในน้ายาย้อมสีผมท่ีอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งในน้ายาย้อมสีผมมี สารเคมีบางชนิดท่ีเป็นอันตราย เช่น ตะกั่ว ในรูปของ เลด แอซีเตท (Lead Acetate) ซ่ึงเป็นโลหะหนัก เมื่อสะสมในร่างกายจะก่อให้เกิดพิษแก่ร่างกาย และไม่สามารถรักษาได้ สีสังเคราะห์บางชนิด เช่น 1,4-ฟีนิลีนไดอะมีน (1,4-Phenylenediamine) ท้าให้เกิดการระคายเคือง และการแพ้ต่อผิวหนัง ท้าให้ เกิดโรคหืดรวมทั้งเป็นอันตรายต่อตับ นอกจากน้ีสถาบันมะเร็งแห่งชาติของสหรัฐอเมริกายังพบว่าสารสี บางชนิดทีใ่ ช้ในน้ายาย้อมผมในปัจจุบัน เป็นสารท่ีก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองได้ เช่น 4-อะมิโน-2-ไนโตฟีนอล (4-Amino-2-nitrophenol) 4-เมธอกซี-1,3-ฟีนิลีนไดอะมีน (4-Methoxy-1,3-phenylenediamine) และ 4-คลอโร-1,2-ฟีนิลีนไดอะมีน (4-Chloro-1,2-phenylenediamine) เป็นต้น (สุทธิเวช ต.แสงจันทร์, 2531) ดังน้นั คณะผวู้ จิ ยั จึงสนใจศึกษาเก่ียวกับน้ายาย้อมสีผมที่ได้จากสารสกัดธรรมชาติ ซ่ึงเป็นพืชท่ีมีอยู่ ในท้องถิ่นท่ีน่าสนใจ ได้แก่ ใบเทียนกิ่ง หรือเฮนน่า (Henna) ซ่ึงในใบมีสารสีส้มแดงท่ี เรียกว่า ลอว์โซน (Lawsone) อยู่ (Lemmens and Wulijarni-soetjipto, 1992) นอกจากนี้ยังศึกษาการติดสีของ เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง ศึกษาประสิทธิภาพของตัวประสานที่ช่วยท้าให้สีย้อมติดเส้นผม ศกึ ษาปัจจยั ท่มี ผี ลในการดูดซบั สีย้อมของเส้นผม และศกึ ษาความคงทนของสยี ้อมที่ตดิ อยู่บนเส้นผม 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 ศกึ ษาการดูดซับสียอ้ มของเส้นผม โดยใช้สารสกัดธรรมชาติจากใบเทยี นก่งิ เปลอื กมงั คุด และกะหลา้่ ปลสี มี ว่ ง 1.2.2 ศึกษาประสิทธิภาพของตัวประสานท่ีชว่ ยทา้ ให้สีย้อมตดิ เสน้ ผม 1.2.3 ศกึ ษาปจั จัยทีม่ ีผลในการดูดซับสียอ้ มของเส้นผม 1.2.4 ศกึ ษาความคงทนของสีย้อมท่ีติดอยูบ่ นเสน้ ผม
2 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ขอบเขตด้านตวั แปร 1) ตัวดูดซับ คอื เส้นผมทผี่ ่านการฟอกขาว และเส้นผมขาวธรรมชาติ 2) ตัวถูกดูดซบั คอื สารสีทส่ี กัดไดจ้ ากใบเทยี นก่ิง เปลือกมงั คุด และกะหลา้่ ปลสี มี ว่ ง 3) ความเข้มข้นเร่ิมต้นของใบเทียนก่ิงที่สกัดได้ ร้อยละ 3.125 6.25 และ 12.5 โดยมวล โดยใช้น้าเป็นตัวทา้ ละลาย 4) ความเข้มข้นเริ่มต้นของเปลือกมังคุดที่สกัดได้ ร้อยละ 3.125 6.25 และ 12.5 โดยมวล โดยใช้น้าเป็นตัวทา้ ละลาย 5) ความเข้มข้นเริ่มต้นของกะหล่้าปลีสีม่วงที่สกัดได้ ร้อยละ 6.25 12.5 และ 25 โดยมวล โดยใช้น้าเป็นตัวทา้ ละลาย 6) ระยะเวลาที่ใชใ้ นการดดู ซบั ตั้งแต่ 30 ถงึ 120 นาที 1.3.2 ขอบเขตดา้ นกลุ่มตัวอย่าง 1) ใบเทียนกงิ่ ในอ้าเภอเมืองตราด จังหวดั ตราด 2) เปลอื กมังคดุ ในอ้าเภอมะขาม จงั หวัดจนั ทบุรี 3) กะหล้่าปลสี ีมว่ ง จากตลาดเจริญสุข ในอ้าเภอเมือง จงั หวดั จันทบรุ ี 1.3.3 ขอบเขตด้านสถานท่ี ภาควชิ าเคมี ชั้น 3 ตึกวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรา้ ไพพรรณี 1.3.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา กนั ยายน 2561 – ตุลาคม 2562 1.4 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ 1.4.1 ใชผ้ ลิตภณั ฑธ์ รรมชาตแิ ทนการใชส้ ารเคมี เพื่อลดอันตรายต่อหนังศีรษะ 1.4.2 ใชว้ ัสดุท่ีเหลอื ใชจ้ ากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์
3 บทท่ี 2 ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในงานวจิ ัยครงั้ น้ี เป็นการศึกษาสียอ้ มผมจากสารสกัดธรรมชาตจิ ากใบเทียนก่ิง เปลือกมงั คุด และกะหลา้่ ปลีสีมว่ ง เพื่อนา้ สารสกัดธรรมชาติเหล่านี้ มาศึกษาการดูดซับของเสน้ ผมทผี่ ่านการฟอกขาว และเสน้ ผมขาวธรรมชาติ 2.1 สารสกดั ธรรมชาตทิ ม่ี สี ี สารสกัดธรรมชาติคือ สารที่สกัดได้จากพืชพรรณตามธรรมชาติ โดยงานวิจัยน้ีได้สนใจท่ีจะ ศึกษาสารสีท่ีสกัดจากใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล่้าปลีสีม่วง เพ่ือน้าสารสีที่สกัดได้มาท้าเป็น นา้ ยายอ้ มผมแทนการใชส้ ารเคมี 2.1.1 เทยี นกิ่ง เทียนกิ่งมีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Lawsonia inermis อยู่ในตระกูล Lytbraceae ส่วนที่มี ประโยชน์ คือ ส่วนของใบมีสารแอนทราควิโนน ไกลโคไซด์ (Anthraquinone Glycosides) มีฤทธิ์ฆ่าเช้ือ หนอง โดยน้าใบเทยี นกิง่ และหวั ขมน้ิ ชนั ต้าด้วยกนั เปน็ ยาพอกจมกู เลบ็ ทเี่ ป็นหนองหรือเล็บถอด จะช่วย ดูดหนอง และฆา่ เชื้อหนองได้เป็นอย่างดี และภายในใบเทียนก่ิง มีสารฝาดสมาน (Tannin) แก้โรคท้องร่วง โดยน้าใบเทียนก่ิงไปปิ้งไฟ ชงน้าดื่มแก้โรคท้องร่วงในเด็ก นอกจากนี้ใบเทียนก่ิงน้ามาใช้เป็นสีย้อมผม เครา และเล็บ ให้มีสีน้าตาลปนแดง และใช้เป็นยาขัดหนังได้ เทียนกิ่งเป็นไม้ประดับท่ีให้ดอกสีแดง สีขาว และมีกลิ่นหอม ใช้เป็นส่วนผสมในการท้าบุหงาในงานมงคล ผลประกอบด้วยเมล็ดเป็นจ้านวนมาก มักปลูกเป็นไมป้ ระดับตามบ้าน ภาพท่ี 2.1 ตน้ เทยี นก่ิง ทมี่ า: Medthai (2017a) จากภาพท่ี 2.1 แสดงลักษณะของต้นเทียนกิ่ง เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อยขนาดกลาง มีความสูง ของต้นประมาณ 3-6 เมตร ล้าต้นแตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มกว้าง ลักษณะของกิ่งก้านเมื่อยังอ่อน จะเป็นสีเขียว ก่ิงเม่ือแก่จะมีหนาม เปลือกล้าต้นเรียบเป็นสีน้าตาลอมเทา ผิวขรุขระ ขยายพันธุ์ด้วย วิธกี ารเพาะเมล็ด เจรญิ เติบโตไดเ้ ร็ว ขึ้นได้ดใี นดินทกุ ชนิดท่ีมคี วามชนื้ ปานกลางถึงต้า่ ชอบแสงแดด
4 ภาพท่ี 2.2 ใบเทยี นกิ่ง ท่มี า: Medthai (2017a) จากภาพที่ 2.2 แสดงลักษณะของใบเทียนก่ิง ใบมีขนาดเล็ก ลักษณะของใบเป็นรูปรี หรือรูปรแี กมรปู ใบหอก ปลายใบแหลมโค้ง โคนใบแหลมเรียวสอบเข้าหากันหรือเป็นรูปล่ิม ส่วนขอบ ใบเรยี บ ใบมขี นาดกว้างประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 2-4.5 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียว เนอื้ ใบค่อนขา้ งหนา และแขง็ กา้ นใบส้ัน (ก) (ข) ภาพท่ี 2.3 ดอกเทยี นกง่ิ (ก) พนั ธ์ุดอกแดง และ (ข) พนั ธด์ุ อกขาว ที่มา: Medthai (2017a) จากภาพที่ 2.3 แสดงลักษณะของดอกเทียนกิ่ง ออกดอกเป็นช่อติดกันเป็นกระจุกยาว โดยจะออกตามยอดกิ่ง ดอกย่อยมีขนาดเล็ก แบ่งเป็นสองสายพันธ์ุคือ พันธ์ุดอกแดง ดังภาพท่ี 2.3 (ก) และพันธุ์ดอกขาว ดังภาพที่ 2.3 (ข) ดอกมีกล่ินหอมแบบอ่อน ๆ ช่อดอกยาวประมาณ 9-14 เซนติเมตร พันธ์ุดอกขาวดอกจะเป็นสีเหลืองอมเขียว กลีบดอกแยกเป็นกลีบ 4 กลีบ ปลายกลีบมน มีรอยย่นยับ กลีบดอกมีขนาดยาวประมาณ 3-5 มิลลิเมตร ท่ีฐานดอกมีกลีบเลี้ยงดอกเชื่อมติดกันยาวประมาณ 2-2.5 มิลลิเมตร ที่กลางดอกมีเกสรเพศผู้ 8 ก้านและเกสรเพศเมีย 1 ก้าน เมื่อดอกบานเต็มท่ีจะมี ขนาดกวา้ งประมาณ 8-10 มลิ ลิเมตร สามารถออกดอกไดต้ ลอดทง้ั ปี ดอกรว่ งไดง้ ่าย
5 (ก) (ข) ภาพที่ 2.4 ผลเทียนกิ่ง (ก) ผลอ่อน และ (ข) ผลแก่ ทม่ี า: Medthai (2017a) จากภาพที่ 2.4 แสดงลักษณะของผลเทียนก่ิง ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมคล้ายกับ เมล็ดพริกไทย ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-7 มิลลิเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว ดังภาพท่ี 2.4 (ก) เม่ือสุกหรือแก่เต็มที่แล้วจะเป็นสีน้าตาล ดังภาพท่ี 2.4 (ข) และแตกได้ ภายในผลมีเมล็ดสีน้าตาลเข้ม จา้ นวนมากอัดกนั แนน่ ลกั ษณะของเมลด็ เป็นเหลีย่ ม 2.1.2 มังคุด มังคุด (Mangosteen) ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Garcinia mangostana Linn. เป็น พันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบเขตร้อน มีถ่ินก้าเนิดอยู่ท่ีหมู่เกาะซุนดา (Sunda Islands) และหมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) แพรก่ ระจายพันธ์ุไปสู่หมเู่ กาะอนิ ดีสตะวนั ตก (West Indies) เมื่อราวพุทธศตวรรษท่ี 24 จึงไปสู่ กัวเตมาลา (Guatemala) ฮอนดูรัส (Honduras) ปานามา (Panamá) เอกวาดอร์ (Ecuador) ไป- จนถงึ ฮาวาย (Hawaii) ในประเทศไทยมกี ารปลูกมังคุดมานาน เพราะมกี ลา่ วถึงในพระราชนิพนธ์ เร่ือง “รามเกียรติ์” ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากน้ัน ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็นท่ีตั้งของวังที่มี ชื่อว่า “วังสวนมังคุด” มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก ได้รับการขนานนามว่าเป็น “ราชินีของผลไม้” อาจเป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเล้ียงติดอยู่ที่หัวขั้วของผลคล้าย มงกุฎของพระราชินี ส่วนเนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติท่ีหวานอร่อย การรับประทานมังคุดเป็น ประจา้ จะช่วยส่งเสริมให้มีสุขภาพจติ ดี อารมณ์ดีอยู่เสมอ ช่วยลดระดับไขมันในร่างกาย และลดไขมัน ทไี่ มด่ ีในเส้นเลือด เน้ือมังคุด มีเส้นกากใยสูง ช่วยเร่ืองการขับถ่าย และมีวิตามินเกลือแร่สูง เช่น กรด- อนิ ทรีย์ น้าตาล แคลเซียม (Calcium) ฟอสฟอรัส (Phosphorus) และเหล็ก ส่วนเปลือกของมังคุด มีสารให้รสฝาด คือ แทนนิน (Tannin) แซนโทน (Xanthones) และแมงโกสติน ซ่ึงแทนนินมีฤทธ์ิ ฝาดสมาน ท้าให้แผลหายเร็ว ส่วนแมงโกสตินช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเช้ือแบคทีเรียที่ท้าให้ เกิดหนองได้ดี (Amprohealth, 2018) นอกจากนี้ เปลอื กมังคดุ มีสารป้องกันเช้ือราเหมาะแก่การหมักป๋ยุ โดยลักษณะของต้นมังคุดเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเลี้ยงเด่ียวเรียงตรงข้ามรูปไข่หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน กว้างประมาณ 6-11 เซนติเมตร ยาว ประมาณ 15-25 เซนติเมตร เน้ือใบหนาและค่อนข้างเหนียวคล้ายหนัง หลังใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ทอ้ งใบสอี อ่ นกว่า ดอกเดยี่ วหรอื เป็นคู่ ออกท่ซี อกใบใกล้ปลายกิ่ง สมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบเลี้ยง สีเขียวอมเหลืองติดอยู่จนเป็นผล กลีบดอกสีแดง ฉา่้ น้า ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม เปลือกนอก ค่อนข้างแข็ง แก่เต็มที่มีสีม่วงแดง ยางสีเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 เซนติเมตร เน้ือในมีสีขาวฉ่้า
6 อาจมีเมล็ดอยู่ในเนื้อผลได้ ข้ึนอยู่กับขนาด และอายุของผล จ้านวนกลีบของเน้ือจะเท่ากับจา้ นวน กลีบดอกที่อยู่ด้านล่างของเปลือก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 -5 เซนติเมตร เมล็ดไม่สามารถใช้ รับประทานได้ ส่วนของเนื้อผลท่ีกินได้ มังคุดมีพันธุ์พ้ืนเมืองเพียงพันธุ์เดียว แต่ถ้าปลูกต่างบริเวณกัน อาจมีความผันแปรไปได้บ้าง ในประเทศไทยจะพบความแตกต่างได้ระหว่างมังคุดในแถบภาค กลางหรือมังคุดเมืองนนทบุรีที่มีลักษณะผลเล็ก ขั้วยาว เปลือกบาง กับมังคุดทางภาคใต้ที่มี ลักษณะผลใหญ่กว่า ข้ัวผลส้ัน เปลือกหนา ปัจจุบันมีการเพาะปลูก และขายบนเกาะบางเกาะใน หมู่เกาะฮาวาย ต้นมังคุดต้องปลูกในสภาพอากาศอบอุ่น หากอุณหภูมิลดลงต้่ากว่า 4 องศาเซลเซียส จะท้าให้ต้นมังคุดตายได้ โดยแสดงดังภาพที่ 2.5 ภาพท่ี 2.5 ตน้ มงั คุด ท่มี า: Medthai (2017b) 2.1.3 กะหลา่ ปลสี ีม่วง กะหล้่าปลีสีม่วง (Purple Cabbage) ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica oleracea L. var. capitata L. อยู่ในวงศ์ Brassicaceae กะหลา่้ ปลีสีม่วงเป็นกะหล้่าปลีชนิดหนึ่งเป็นพืชผัก สมุนไพรที่เจริญเติบโตได้ดีในอากาศเย็น เป็นพืชล้มลุก กะหล่้าปลีสีม่วงมีประโยชน์ และสรรพคุณ แก้ร้อนใน แก้ลักปิดลักเปิด ช่วยลดแผลอักเสบ ช่วยป้องกันโรคหัวใจ ช่วยป้องกันโรคหลอดเลือด ช่วยรกั ษาโรคกระเพาะอาหาร ช่วยป้องกันมะเร็งล้าไส้ ช่วยลดปวดแก้นมคัดแม่หลังคลอด ช่วยบ้ารุงสมอง ป้องกันโรคอัลไซเมอร์ ช่วยลดคอเลสเตอรอล ช่วยลดความดันโลหิต ช่วยลดน้าตาลในเลือด ช่วยขับถ่าย แก้ท้องผูก แก้จุกเสียดแน่นท้อง ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ช่วยบ้ารุงผิวพรรณ ช่วยขับสารพิ ษ ช่วยบา้ รุงไต ช่วยลดอาการปวดศีรษะ ช่วยขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร ช่วยลดความเครียด ช่วยรักษา โรคเลือดออกตามไรฟนั และช่วยระงบั ประสาท เปน็ ตน้
7 ภาพที่ 2.6 กะหล้า่ ปลีสีม่วง ที่มา: Thaiza (2014) จากภาพท่ี 2.6 แสดงลักษณะของกะหล้่าปลีสีม่วง มีล้าต้นลักษณะกลมส้ัน ๆ เป็นข้อ จะมีก้านใบหุ้มโดยรอบล้าต้น เป็นใบเลี้ยงเด่ียว ใบออกเรียงเวียนตรงข้อรอบล้าต้น ใบมีลักษณะทรงกลม มีใบหนากว้าง ใบเป็นคล่ืน ขอบใบย่น มีก้านใบสั้นหุ้มโดยรอบล้าต้น มีใบหุ้มซ้อนกันแน่นหลายชั้น หัวห่อหุ้มกลมแน่นมีสีแดง สีม่วงแก่หรืออ่อน สีแดงทับทิม ตามสายพันธุ์ มีรสชาติหวานกรอบ มีกลิ่น เฉพาะตวั ในประเทศไทยปลูกข้ึนได้ดใี นภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือจะนยิ มปลูกในฤดูหนาว 2.2 โครงสรา้ งของเสน้ ผม โครงสร้างของเส้นผม (Hair Structure) เส้นผมของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก คือ ส่วนทีอ่ ยู่ใต้หนังศีรษะ เรียกว่า รากผม ส่วนที่สอง คือส่วนที่งอกออกมาจากรากผม เรียกกว่า เส้นผม ซึ่งในแต่ละคนจะมีลักษณะของโครงสร้างของเส้นผมที่ต่างกันไป ท้าให้ผมของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เช่น บางคนผมตรง บางคนผมหยิก ผมหยักศก หรือแม้แต่สีผม บางคนผมสีด้า สีน้าตาล หรือสีทอง ในเสน้ ผม 1 เส้นจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 2.2.1 เกล็ดผม ประกอบขึ้นจากเซลล์เคราติน (Keratin) มีลักษณะเป็นเกล็ดใส เรียงซ้อนกัน ผมช้ันนี้จะช่วยป้องกันฝุ่นละอองหรือส่ิงสกปรกที่ติดมากับเส้นผมในขณะท่ีเราใช้ชีวิตประจ้าวัน เช่น เหงื่อ ความมัน หรือฝุ่นละออง เพ่ือไม่ให้สิ่งเหล่านี้เข้าไปท้าลายเนื้อเส้นผมด้านใน นอกจากน้ียังช่วย ปกป้องผมด้านในไม่ให้เสียความชุ่มช้ืน เกล็ดผมท่ีปิดสนิท และเรียบ บ่งบอกถึงสภาพเส้นผมท่ีได้รับ การบ้ารุงดูแลอยู่อย่างสม้่าเสมอ ส่วนเกล็ดผมที่ถูกท้าลาย หากเราไม่ได้บ้ารุงผมหรือปิดเกล็ดผม ก็จะท้าให้เกล็ดผมฉีกขาด และไม่สามารถเรียงตัวได้ ผมจะแห้งเสีย ชี้ฟู จัดทรงยาก ไม่เงางาม การ ปิดเกลด็ ผมท้าได้ เชน่ การใช้ครมี นวดผมหลังสระผม เป็นต้น 2.2.2 เน้อื ผม เปน็ ช้นั ผมท่ีมคี วามหนามากทีส่ ุด ประกอบด้วยเส้นใยจากโปรตีน และเคราติน เป็นส่วนใหญ่ ท้าให้ผมมีความแข็งแรง และยืดหยุ่น หากเนื้อผมชั้นน้ีโดนท้าลายก็จะท้าให้เส้นผมอ่อนแอ ขาดหลุดร่วงได้ง่าย และท้าให้ผมเกิดการแตกปลาย นอกจากน้ีเน้ือผมยังมีเมลานิน (Melanin) อยู่จา้ นวนมากทา้ ให้เกดิ เปน็ สผี มของแต่ละคนท่ีแตกต่างกัน 2.2.3 แกนผม คือส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของเส้นผม เกิดจากโปรตีน และไขมัน เส้นผมที่ดีจะมีแกนผม เพือ่ เพิม่ ความหนาใหก้ ับเสน้ ผม ส่วนมากจะพบในคนท่ีมีเส้นผมแข็งแรง คนที่เส้นผมบางส่วนใหญ่ไม่มี แกนผม
8 2.3 ผมขาวหรอื ผมหงอก ผมหงอก (Gray Hair) หรือผมขาว เป็นผลมาจากการลดลงของเม็ดสี ในขณะท่ีผมขาวคือผมท่ีไม่มี เม็ดสี สมมติฐานหนึ่งของการเกิดผมสีขาว-เทา มาจากกรรมพันธุ์ เมื่ออายุเพ่ิมมากข้ึนสีผมของทุกคน จะเปล่ียนจากสีด้าเป็นสีขาว ซ่ึงโอกาสที่เพิ่มข้ึนถึง ร้อยละ 10-20 เม่ือเข้าสู่วัย 30 ปี เส้นผมของแต่ละคน ไดส้ ธี รรมชาติมาจากเม็ดสีท่ีเรียกว่า เมลานิน ซ่ึงถูกสร้างมาตั้งแต่อยู่ในครรภ์ สีตามธรรมชาติของเส้นผม จงึ ข้นึ อยกู่ ับ การกระจายตัว ชนิด และปริมาณเม็ดสีเมลานินในชั้นกลางของเส้นผม เม็ดสีของผมมี 2 ชนิด คือ เม็ดสีเข้ม เรียกว่า ยูเมลานิน (Eumelanin) และเม็ดสีอ่อน เรียกว่า ฟีโอเมลานิน (Pheomelanin) ซง่ึ เม็ดสที ้งั 2 ชนดิ เมือ่ ผสมกันแลว้ จะได้เฉดสีผมท่ีหลากหลาย เม็ดสีเมลานินนน้ั ถูกสร้างมาจากเซลล์เม็ดสี ที่มีช่ือเฉพาะว่า เมลาโนไซต์ (Melanocyte) ซึ่งอยู่บริเวณชั้นผิวด้านบนเส้นผม โดยเส้นผมแต่ละเส้น จะงอกข้นึ มาจากปุ่มรากผม นอกจากนีย้ งั ขน้ึ กบั เช้ือชาติ โดยวงจรชวี ติ ของเส้นผม มี 3 ระยะ ดังต่อไปนี้ 2.3.1 ระยะการเจรญิ เติบโต เป็นระยะเวลาท่ีเส้นผมใหม่งอกข้ึน มีระยะเวลาประมาณ 3-7 ปี และเมื่ออายุมากขึ้น ระยะการเจริญเติบโตจะสั้นลง ซึ่งในระยะนี้เส้นผมจะงอกเร็วประมาณ 0.35 มิลลิเมตรต่อวัน (ร้อยละ 90 ของเส้นผมอยู่ในระยะการเจริญเติบโต) 2.3.2 ระยะเส้นผมพักตัว เป็นระยะสิ้นสุดการเจริญเติบโตแล้ว และเส้นผมจะเข้าสู่ระยะพักตัว ประมาณ 3 สัปดาห์ ในระยะนี้เส้นผมแยกตัวจากหลอดเลือดท่ีมาหล่อเลี้ยง ท้าให้ขาดสารอาหาร ก่อใหเ้ กดิ การหลดุ รว่ ง (ร้อยละ 10 ของเสน้ ผมอยใู่ นระยะพัก) 2.3.3 ระยะหยุดการเจริญเติบโต เส้นผมเข้าสู่ระยะนี้เม่ือการเจริญของเส้นผมน้ันสมบูรณ์แล้ว คือ งอก และหลุดร่วงไป ส่วนใหญ่เส้นผมบนหนังศีรษะจะอยู่ในระยะนี้ประมาณร้อยละ 10-15 ซ่ึงเป็น ระยะท่ีไม่มีเส้นผม หลังจากน้ันร่างกายก็จะสร้างขนระยะการเจริญเติบโตให้เกิดขึ้นมาใหม่แทนที่ เป็นวัฏจักร เมื่อเร่ิมสร้างเส้นผม เซลล์เมลาโนไซต์จะให้เม็ดสีเมลานินกับเซลล์ที่มีเคราติน ท้าให้ โครงสร้างเหล่าน้ีมีสีสันที่แตกต่างกันไป นอกจากนี้การท่ีเส้นผมเปลี่ยนเป็นสีเทา หรือมีผมหงอกเป็น เป็นไปตามวัย และกรรมพันธ์ุ เนื่องจากยีนส์ที่ควบคุมการเสื่อมประสิทธิภาพของเม็ดสีของแต่ละ ปุ่มรากผม ทา้ ให้ผมแต่ละเส้นของแต่ละคนมีอัตราการหลุดร่วง และเกิดผมหงอกผมขาวเร็วหรือ ชา้ แตกตา่ งกันไป ซ่ึงปัจจัยอื่น ๆ ท่ีสามารถเปล่ียนสีของเส้นผม แบ่งเป็นปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ดงั น้ี 1) ปัจจัยภายใน เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรม ฮอร์โมน อายุ และการกระจายตัว ของสารตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย เป็นตน้ 2) ปจั จัยภายนอก เช่น สภาพภูมิอากาศ มลพิษ สารพิษ การสัมผัสกับสารเคมี เป็นต้น และยังพบว่าปุ่มรากผมน้ันสามารถสร้างไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (Hydrogen Peroxide) ที่ท้าให้สีเส้นผม หายไปได้ โดยท้าให้อนมุ ูลอสิ ระเขา้ ไปทา้ ลายเซลล์ตา่ ง ๆ ท่ีมีผลตอ่ สีของเส้นผมอีกด้วย 2.4 ทฤษฎีการดูดซบั 2.4.1 การดูดซับ (Adsorption) คือปรากฏการณ์ท่ีเกิดความสมดุลในการแยกสารประกอบ ประเภทไม่ชอบน้า ไปยังพ้ืนผิวของระบบอ่ืน ๆ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลวเช่นน้า และส่วนที่ เปน็ ของแข็ง เช่น ดิน ฮิวมัส หรือผงกัมมันต์ กระบวนการทางกายภาพที่เกิดข้ึนเมื่อสารปนเป้ือนแยก
9 ไปยังของแข็งมักจะเกี่ยวกับพันธะที่ไม่แข็งแรง สามารถย้อนกลับได้ (สิริจิตติ์ แสงอุ่นอุรัย, 2544) การดูดซบั แบง่ ออกได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1) สารดูดซับ (Absorbent) คือสารของแข็ง ที่ดูดซับสารเคมีไว้ ซึ่งในทางการจัดการ ของเสียอนั ตรายรวมถงึ ดนิ สลัดจ์ ช้ันนา้ ใต้ ของระบบน้าใตด้ ิน และถ่านกมั มนั ตแ์ บบเกล็ด 2) สารถูกดูดซับ (Adsorbate) คือสารประกอบในเฟสของเหลว ซึ่งถูกแยกไปยังสารดูดซับ เฟสของเหลวมกั จะเป็นนา้ แต่กรณีทเ่ี ป็นตัวท้าละลายอนิ ทรยี ์ก็พบบา้ งเปน็ กรณีพเิ ศษ 2.4.2 ประเภทของการดูดซับ คือ ปัจจัยส้าคัญในการบอกชนิดของกระบวนการดูดซับ จะพิจารณาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ถูกดูดซับกับผิวของสารดูดซับ ถ้าแรงยึดเหนี่ยว เป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals Force) จะเป็นการดดู ซับทางกายภาพ แตถ่ ้าแรงยดึ เหนี่ยว ทา้ ให้เกิดพันธะเคมรี ะหวา่ งโมเลกลุ ที่ถูกดดู ซับกบั ผวิ ของสารดูดซับจะเรียกว่า การดดู ซบั ทางเคมี ดงั น้ี 1) การดดู ซับทางกายภาพ เปน็ การดูดซับทเ่ี กดิ จากแรงดึงดดู ระหว่างโมเลกุลอย่างอ่อน คือ แรงแวนเดอร์วาลส์ เป็นการดึงดูดด้วยแรงท่ีอ่อนท้าให้การดูดซับประเภทน้ีมีพลังงานการคาย ความร้อนค่อนข้างน้อย คือ ต่้ากว่า 20 กิโลจูลต่อโมล และสามารถเกิดการผันกลับของกระบวนการ ได้ง่าย ซ่ึงเป็นข้อดีเพราะสามารถฟ้ืนฟูสภาพของตัวดูดซับได้ง่ายด้วยสารท่ีถูกดูดซับสามารถเกาะอยู่ รอบผิวของสารดูดซับได้หลายชั้น หรือในแต่ละชั้นของโมเลกุลสารถูกดูดซับจะติดอยู่กับช้ันของ โมเลกุลของสารถูกดูดซับในช้ันก่อนหน้าน้ี โดยจ้านวนช้ันจะเป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นของสารถูกดูดซับ และจะเพิม่ มากข้นึ ตามความเขม้ ข้นท่สี งู ขึน้ ของตัวถูกละลายในสารละลาย 2) การดูดซับทางเคมี การดูดซับประเภทน้ีเกิดข้ึนเม่ือตัวถูกดูดซับกับตัวดูดซับเกิด การท้าปฏิกิริยาเคมีกัน ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของตัวถูกดูดซับเดิม คือมี ก า ร ท้ า ล า ย แรงยึ ดเหนี่ ยวระหว่ างอะตอมหรื อกลุ่ มอะตอมเดิ มแล้ วมี การจั ดเรี ยงอะตอมไปเป็ น สารประกอบใหม่ข้ึน โดยมีพันธะเคมีซึ่งเป็นพันธะที่แข็งแรงมีพลังงานกระตุ้นเข้ามาเกี่ยวข้อง ท้าให้ความร้อนของการดูดซับมีค่าสูงประมาณ 50-400 กิโลจูลต่อโมล ซึ่งแสดงว่าการก้าจัดตัวถูกดูดซับ ออกจากผิวตัวดูดซับจะท้าได้ยาก คือไม่สามารถเกิดปฏิกิริยาผันกลับได้ และการดูดซับประเภทน้ีจะเป็น การดูดซับแบบชั้นเดียว เทา่ นั้น (Pradthana, 2008) 2.5 งานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง กานดา หวังอีน และคณะ (2557) ศึกษาผลิตภัณฑ์เปล่ียนสีผมจากสารสกัดใบเทียนกิ่ง เพ่ือ น้ามาผลิตเปน็ ครมี เปลย่ี นสีผม จากการทดลองสกดั สจี ากใบเทียนกิ่งดว้ ยวิธกี ารสกัดเย็น และสกัดร้อน โดยใช้ ตัวท้าละลายชนิดต่าง ๆ พบว่า สารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) เข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวลต่อปริมาตร เป็นตัวท้าละลายที่มีประสิทธิภาพในการสกัดสูงสุด รองลงมาได้แก่ สารละลาย โซเดียมคาร์บอเนต เข้มข้นร้อยละ 2.5 โดยมวลต่อปริมาตร น้า และ เอทานอล (Ethanol) เข้มข้น รอ้ ยละ 95 โดยมวลตอ่ ปริมาตร ตามลา้ ดับ แต่การสกัดด้วยน้าให้ผลการย้อมติดสีผมดีท่ีสุด น้าจึงเป็น ตัวท้าละลายที่เหมาะสมทส่ี ดุ ในการสกดั ด้วยวิธกี ารสกดั ร้อน จุฬาลักษณ์ ก่ิงรัตน์ (2556) งานวิจัยนี้พัฒนาสารย้อมผมธรรมชาติจากใบเทียนก่ิง ศึกษาการ- พัฒนาสูตรน้ายาย้อมผมด้วยเครื่องวิเคราะห์การดูดกลืนแสง เคร่ืองยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (UV-Visible Spectrophotometer) รวมถึงศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดด้วยเคร่ือง
10 ฟูเรียร์ ทรานส์ฟอร์ม อินฟราเรด สเปคโทรมิเตอร์ (Fourier Transform Infrared Spectrometer) และเครื่องวิเคราะห์โครงสร้างสารประกอบด้วยเทคนิคนิวเคลียร์แมกเนติคเรโซแนนซ์ (Nuclear Magnetic Resonance Spectroscopy) การสกัดสารออกจากตัวอย่างใบเทียนก่ิงโดยใช้เอทานอล เปน็ ตัวทา้ ละลาย การพัฒนาสูตรนา้ ยายอ้ มผมด้วยเทคนิคยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตเมทรี (UV-Visible Spectrophotometry) ที่ความยาวคลื่นสูงสุด 410 นาโนเมตร เพื่อทดสอบการติดสีบนเส้นผม เมื่อท้าการปรับเปลี่ยนอัตราส่วนระหว่างใบเทียนกิ่ง (พืชหลัก) และกาแฟ (พืชรอง) พบว่าสูตรท่ี เหมาะสมที่สุด คือ ใบเทียนกิ่ง : กาแฟ : กรด : เวลา (กรมั : กรัม : มลิ ลิลิตร : ช่ัวโมง) เทา่ กบั 60 : 4 : 4 : 8 ซึ่งมีค่าการดูดกลืนแสง เท่ากับ 0.088 เม่ือท้าการปรับเปล่ียนอัตราส่วนของกรด (มะนาว) ในน้ายาย้อมผม พบว่าสูตรที่เหมาะสมที่สุด คือใบเทียนกิ่ง : กาแฟ : กรด : เวลา (กรัม : กรัม: มิลลิลิตร : ชั่วโมง) เท่ากับ 60 : 4 : 6 : 8 ซึ่งมีค่าการดูดกลืนแสง เท่ากับ 0.070 และ เมื่อท้าการปรับเปลี่ยนอัตราส่วนของเวลาในน้ายาย้อมผม พบว่าสูตรที่เหมาะสมที่สุดคือ ใบเทียนกิ่ง : กาแฟ : กรด : เวลา (กรัม : กรัม : มิลลิลิตร : ช่ัวโมง) เท่ากับ 60 : 4 : 4 : 8 ซ่ึงมีค่า การดดู กลนื แสง เทา่ กับ 0.092 นิสาพร มูหะมัด และคณะ (2559) ศึกษาความสามารถในการดูดซับสีย้อม เมทิลีนบลู (Methyleneblue) ของกากชาท่เี หลอื ใช้ โดยศกึ ษาสภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับ คือ ปริมาณกากชา ท่ีเหมาะสม (0.1-1.6 กรัม) ความเข้มข้นท่ีเหมาะสมของสีย้อม (6.5-65 มิลลิกรัมต่อลิตร) ความเป็น กรด-เบส (pH) ของสีย้อมประมาณ 3-11 และศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการดูดซับที่ 25-95 องศาเซลเซียส โดยการตรวจวัดค่าดูดกลืนแสงของสีเมทิลีนบลูด้วยเทคนิคสเปคโตรสโกปี (Spectroscopy) ท่คี วามยาวคลืน่ 667 นาโนเมตรพร้อมทั้งศกึ ษาสภาพพ้ืนผิวกอ่ น และหลงั การดดู ซับ สยี ้อมของกากชาโดยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) ผลการศึกษาพบว่า ความสามารถในการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูความเข้มข้น 13 มิลลิกรัมต่อลิตร ด้วยกากชาปริมาณ 0.1 กรัม มีค่าประมาณ 12.70 มิลลิกรัมต่อกรัม ที่ความเป็นกรด-เบสของสีย้อม ประมาณ 8 และกากชาสามารถดูดซับสีย้อมได้ดีท่ีอุณหภูมิตั้งแต่ 70 องศาเซลเซียส โดยมีค่าการดูดซับ ประมาณ 12.60 มลิ ลิกรมั ตอ่ กรมั ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ และคณะ (2557) ได้ศึกษาการเตรียมสีผงจากสีย้อมธรรมชาติ โดยหาสภาวะท่ีเหมาะสมในการแปรรูปสีย้อมธรรมชาติให้อยู่ในรูปสีผง และศึกษาเสถียรภาพของ สียอ้ มธรรมชาตทิ ผี่ า่ นการแปรรปู เพ่อื ใหไ้ ด้เทคนิคการเตรียมสีผงที่เหมาะสมกับการใช้งาน โดยสกัดสีย้อม จากวัสดุธรรมชาติ ท่ีน้ามาใช้ในการสกัดให้เป็นสีผง ได้แก่ คร่ัง แก่นมะเกลือ แก่นฝาง ขมิ้นชัน และ ดอกอัญชันแห้ง โดยน้าน้าสีที่สกัดได้มาท้าให้เป็นสีผงด้วยการเปรียบเทียบ 3 วิธีการ คือ การอบแห้ง การใชเ้ กลือดูดซบั และการใช้เกลือตกตะกอน การเปรียบเทียบสีผงที่ได้จะท้าโดยการย้อมสีลงบนผ้าไหม น้าไปวัดค่าการติดสีทดสอบความคงทนของสีต่อการซักล้าง และความคงทนสีต่อแสงแดด ผลการ- ทดลองในงานวิจัยนี้พบว่า วิธีการที่เหมาะสมในการเตรียมสีผงจากสีย้อมธรรมชาติ คือ การอบแห้ง และการใช้เกลือดูดซับ ส่วนวัสดุธรรมชาติที่เหมาะสมท่ีจะน้ามาเตรียมเป็นสีผงจากสีย้อมธรรมชาติคือ ครั่ง แก่นมะเกลือ แก่นฝาง และขมิ้นชัน ส่วนอัญชันไม่เหมาะสมที่จะน้ามาเตรียมเป็นสีผงจาก สีย้อมธรรมชาติเพราะ อัญชันมีความเสถียรน้อย เนื่องจากงานวิจัยนี้ได้ศึกษา เสถียรภาพของ สียอ้ มธรรมชาตทิ ี่ผ่านการแปรรูป
11 Kusumawati (2017) ศึกษาการย้อมผา้ โดยใชส้ ารสกดั ธรรมชาติจากเปลือกมังคุดสด โดยศึกษา ชนิดของตัวท่ีทา้ หน้าที่ยึดสีให้ติดบนผ้า 3 ชนิด ได้แก่ เหล็ก (II) ซัลเฟต (FeSO4.7H2O) สารส้ม (KAI(SO4)2.12H2O) และแคลเซียมออกไซด์ (CaO) โดยก่อนการย้อมจะน้าผ้าฝ้ายไปซักด้วยน้ามันตุรกีแดง และทา้ การศกึ ษาความคงทนของการติดสี และจ้านวนคร้ังของการย้อมซ้าที่ท้าให้ติดสี พบว่าผ้าฝ้ายที่ ย้อมด้วยสารสกัดจากเปลือกมังคุดสดให้สีที่แตกต่างกัน ตามชนิดของตัวท่ีท้าหน้าท่ียึดสีให้ติดบนผ้า โดยเหล็ก (II) ซัลเฟตจะได้สีเขียว สารส้มจะได้สีน้าตาลอ่อน และแคลเซียมออกไซด์จะได้สีน้าตาลเข้ม ซง่ึ จ้านวนคร้ังของการซกั เพื่อทดสอบความคงทนของการติดสี และจ้านวนครั้งของการย้อมซ้าที่ท้าให้ ติดสี จะมีความแตกต่างกนั ไปตามชนดิ ของตวั ที่ท้าหนา้ ท่ียดึ สี
12 บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ งานวิจัย งานวิจัยน้ีเป็นการศึกษาการดูดซับสีย้อมของเส้นผมโดยใช้สารสกัดธรรมชาติจากใบเทียนก่ิง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง เพื่อนา้ มาใช้ศึกษาการดูดซับบนเส้นผมท่ีผ่านการฟอกขาว และ เส้นผมขาวธรรมชาติให้ได้สีของสารสกัดธรรมชาติข้างต้น โดยไม่ใช้สารเคมี มีวิธีการทดลองท่ี เกย่ี วข้องกับงานวิจัย น้าเสนอตามหัวข้อตอ่ ไปนี้ 3.1 อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมอื 3.2.1 เคร่ืองชัง่ ทศนยิ ม 2 ตา้ แหน่ง (Analytical Balance) Precisa, 6200D 3.3.2 ตอู้ บ (Oven) Memmert, D 06061, Germany 3.2.3 ตะแกรงรอ่ น (Sieve) ขนาด 600 ไมครอน Endecotts, ASTME 11 3.2.4 กระดาษกรอง เบอร์ 1 (Filter Paper No.1) Whatman, 1001 125 3.2.5 เคร่ืองยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (UV-Visible Spectrophotometer) Thermo, Genesys 10S UV-VIS, Thailand 3.2.6 กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนศ์ใกล้ตา 2 เลนส์ (Binocular Microscope) Nikon, Eclipse E200 LED 3.2.7 สมาร์ทโฟน (Smartphone) Apple, i-Phone 8 plus 3.2.8 โถดูดความชนื้ (Desiccator) 3.2.9 เครอ่ื งแกว้ อ่นื ๆ (Glasswares) 3.2 สารเคมี 3.1.1 น้ายาฟอกสผี ม (Developer Liquids) Com Grade, Carebeau Fantasy 3.1.2 เหลา้ (Ethanol) Com Grade, รวงข้าว 3.1.3 แชมพู (Shampoo) Com Grade, Aily 3.1.4 น้ากลน่ั (Distilled Water, H2O) 3.3 วธิ ีการทดลอง 3.3.1 การเตรียมตัวอยา่ งเสน้ ผม 1) ผมฟอกขาว - น้าเส้นผมด้าธรรมชาติที่รวบรวมได้ในชุดเดียวกันจากร้านเสริมสวยในจังหวัด จนั ทบรุ ี มาท้าการสระใหส้ ะอาด - ฟอกให้สีอ่อนลงด้วยน้ายาฟอกสีผมในอัตราส่วนเส้นผมต่อน้ายาฟอกสีผม 1:1 (กรัม : กรมั ) ล้างเสน้ ผมด้วยแชมพู และเป่าใหแ้ ห้ง
13 2) ผมขาวธรรมชาติ - น้าตัวอย่างเส้นผมสีขาวธรรมชาติที่รวบรวมได้ในชุดเดียวกันจากการรับบริจาค สา้ หรบั งานวิจัย ในจงั หวัดจนั ทบรุ ี มาท้าการสระใหส้ ะอาดแล้วเปา่ ให้แห้ง 3.3.2 การเตรยี มตัวอยา่ งสารสใี นใบเทยี นกิ่ง เปลอื กมังคดุ และกะหลา่ ปลสี มี ว่ ง 1) เกบ็ ตัวอย่างใบเทยี นก่ิง ในอ้าเภอเมือง จังหวัดตราด เก็บตัวอย่างเปลือกมังคุด โดย เลือกใช้เปลือกมังคุดเฉพาะเปลือกด้านใน อ้าเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี และกะหล้่าปลีสีม่วง ท่ีซื้อ จากตลาดเจริญสุข ในอ้าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี จากนั้นน้าใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และ กะหลา้่ ปลีสีม่วง ไปตากใหแ้ หง้ 2) น้าใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง ไปอบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เพอ่ื ทา้ การไล่น้าออก จนกระทัง่ น้าหนักคงที่ 3) น้าใบเทียนก่ิง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง มาบดให้ละเอียด และน้ามาร่อน ดว้ ยตะแกรงร่อน 600 ไมครอน หรือ 30 เมช (Mesh) 4) น้าผงใบเทียนก่ิงท่ีได้มาผสมกับน้าร้อนให้ได้ความเข้มข้นร้อยละ 12.5 6.25 และ 3.125 โดยมวล 5) น้าผงเปลือกมังคุดท่ีได้มาผสมกับน้าร้อนให้ได้ความเข้มข้นร้อยละ 25 18.75 และ 12.5 โดยมวล 6) น้าผงจากกะหล้่าปลีสีม่วงที่ได้มาผสมกับน้าร้อนให้ได้ความเข้มข้นร้อยละ 25 12.5 และ 6.25 โดยมวล 7) คนให้เข้ากันเป็นเวลา 5 นาที และพักสารท้ิงไว้ 1 ชั่วโมง จากน้ันนา้ ไปกรองด้วย ผ้าขาวบาง 3.3.3 การศกึ ษาปจั จยั ทีม่ ีผลต่อประสิทธิภาพในการดูดซบั สารสีของเสน้ ผมท่ีผ่านการฟอกขาว 1) การศกึ ษาประสิทธิภาพของตัวประสานท่ชี ่วยในการติดสีของสยี ้อมบนเส้นผม - ตัวประสานท่ีเลือกใช้ คือ เหล้าขาว ท่ีมีความเข้มข้นของเอทานอล ร้อยละ 40 โดยปริมาตร - น้าสารสีจากใบเทียนกิ่งที่ความเข้มข้นสูงสุด ร้อยละ 12.5 โดยมวลผสมกับ ตัวประสาน และผมฟอกขาวในอตั ราส่วน 15:2:1 (กรัม : กรมั : กรัม) - จับเวลาในการดูดซับสารสขี องเสน้ ผมทีร่ ะยะเวลา 30 60 90 และ 120 นาที - น้าเส้นผมหลังการดูดซับสารสีมาล้างด้วยแชมพู และเป่าให้แห้ง - ท้าซ้ากระบวนการข้างต้น 3 ซา้ - น้าเส้นผมหลังการดดู ซบั มาวดั ค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงิน (Red, Green, Blue ; RGB) ท่ีติดอยู่บนเส้นผมด้วย แอพพลิเคชัน พิกเซล พิกเกอร์ (Pixel Picker Application) บนสมาร์ทโฟน บันทึกค่า และค้านวณเป็นค่าการดูดกลืนแสงเพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างของสีผมที่ ย้อมโดยไม่มีตวั ประสาน 2) การศกึ ษาสภาวะทเ่ี หมาะสมของการติดสีบนเส้นผม โดยใช้เส้นผมฟอกขาวในการศึกษา ปัจจัยตอ่ ไปนี้
14 - น้าเส้นผมฟอกขาวใส่ลงในบีกเกอร์สารสีจากใบเทียนก่ิงท่ีมีความเข้มข้นร้อยละ 12.5 6.25 และ 3.125 โดยมวล ในอัตราส่วนของเสน้ ผม และสารสี 60:1 (กรมั : กรัม) - จับเวลาในการดูดซับสารสีของเส้นผมที่ระยะเวลา 30 60 90 และ 120 นาที - น้าเส้นผมหลังการดูดซับสารสีมาล้างด้วยแชมพู และเป่าให้แห้ง - น้าเส้นผมหลังการดูดซับมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินด้วย แอพพลิเคชัน พิกเซล พิกเกอร์ บันทึกค่า และค้านวณเป็นค่าการดูดกลืนแสงเพ่ือเปรียบเทียบ ความแตกตา่ งของสผี ม - ท้าซ้าตามกระบวนการข้างต้นให้ครบ 3 ซ้า โดยเปล่ียนความเข้มข้นของสารสี จากใบเทยี นกิ่ง เป็นสารสีจากเปลือกมังคุดท่ีความเข้มข้นร้อยละ 25 18.75 และ 12.5 โดยมวล และ กะหล้่าปลสี มี ว่ งทีเ่ ข้มขน้ รอ้ ยละ 25 12.5 และ 6.25 โดยมวล ตามลา้ ดับ 3.3.4 การศึกษาประสิทธิภาพของการติดสีบนเส้นผมระหว่างเส้นผมที่ผ่านการฟอกขาว และเสน้ ผมขาวธรรมชาติ 1) เลือกความเข้มข้น และระยะเวลา ท่ีเส้นผมสามารถดูดซับสารสีจากใบเทียนกิ่ง เปลอื กมงั คุด และกะหล่้าปลีสีม่วงได้เข้มท่ีสุดบนเส้นผมฟอกขาวจากข้อ 3.3.3 มาย้อมกับเส้นผมขาว ธรรมชาติ เพอ่ื เปรยี บเทยี บการติดสบี นเสน้ ผมขาวธรรมชาติกบั ผมฟอกขาว 2) นา้ เสน้ ผมหลงั การดูดซับมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินท่ีติดอยู่บนเส้นผม ด้วยแอพพลิเคชัน พิกเซล พิกเกอร์ บันทึกค่า และค้านวณเป็นค่าการดูดกลืนแสง เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างของสผี ม 3.3.5 การศกึ ษาสภาพของเสน้ ผม จากสภาพเส้นผมท่ีใช้ในการวิจัยมีความแตกต่างกัน ซึ่งอาจส่งผลต่อการย้อมติดสี คณะผู้วิจัย จึงน้าเส้นผมที่ผ่านการฟอกขาว 1 ครั้ง และเส้นผมขาวธรรมชาติ มาตรวจสอบลักษณะ โครงสรา้ งพ้นื ฐานของเส้นผมด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์ 3.3.6 การศึกษาความคงทนของสารสีหลงั การดดู ซับบนเส้นผม 1) น้าเส้นผมที่ย้อมติดสีจากใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วงจากสภาวะ ที่เส้นผมสามารถดูดซับสารสีได้เข้มท่ีสุดไปทดสอบความคงทนของการติดสีโดยการล้างเส้นผมด้วย แชมพู และน้าสะอาด 2) นา้ เสน้ ผมหลงั การดดู ซับมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินท่ีติดอยู่บนเส้นผม ด้วยแอพพลิเคชัน พิกเซล พิกเกอร์ บันทึกค่า ค้านวณเป็นค่าการดูดกลืนแสง และบันทึกข้อมูล เป็นจา้ นวนคร้ังในการสระดว้ ยแชมพู และลา้ งนา้ สะอาด
15 บทที่ 4 ผลการดาเนินงานวิจยั และอภิปรายผล จากการศึกษาการดูดซับสารสธี รรมชาตทิ ่สี กัดได้จากใบเทียนก่ิง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง โดยน้าสารสีธรรมชาติท่ีได้มาย้อมกับเส้นผมที่ผ่านการฟอกขาว และผมขาวธรรมชาติท่ีความเข้มข้น และ ระยะเวลาตา่ ง ๆ โดยการศกึ ษาการวจิ ัยแบ่งออกเป็นหัวข้อ ดังน้ี การศึกษาประสิทธิภาพของตัวประสาน ปัจจัยที่มีผลต่อการติดสีของสารสีของใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง ประสิทธิภาพ ของการติดสีบนเส้นผมระหว่างเส้นผมฟอกขาว และเส้นผมขาวธรรมชาติ สภาพของเส้นผม และ ความคงทนของการติดสี ได้ผลการศึกษาดังน้ี 4.1 การศึกษาประสิทธิภาพของตวั ประสาน การศึกษาประสิทธิภาพของตัวประสานที่ใช้ในการย้อมผมด้วยสารสีธรรมชาติจากใบเทียนก่ิง ท่ีความเข้มข้นสูงสุด (ร้อยละ 12.5 โดยมวล) โดยใช้เส้นผมฟอกขาวในการดูดซับ และตัวประสาน ที่เลือกใช้ คือ เหล้าขาว ซึ่งผลท่ีได้จากการวัดความเข้มของแสงที่ติดบนเส้นผมด้วยการมองเห็น ได้ผลดังตารางท่ี 4.1 และการน้าผมที่ผ่านการย้อมสีของสารสีธรรมชาติจากใบเทียนก่ิงที่ไม่มีตัวประสาน และท่ีมีตัวประสาน มาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีนา้ เงินเพ่ือคา้ นวณหาค่าการดดู กลืนแสง ได้ผลดังภาพท่ี 4.1 ตารางท่ี 4.1 แสดงเส้นผมฟอกขาวท่ีผ่านการดูดซับสารสีของใบเทียนกิ่งที่มี และไม่มีตัวประสาน ท่ีความเข้มข้นร้อยละ 12.5 โดยมวล ที่ระยะเวลาต่าง ๆ เวลา (นาที) ไม่มีตวั ประสาน มตี ัวประสาน ชดุ ควบคุม 30 60 90 120
16 ภาพท่ี 4.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง และระยะเวลาต่าง ๆ ของการดูดซับสาร สีธรรมชาติจากใบเทยี นกิง่ บนเสน้ ผมที่มี และไมม่ ีตวั ประสาน จากการศึกษาพบว่า เมื่อเวลาเพิ่มข้ึน ความเข้มสีเพิ่มตามไปด้วย โดยผมที่ย้อมโดยไม่มีตัวประสาน มคี วามเข้มสมี ากกว่าท่ีมีตวั ประสาน อาจเนือ่ งมาจาก ตัวประสานท่ีใช้คือ เหล้าขาว ที่มีความเข้มข้น เอทานอล ร้อยละ 40 โดยปริมาตร มีค่าความเป็นกรด-เบส เท่ากับ 5.98 ซ่ึงมีความเป็นกรด ท้าให้ เส้นผมท่ีมีตัวประสาน มีความลื่นเพิ่มขึ้น เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของกรดจะมีความลื่น (อรุณรัตน์ จันทนขจรฟุ้ง, 2552) ดังนั้น การใช้ตัวประสานร่วมกับสารสีนั้นจึงไม่ท้าให้สีผมเข้มข้ึนกว่า การไมใ่ ช้ตวั ประสาน 4.2 การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการติดสีของสารสกัดใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และ กะหลา่ ปลีสีม่วง จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการติดสีของสารสกัดใบเทียนก่ิง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง ไดผ้ ลดงั ต่อไปน้ี 4.2.1 การตดิ สขี องสารสกัดธรรมชาติจากใบเทยี นกง่ิ การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการติดสีของสารสีธรรมชาติจากใบเทียนกิ่งที่ความเข้มข้น เร่ิมต้นร้อยละ 3.125 6.25 และ 12.5 โดยมวล ที่เวลา 30-120 นาที ซึ่งผลที่ได้จากการวัดความเข้ม ของสีท่ีติดบนเส้นผมด้วยการมองเห็น ได้ผลดังตารางที่ 4.2 และการน้าเส้นผมที่ผ่านการย้อมสีของ สารสกัดธรรมชาติจากใบเทียนก่ิงมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเพื่อค้านวณเป็น ค่าการดดู กลนื แสง ได้ผลดังภาพที่ 4.2 จากการศึกษาพบว่าเม่ือความเข้มข้น และระยะเวลาเพิ่มขึ้นเส้นผมมีความสามารถ ในการดูดซับสารสีจากใบเทียนก่ิงได้มากขึ้น เน่ืองจากระยะเวลาท่ีเพ่ิมข้ึน ส่งผลให้ระยะเวลาสัมผัส ของตัวดูดซับ และตัวถูกดูดซับมีระยะเวลาในการสัมผัสกันนานข้ึนท้าให้ความสามารถในการดูดซับ เพิ่มมากขึ้น (วิรังรอง แสงอรุณเลิศ, 2558) และเม่ือเพ่ิมความเข้มข้นของสารสี ท้าให้พ้ืนท่ีผิวสัมผัส ระหว่างตัวดูดซับ และตัวถูกดูดซับเพิ่มมากข้ึน (กนกวรรณ ศรีม่วง และกาญนิถา ครองธรรมชาติ,
17 2560) โดยสภาวะท่ีเส้นผมสามารถดูดซับสารสีใบเทียนกิ่งได้เข้มที่สุดที่ความเข้มข้นเร่ิมต้นร้อยละ 12.5 โดยมวล และระยะเวลา 120 นาที ตารางท่ี 4.2 แสดงเสน้ ผมฟอกขาวท่ีผ่านการดูดซบั สารสขี องใบเทียนกิง่ ท่ีความเข้มขน้ และระยะเวลาต่าง ๆ เวลา (นาท)ี ความเข้มขน้ ของสารสีใบเทียนก่ิง (ร้อยละโดยมวล) 3.125 6.25 12.5 ชุดควบคุม 30 60 90 120 ภาพที่ 4.2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง และระยะเวลาของการดูดซับสารสีของ ใบเทียนก่ิงของเสน้ ผมฟอกขาวท่คี วามเข้มขน้ และระยะเวลาตา่ ง ๆ
18 4.2.2 การตดิ สีของสารสกัดธรรมชาตจิ ากเปลือกมังคุด การศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการติดสีของสารสีธรรมชาติจากเปลือกมังคุดท่ีความเข้มข้น เริ่มต้นร้อยละ 12.5 18.75 และ 25 โดยมวล ที่เวลา 30-120 นาที ซึ่งผลท่ีได้จากการวัดความเข้ม ของสีที่ติดบนเส้นผมด้วยการมองเห็น ได้ผลดังตารางท่ี 4.3 และการน้าเส้นผมที่ผ่านการย้อมสีของ สารสกัดธรรมชาติจากเปลือกมังคุดมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเพ่ือค้านวณเป็นค่า การดดู กลืนแสง ได้ผลดงั ภาพที่ 4.3 ตารางท่ี 4.3 แสดงเส้นผมฟอกขาวที่ผ่านการดูดซับสารสีของเปลือกมังคุดที่ความเข้มข้น และ ระยะเวลาตา่ ง ๆ เวลา (นาที) ความเข้มข้นของสารสีเปลือกมังคุด (ร้อยละโดยมวล) 12.5 18.75 25 ชุดควบคุม 30 60 90 120 ภาพที่ 4.3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง และระยะเวลาของการดูดซับสารสี ของเปลือกมังคุดของเส้นผมฟอกขาวที่ความเข้มข้น และระยะเวลาต่าง ๆ
19 จากการศึกษาพบว่าเมื่อความเข้มข้น และระยะเวลาเพ่ิมขึ้นเส้นผมมีความสามารถในการดูดซับ สารสีจากเปลือกมังคุดได้มากข้ึน เนื่องจากระยะเวลาท่ีเพิ่มข้ึนส่งผลให้ตัวดูดซับ และตัวถูกดูดซับ มีระยะเวลาในการสัมผัสกันนานขึ้นท้าให้ความสามารถในการดูดซับเพิ่มมากข้ึน (วิรังรอง แสงอรุณเลิศ, 2558) และเมื่อเพ่ิมความเข้มข้นของสารสี ท้าให้พ้ืนที่ผิวสัมผัสระหว่างตัวดูดซับ และตัวถูกดูดซับเพ่ิม มากข้ึน (กนกวรรณ ศรีม่วง และกาญนิถา ครองธรรมชาติ, 2560) โดยสภาวะที่เส้นผมสามารถดูดซับ สารสีเปลือกมังคุดได้เข้มที่สุดท่ีความเข้มข้นเริ่มต้นร้อยละ 25 โดยมวล และระยะเวลาที่เส้นผมสามารถ ดูดซับสารสีได้เข้มท่ีสุดที่ 120 นาที โดยเส้นผมสามารถดูดซับสารสีจากเปลือกมังคุดได้น้อยมาก และให้สี ที่มคี วามใกล้เคยี งกบั เส้นผมฟอกขาวกอ่ นการดูดซับ เน่ืองจากสารสีเปลือกมังคุดที่สกัดได้ให้สีท่ีใกล้เคียง กับสขี องเส้นผมฟอกขาวทา้ ให้ความเข้มสีของเส้นผมเปลยี่ นแปลงเพียงเล็กน้อย 4.2.3 การติดสขี องสารสธี รรมชาติจากกะหล่าปลีสมี ว่ ง การ ศึกษาปั จจั ย ท่ีมีผล ต่อการ ติดสีของสาร ส กัดธ ร ร มช าติจาก กะหล้่ าป ลีสี ม่ว ง ที่ ความเข้มข้นเร่ิมต้น ร้อยละ 6.25 12.5 และ 25 โดยมวล ที่ระยะเวลา 30-120 นาที พบว่าเส้นผมสามารถ ดูดซับสารสีจากกะหล้่าปลีสีม่วงได้ ซึ่งผลที่ได้จากการวัดความเข้มของสีท่ีติดบนเส้นผมด้วยการ มองเห็น ได้ผลดังตารางท่ี 4.4 และการน้าเส้นผมท่ีผ่านการย้อมสีของสารสกัดธรรมชาติจาก กะหล้่าปลีสีม่วงมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเพื่อค้านวณเป็นค่าการดูดกลืนแสง ได้ผลดงั ภาพท่ี 4.4 ตารางท่ี 4.4 แสดงเส้นผมฟอกขาวท่ีผ่านการดูดซับสารสีของกะหล้่าปลีสีม่วงที่ความเข้มข้น และ ระยะเวลาต่าง ๆ เวลา (นาที) ความเข้มขน้ ของสารสีกะหล่าปลีสีม่วง (ร้อยละโดยมวล) 6.25 12.5 25 ชดุ ควบคุม 30 60 90 120
20 ภาพที่ 4.4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง และระยะเวลาของการดูดซับสารสีของ กะหล่้าปลีสีม่วงของเส้นผมฟอกขาวที่ความเข้มข้น และระยะเวลาต่าง ๆ จากการศึกษาพบว่าเมื่อความเข้มข้น และระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นเส้นผมมีความสามารถ ในการดูดซับสารสีจากกะหล่้าปลีสีม่วงได้มากขึ้น เนื่องจากระยะเวลาท่ีเพ่ิมข้ึนส่งผลให้ตัวดูดซับ และ ตัวถูกดูดซับมีระยะเวลาในการสัมผัสกันนานขึ้นท้าให้ความสามารถในการดูดซับเพิ่มมากขึ้น (วิรังรอง แสงอรุณเลิศ, 2558) และเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารสี ท้าให้พื้นที่ผิวสัมผัสระหว่าง ตัวดูดซับ และตัวถูกดูดซับเพิ่มมากขึ้น (กนกวรรณ ศรีม่วง และกาญนิถา ครองธรรมชาติ, 2560) โดยสภาวะที่เส้นผมสามารถดูดซับสารสีกะหล้่าปลีสีม่วงได้เข้มท่ีสุด ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นร้อยละ 25 โดยมวล และระยะเวลาทีเ่ สน้ ผมสามารถดูดซับสารสีไดเ้ ข้มที่สดุ ที่ 120 นาที 4.3 ศึกษาประสิทธิภาพของการติดสีบนเส้นผมระหว่างเส้นผมฟอกขาว และเส้นผม ขาวธรรมชาติ การศึกษาประสิทธิภาพของการติดสีบนเส้นผมระหว่างเส้นผมฟอกขาว และเส้นผมขาวธรรมชาติ โดยการน้าสภาวะที่เส้นผมฟอกขาวสามารถดูดซับสารสีได้เข้มที่สุดของทั้งสารสีจากใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล่้าปลีสีม่วง ที่ความเข้มข้นร้อยละ 12.5 25 และ 25 โดยมวล ตามล้าดับ ที่เวลา 120 นาทีเท่ากันมาทดสอบกับเส้นผมขาวธรรมชาติ ซ่ึงผลท่ีได้จากการวัดความเข้มของสีท่ีติดบนเส้นผม ดว้ ยการมองเห็น ไดผ้ ลดงั ตารางที่ 4.5 จากการศึกษาพบว่าเส้นผมทีผ่ ่านการฟอกขาวสามารถยอ้ มตดิ สีจากสารสกัดได้ทั้ง 3 ชนิด และ เสน้ ผมขาวธรรมชาติสามารถยอ้ มติดสกี บั สารสีจากใบเทียนก่ิงได้เพียงชนิดเดียว ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก ลักษณะสภาพเส้นผมของผมฟอกขาว และผมขาวธรรมชาติแตกต่างกันจึงส่งผลให้ความสามารถใน การตดิ สขี องเสน้ ผมแตกตา่ งกันด้วย โดยจะศึกษาลักษณะของเสน้ ผม ในหัวข้อถดั ไป
21 ตารางที่ 4.5 การเปรียบเทียบเส้นผมฟอกขาว และเส้นผมขาวธรรมชาติหลังการดูดซับสารสีของ ใบเทียนก่งิ เปลอื กมังคุด และกะหล่า้ ปลีสีม่วง เสน้ ผม ชดุ ควบคมุ ใบเทยี นกิ่ง เปลอื กมงั คดุ กะหลา่ ปลีสีม่วง ผมฟอกขาว ผมขาว ธรรมชาติ 4.4 การศึกษาสภาพเสน้ ผม เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างพื้นฐานของเส้นผม คณะผู้วิจัยจึงวิเคราะห์โครงสร้างของเส้นผม ท้ัง 2 ชนิด โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ก้าลังขยาย 10 เท่า พบว่าเส้นผมท่ีผ่านการฟอกขาวภายใน มีการแตกหักของเส้นผม และผมขาวธรรมชาติไม่มีการแตกหักภายในเส้นผม เนื่องจากเส้นผมท่ีผ่าน การฟอกด้วยน้ายาฟอกผมขาวที่มีความเป็นเบสมาก จะท้าให้เส้นผมเกิดการแตกหักของโครงสร้างเมื่อชั้น เปลอื กนอกของเส้นผมถูกท้าลายเกล็ดผมจะเปิดขึ้น (กาญจนา ไชยประดิษฐ์, 2555) จึงท้าให้เส้นผมที่ผ่าน การฟอกขาวสามารถดดู ซับสารสไี ด้ง่าย ส่วนเส้นผมขาวธรรมชาติมีความแข็งแรงของโครงสร้างเส้นผม ทา้ ให้การดดู ซบั สารสีเป็นไปได้ยากกว่า และท้าใหเ้ กิดการติดสีได้ยาก แสดงดังภาพท่ี 4.5 (ก) (ข) ภาพที่ 4.5 แสดงโครงสรา้ งของเส้นผม (ก) เสน้ ผมที่ผา่ นการฟอกขาว และ (ข) เส้นผมขาวธรรมชาติ
22 4.5 การศึกษาความคงทนของการตดิ สี จากการศึกษาความคงทนของการตดิ สีของสารสธี รรมชาติจากใบเทยี นกิ่ง เปลอื กมังคุด และ กะหล่า้ ปลีสีมว่ ง ไดผ้ ลดงั ต่อไปน้ี 4.5.1 การศึกษาความคงทนของการตดิ สีของสารสธี รรมชาตจิ ากใบเทียนก่ิง การศึกษาความคงทนของการติดสีของสารสีธรรมชาติจากใบเทียนก่ิงท่ีติดบนเส้นผม หลังการดูดซับ โดยเลอื กใชส้ ภาวะที่เส้นผมสามารถดูดซับสารสีได้เข้มที่สุดท่ีความเข้มข้นเร่ิมต้นร้อยละ 12.5 โดยมวล ระยะเวลา 120 นาที โดยใช้เส้นผมฟอกขาว และเส้นผมขาวธรรมชาติในการทดสอบ ความคงทนนับเป็นจ้านวนครั้ง พบว่าเส้นผมขาวธรรมชาติ และเส้นผมท่ีผ่านการฟอกขาวที่ถูกย้อม ด้วยสารสีจากใบเทียนก่ิงใช้จ้านวนครั้ง ในการล้างเส้นผม 32 คร้ัง (ประมาณ 2 เดือน) และ 16 ครั้ง (ประมาณ 1 เดือน) ได้ผลดังตารางที่ 4.6 โดยอ้างอิงจากการตอบแบบสอบถามในงานวิจัยของ กัลยรัตน์ โตสุขศรี (2552) ที่กล่าว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการสระผม 3-5 ครั้ง ต่อสัปดาห์ และการน้าเส้นผมท่ีผ่านการทดสอบความคงทนของสารสีใบเทียนก่ิงมาวัดค่าความเข้มแสง สีแดง สีเขียว สีนา้ เงินเพ่ือคา้ นวณค่าการดดู กลนื แสง ได้ผลดงั ภาพที่ 4.6 ตารางท่ี 4.6 แสดงภาพเส้นผมท่ีทดสอบความคงทนของการติดสีจากสารสีของใบเทียนก่ิงท้ังเส้นผม ฟอกขาว และเส้นผมขาวธรรมชาติ จานวนครั้ง เสน้ ผมฟอกขาว เสน้ ผม เส้นผมขาวธรรมชาติ ชดุ ควบคุม 0 4 8 12 16 20 24 28 32
23 ค่าการ ูดดกลืนแสง จา้ นวนครั้ง ภาพท่ี 4.6 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง และจ้านวนครั้งในการล้างเส้นผมที่ย้อม ดว้ ยสารสีของใบเทยี นกิง่ ทง้ั เสน้ ผมฟอกขาว และเสน้ ผมขาวธรรมชาติ 4.5.2 การศึกษาความคงทนของการตดิ สขี องสารสกัดธรรมชาติจากเปลือกมังคดุ การศกึ ษาความคงทนของการติดสีของสารสกัดธรรมชาติจากเปลือกมังคุดท่ีติดบนเส้นผม ฟอกขาวหลังการดูดซับโดยเลือกใช้สภาวะท่ีเส้นผมสามารถดูดซับสารสีได้เข้มท่ีสุดท่ีความเข้มข้น เร่ิมต้นร้อยละ 25 โดยมวล ระยะเวลา 120 นาที โดยมีระยะเวลาในการติดทนของสีอยู่ที่ 1 สัปดาห์ หลงั จากการย้อมสีผม ไดผ้ ลดังตารางที่ 4.7 และการน้าเสน้ ผมท่ผี ่านการทดสอบความคงทนของสารสี ของเปลือกมงั คดุ มาวดั ค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเพื่อค้านวณหาค่าการดูดกลืนแสง ได้ผล ดังภาพที่ 4.7 และไม่สามารถศึกษาความคงทนของสารสีของเปลือกมังคุดในเส้นผมขาวธรรมชาติได้ เนื่องจากเส้นผมขาวธรรมชาตไิ มส่ ามารถย้อมตดิ สขี องเปลือกมังคดุ ตารางที่ 4.7 แสดงภาพเสน้ ผมฟอกขาวที่ทดสอบความคงทนของการติดสจี ากสารสีของเปลือกมังคุด จานวนครั้ง เส้นผมฟอกขาว ชุดควบคุม 1 2 3 4
24 ภาพท่ี 4.7 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการดูดกลืนแสง และจ้านวนครั้งในการล้างเส้นผมฟอกขาวหลัง การดูดซับสารสีของเปลือกมังคุด 4.5.3 การศึกษาความคงทนของการตดิ สีของสารสกดั ธรรมชาตจิ ากกะหล่าปลสี ีม่วง การศึกษาความคงทนของการติดสีของสารสกัดธรรมชาติจากกะหล้่าปลีสีม่วงที่ติดบน เส้นผมหลังการดูดซับ โดยเลือกใช้สภาวะที่เส้นผมสามารถดูดซับสารสีได้เข้มที่สุด ที่ความเข้มข้น เร่ิมต้นร้อยละ 12.5 โดยมวล เป็นระยะเวลา 120 นาที โดยใช้เส้นผมฟอกขาวในการทดสอบความคงทน นับเป็นจ้านวนครั้ง พบว่าเส้นผมฟอกขาวที่ผ่านการย้อมด้วยสารสีของกะหล่้าปลีสีม่วง มีความคงทน ของสารสีกะหลา่้ ปลีสีม่วง โดยการสระด้วยแชมพู 20 ครั้ง หรือมีระยะเวลาในการติดทนของสีอยู่ท่ี 1.5 เดือน หลังการย้อมสีผม ได้ผลดังตารางท่ี 4.8 และการน้าเส้นผมท่ีผ่านการทดสอบความคงทน ของสารสีของกะหล่้าปลีสีม่วงมาวัดค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเพื่อค้านวณหาค่าการดูดกลืน- แสง ได้ผลดังภาพที่ 4.8 และไมส่ ามารถศึกษาความคงทนของสารสีของกะหล้่าปลีสีม่วงในเส้นผมขาว ธรรมชาติได้ เนอ่ื งจากเสน้ ผมขาวธรรมชาติไม่สามารถย้อมติดสีของกะหลา่้ ปลีสมี ว่ ง
25 ภาพท่ี 4.8 แสดงภาพเสน้ ผมฟอกขาวท่ีทดสอบความคงทนของการติดสีจากสารสีของกะหล้า่ ปลสี ีมว่ ง จานวนครั้ง เส้นผมฟอกขาว ชุดควบคุม 4 8 12 16 20 ภาพท่ี 4.8 แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งค่าการดูดกลืนแสง และจา้ นวนครั้งในการลา้ งเส้นผมของความ คงทนสารสีของกะหล้า่ ปลสี ีม่วง
26 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจยั จากการศึกษาเรื่องการดูดซับของเส้นผมโดยใช้สารสีจากธรรมชาติในใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล่้าปลีสีม่วง บนเส้นผมท่ีผ่านการฟอกขาวและผมขาวธรรมชาติ โดยศึกษาเร่ืองประสิทธิภาพ ของตัวประสาน ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการติดสีของสารสกัด ศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดท่ีย้อมติดสี บนผมฟอกขาว และผมขาวธรรมชาติ ศึกษาสภาพเส้นผม และศึกษาความคงทนของการติดสี พบว่า ประสิทธิภาพของตัวประสานท่ีใช้ไม่มีผลต่อการดูดซับสารสีของเส้นผม ดังน้ันการเพ่ิมตัวประสานลง ในสารสีในการยอ้ มสีผมจึงไม่ส่งผลให้เส้นผมเกิดการติดสีได้ดีขึ้น สภาวะท่ีเส้นผมสามารถดูดซับสารสี ได้เข้มทีส่ ดุ จากใบเทียนกิ่ง เปลือกมังคุด และกะหล่้าปลสี มี ว่ ง ท่คี วามเข้มข้นเร่ิมต้น ร้อยละ 12.5 25 และ 25 โดยมวล ตามล้าดับ ระยะเวลา 120 นาที เท่ากัน โดยเส้นผมที่ผ่านการฟอกขาวสามารถย้อม ติดสีจากสารสกัดธรรมชาติได้ทั้ง 3 ชนิด และเส้นผมขาวธรรมชาติสามารถติดสีกับสารสีจากใบเทียนกิ่ง ได้เพียงชนิดเดียว จากนั้นน้าเส้นผมที่ผ่านการดูดซับสารสีมาทดสอบความคงทน พบว่าเส้นผมขาว ธรรมชาติท่ีดูดซับสารสีจากใบเทียนก่ิงมีความคงทนของสารสีท่ีติดอยู่บนเส้นผมมากท่ีสุด 2 เดือน หลังการย้อมสีผม เส้นผมฟอกขาวท่ีดูดซับสารสีจากเปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง มีความคงทน ของสารสีท่ีตดิ อย่บู นเสน้ 1 สปั ดาห์ และ 1.5 เดอื นหลังจาการยอ้ มสผี ม ตามล้าดับ เนื่องจากเส้นผมที่ ผ่านการฟอกขาวนั้นผ่านน้ายาฟอกผมท่ีมีความเป็นเบสมากจึงท้าให้เส้นผมเกิดการแตกหักของ โครงสรา้ ง จงึ ทา้ ใหเ้ สน้ ผมท่ีผ่านการฟอกขาวสามารถดูดซับสารสีได้ง่าย แต่มีความคงทนของการติดสนี ้อย 5.2 ข้อเสนอแนะ จากการศกึ ษาการดูดซับสารสีของเส้นผมโดยใช้สารสกัดธรรมชาติจากใบเทียนก่ิง เปลือกมังคุด และกะหล้่าปลีสีม่วง โดยคณะผู้วจิ ยั มขี อ้ เสนอแนะดังนี้ 5.2.1 ควรน้าสารสีจากสารสกัดธรรมชาติจากพืชชนิดอ่ืนมาทดสอบเพื่อเป็นทางเลือกให้ ผู้บริโภคตอ้ งการใช้สารสกดั จากธรรมชาติในการย้อมสผี มต่อไป 5.2.2 ในการย้อมสผี ม ควรนึกถึงโครงสร้างของเส้นผมแต่ละบุคคล เนื่องจากเส้นผมแต่ละบุคคลมี ความแตกตา่ งกัน
27 เอกสารอา้ งอิง กนกวรรณ ศรีม่วง และกาญนิถา ครองธรรมชาติ. 2560. ประสทิ ธิภาพการดูดซบั สีจากน้าเสียย้อม ไหมโดยใชเ้ ถา้ บทิ ูมินสั เคลือบเฟอร์รกิ คลอไรด.์ วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับ บัณฑติ ศกึ ษา). 17(3) : 53-63. กลั ยรตั น์ โตสุขศร.ี 2552. พฤติกรรมและปัจจัยท่ีมผี ลต่อการตัดสินใจซือ้ แชมพูสระผม “แพนทนี โปร-ว”ี ในเขตกรงเุ ทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. กาญจนา ไชยประดิษฐ.์ 2555. การศกึ ษาเปรยี บเทียบประสทิ ธิภาพของเจลย้อมผมจากสารสกดั อัญชันและสารสกัด CRC ต่อการติดสีผมของปอยผมหงอก. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาวทิ ยา ศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. กานดา หวงั อีน อรพรรณ ทองประสงค์ และรัชกฤช ปัทมโสภากลุ . 2557. ผลติ ภัณฑ์เปลย่ี นสผี ม จากสารสกัดใบเทียนกิ่ง. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต. จุฬาลักษณ์ ก่ิงรัตน.์ 2556. การพฒั นาสารย้อมผมธรรมชาติจากเฮนน่า. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญา วทิ ยาศาสตรบัณฑิต(เคมี) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. นสิ าพร มหู ะมัด สมภพ เภาทอง อุบล ตนั สม และปิยศริ ิ สุนทรนนท์. 2559. การดูดซบั สยี ้อมด้วย กากชา. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา. ไพรตั น์ ปญุ ญาเจริญนนท์ กาญจนา ลือพงษ์ และจ้าลอง สาลกิ านนท์. 2557. การพฒั นาการ เตรียมสีผงจากสีย้อมธรรมชาติ. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาอตุ สาหกรรมสิง่ ทอและออกแบบแฟช่ัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร. สิรจิ ติ ต์ิ แสงอุ่นอรุ ยั . 2544. การศกึ ษาจลศาสตร์การดูดตดิ ผวิ และการคายอลูมเิ นียมของดิน. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ สขุ สงั วาลย์ เมาลิทอง. 2551. รกั ตวั กลัวแก่ ต้องแก้ด้วยใบกราว. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : https: www.gotoknow.org/posts/189693. วนั ทส่ี บื คน้ 11 ธนั วาคม 2561. สุทธิเวช ต.แสงจันทร์. 2531. ยายอ้ มผม. วารสารกรมวทิ ยาศาสตร์บรกิ าร. 37(120) : 7-12. วริ งั รอง แสงอรุณเลิศ. 2558. การดดู ซับสีย้อมผ้าดว้ ยถ่านกมั มนั ต์ท่ผี ลิตจากเปลอื กไขแ่ ละเปลือก หอยแครงโดยวธิ ีการกระตนุ้ ทางเคม.ี วารสารวิชาการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค์. 7(7) : 97-109. อรณุ รตั น์ จนั ทนขจรฟุง้ . 2552. วธิ กี ารผลติ ผลิตภณั ฑพ์ ลาสมา. วารสารโลหิตวิทยาและเวช ศาสตร์บรกิ ารโลหิต. 19(3) : 193-202. Amprohealth. 2018. เปลอื กมังคดุ สรรพคุณยอดเย่ียม มปี ระโยชน์เกนิ คาด. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https: www.amprohealth.com/magazine/mangosteen-peel/. วนั ท่ี สืบคน้ 10 ธนั วาคม 2561. Kusumawati, N. 2017. Extraction, Characterization and Application of Natural Dyes from the Fresh Mangosteen (Garcinia mangostana L.) Peel. International Journal on Advanced Science, Engineering and Information Technology.
28 7(3) : 10-14. Lemmens, R.H.M.J. and Wulijarni-soetjipto, N. 1992. Plant Resources of South East Asia No.3:Dye and Tannin-Producing Plants. Bogor Indonesia. 3(1) : 83-86. Medthai. 2017a. เทยี นกิ่ง สรรพคณุ และประโยชนข์ องตน้ เทยี นกิง่ 24 ข้อ ! (เฮนนา่ ). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https: www.medthai.com/มังคุด/. วนั ท่ีสืบค้น 10 ธันวาคม 2561. _______. 2017b. มงั คดุ สรรพคุณและประโยชน์ของมังคุด 45ขอ้ !. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https: www.medthai.com/มังคุด/. วนั ทีส่ ืบค้น 10 ธนั วาคม 2561. Pradthana, P. 2008. กระบวนการดดู ซบั (Adsorption Process). [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : http: www.pradthana.wordpress.com/author/pradthana/. วันทส่ี ืบค้น 10 ธนั วาคม 2561.
29 ภาคผนวก
30 ภาคผนวก ก ภาพตัวอย่าง ก.1 ตวั อยา่ งสารสกดั เก็บตัวอย่างใบเทียนก่ิง ในอ้าเภอเมือง จังหวัดตราด ตัวอย่างเปลือกมังคุดโดยเลือกใช้เปลือก มังคุดเฉพาะเปลือกด้านใน อ้าเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี และตัวอย่างกะหล่้าปลีสีม่วง ท่ีซื้อจากตลาด เจริญสุข อ้าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี โดยมีลักษณะทางกายภาพ ก่อนอบแห้ง แสดงดังภาพท่ี ก.1 (ก) (ข) และ (ค) ตามล้าดับ และแสดงลักษณะทางกายภาพของตัวอย่างหลังการอบแห้ง แสดงดังภาพ ก.2 (ก) (ข) และ (ค) ตามล้าดบั (ก) (ข) (ค) ภาพท่ี ก.1 ลักษณะทางกายภาพ (ก) ใบเทียนกิ่ง (ข) เปลือกมังคุด และ (ค) กะหล่้าปลีสีม่วงก่อน การอบแห้ง (ก) (ข) (ค) ภาพที่ ก.2 ลักษณะทางกายภาพ (ก) ใบเทียนกิ่ง (ข) เปลือกมังคุด และ (ค) กะหล่้าปลีสีม่วง หลังการอบแห้ง
31 ก.2 ผงสารสกดั ตวั อย่าง น้าตวั อยา่ งใบเทยี นก่ิง เปลือกมงั คดุ และกะหล่้าปลีสมี ่วง ที่อบแห้งแล้วมาบดให้ละเอียด และร่อน ดว้ ยตะแกรงร่อนขนาด 600 ไมครอนหรือ 30 เมช แสดงดังภาพที่ ก.3 (ก) (ข) และ (ค) ตามล้าดับ (ก) (ข) (ค) ภาพท่ี ก.3 ผงสารสกดั (ก) ใบเทยี นกง่ิ (ข) เปลือกมงั คุด และ (ค) กะหล้่าปลสี ีมว่ ง
32 ภาคผนวก ข วิธีการคานวณ ข.1 การคานวณหาคา่ ความเข้มแสงสแี ดง สเี ขียว สนี า้ เงนิ เฉลี่ย จากคา่ ความเขม้ แสงสีแดง สเี ขียว สีนา้ เงินของเส้นผมสามารถคา้ นวณได้ จากสตู ร X = X n เมอื่ X คอื ค่าเฉล่ียของความเข้มแสงสีแดง สเี ขยี ว สนี า้ เงิน X คือ ผลรวมของข้อมูลทั้งหมดทกุ จ้านวน n คอื จ้านวนข้อมูลทงั้ หมด ก้าหนดให้เส้นผมหลังการย้อมสี มีความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงิน R=127 G=88 และ B=37 สามารถค้านวณค่าเฉลีย่ ได้ดังน้ี X = (127+88+37)/3 X = 84 ข.2 การคานวณหาค่าการดดู กลนื แสง เนื่องจากงานวิจัยนี้ใช้ค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเฉลี่ย จากแอพพลิเคชัน พิกเซลพิกเกอร์ในการคา้ นวณหาค่าการดดู กลนื แสง ใช้สตู รการคา้ นวณ ดังต่อไปน้ี ค่าการดดู กลนื แสง = log (Io/I) เมอื่ Io คือ คา่ ความเข้มแสงสแี ดง สเี ขยี ว สนี า้ เงินเฉลยี่ ของผมกอ่ นการยอ้ มสี I คอื คา่ ความเข้มแสงสแี ดง สีเขยี ว สนี ้าเงินเฉลีย่ ของผมที่ผ่านการย้อมสี ก้าหนดให้เสน้ ผมฟอกขาวก่อนการย้อมสี มีค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเฉลี่ยเท่ากับ 127 และเส้นผมหลังการย้อมสี มีค่าความเข้มแสงสีแดง สีเขียว สีน้าเงินเฉล่ียเท่ากับ 70.66 สามารถ คา้ นวณค่าการดดู กลนื แสงได้ ดังนี้ แทนคา่ = log (127/70.66) มคี า่ การดดู กลืนแสง = 0.255
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: