Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่องการจัดการผลผลิตทางการเกษตร

ใบความรู้ เรื่องการจัดการผลผลิตทางการเกษตร

Published by pen.kaset, 2018-03-28 05:14:52

Description: ใบความรู้ เรื่องการจัดการผลผลิตทางการเกษตร

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 1 การจดั การผลผลิตทางการเกษตร ผลผลติ ทางการเกษตรของประเทศไทยของเราน้นั มมี ากมายหลายชนดิ ผลดั เปลีย่ นกันผลดิ อกออกผลตลอด ทั้งปี ซ่งึ เกิดจากการดแู ลเอาใจใส่ของเกษตรกรผู้ผลติ ต้ังแตก่ ารคัดเลอื กพันธพ์ุ ชื การเตรยี มพ้นื ที่เพาะปลกู การใหน้ ้าและการใหป้ ุ๋ย การป้องกนั ก้าจัดพชื การเก็บเกยี่ ว และการวางจา้ หนา่ ยอยา่ งไรกต็ าม ปัญหาหน่งึ ทีเ่ กิดข้ึนกับการจัดการภายหลังการเกบ็ เกย่ี วของผลผลติ ทางการเกษตรของประเทศไทย ก็คือ การจดั การทางการตลาด (marketing management) การตลาดในส่วนท่ีใกลต้ วั เกษตรกร คือการจัดการทางการตลาดในรปู แบบท่ีตวั เกษตรกรเป็นผ้จู า้ หน่ายผลผลิตทางการเกษตรเอง คือ เป็นท้ังผ้ผู ลิต ผแู้ ปรรูป และผูจ้ ้าหนา่ ยเองในตวั คนๆเดียวกนันัน่ คือการปลกู เอง ขายเอง สว่ นใหญจ่ ะเป็นรปู แบบการตลาด เพ่ือการวางจา้ หนา่ ยผลผลิตทางการเกษตรในลักษณะผลผลิตสด หรอื ผลติ ภณั ฑ์แปรรปู อย่างงา่ ย เช่น การทอด การกวน การแช่อมิ่ เปน็ ต้น ส่งิ ท่ีส้าคัญอันดบั แรกทีต่ ้องกลา่ วถึงคือ ผลผลติ (product) ท่ีจะน้ามาวางจ้าหน่ายตอ้ งเปน็ผลผลิตทม่ี คี วามปลอดภัย ปราศจากการเขา้ ท้าลายของโรคและแมลง หรือสารพษิ ตกค้าง ทอี่ าจจะมีผลกระทบต่อผบู้ ริโภคทัง้ ในระยะสนั้ และระยะยาว ตลอดจนรอยต้าหนิหรือ ลักษณะที่ผิดปกตทิ างสรรี วทิ ยาตา่ งๆของผลผลติ ซ่งึ เปน็ ลักษณะภายนอกที่ผู้บริโภคสามารถสังเกตและมองเห็นได้งา่ ย1.1 ความหมาย การเกษตร หมายถึง วธิ ีการยังชีพอยา่ งหนงึ่ ของมนุษย์ เกีย่ วขอ้ งสัมพันธก์ ับการปลูกพืชและเล้ยี งสัตว์ การเกษตรเปน็ การท้างานเพือ่ ควบคมุ ธรรมชาติในอนั ทีจ่ ะผลติ พชื และสัตวใ์ หไ้ ดต้ ามความต้องการของมนุษย์ โดยอาศัยการเจริญเติบโตของพชื และสัตวเ์ ปน็ พื้นฐาน มีมนษุ ย์เป็นผู้ควบคุมด้าเนินการอย่างมีระบบแบบแผน มีการวางแผนปฏบิ ตั งิ านล่วงหน้า คดิ ค้านวณรายได้รายจา่ ยในการด้าเนินการทง้ั หมด การจดั การผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีนา้ ผลผลิตจากการปลูกพืชและเลี้ยงสตั ว์จากแหล่งการผลิตไปใชป้ ระโยชน์ตามวตั ถุประสงค์ที่กา้ หนดไว้ เพ่ือให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ท้งัด้านความคุ้มค่า ราคา และป้องกันการสญู เสียทีจ่ ะเกิดขึ้นกับผลผลิตท่ไี ดห้ ลังการเกบ็ เก่ียว1.2 ผงั มโนทัศน์จัดการผลผลติ ทางการเกษตรความสา้ คญั ในการจดั การ ขน้ั ตอนการจดั การผลผลิต ผลผลติ การจดั การผลผลผลิต ทางการเกษตรการจัดการดา้ นการขนส่ง การจัดการด้านการ ผลผลติ จา้ หนา่ ยผลผลิต

1.2.1 ความสาคัญในการจัดการผลผลติ ผลผลิตทางการเกษตร แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1.2.1.1 ผลผลติ ทีใ่ ช้ในการอปุ โภค เชน่ ฝา้ ย ไหม ยางพารา มนั สา้ ปะหลัง หนังสัตว์ ขน เปน็ ต้น 1.2.1.2 ผลผลติ ทใ่ี ช้ในการบรโิ ภค เชน่ ข้าว ผัก ผลไม้ เนอ้ื สตั ว์ นม กุ้งแข็ง เปน็ ตน้การจดั การผลผลติ ทางการเกษตร มคี วามสา้ คัญเปน็ ดังนี้1. สะดวกในการน้าผลผลิตไปใช้ประโยชน์2. สร้างความหลากหลายใหแ้ กผ่ ลผลติ3. การเพิ่มมลู คา่ ใหผ้ ลผลติ4. ท้าให้เก็บผลผลติ ไว้บรโิ ภคไดน้ าน5. สะดวกในการขนส่ง6. ลดปัญหาผลผลติ ทางการเกษตรลน้ ตลาด1.2.2 ขัน้ ตอนการจัดการผลผลติ 1.2.2.1 การท้าความสะอาดผลผลติ เปน็ การนา้ ส่วนทีป่ นเป้ือนมากบั ผลผลิตออก เชน่ ฝุ่น เชื้อโรคหนอน แมลง หรือสารเคมตี ่างๆ ซ่ึงจะท้าให้ผลผลิตมคี ุณภาพดีขึ้นสะอาดนา่ รบั ประทาน และไม่ทา้ ให้ผลผลติ เสือ่ มคณุ ภาพเรว็ มวี ธิ ีการปฏบิ ัติ 2 วธิ ีดงั น้ี 1.2.2.1.1 การทา้ ความสะอาดด้วยนา้ 1.2.2.1.2 การท้าความสะอาดด้วยแรงลม 1.2.2.2 การคัดขนาดและคณุ ภาพ จะทา้ ใหส้ ามารถแบ่งเกรดของผลผลิตได้อยา่ งชดั เจน ดงั นนั้ การคัดขนาดของผลผลิตจึงมีความจ้าเป็นเนื่องจากจะชว่ ยเพม่ิ คณุ ค่าของผลผลิตใหด้ ีขึน้ ซง่ึ สามารถทา้ ได้ดังน้ี 1.2.2.2.1 การคดั ขนาดคณุ ภาพดว้ ยมอื หรือการสังเกต 1.2.2.2.2 การคดั ขนาดและคุณภาพด้วยอปุ กรณ์ 1.2.2.2.3 การคัดขนาดและคุณภาพโดยการชั่งน้าหนกั ผลผลติ 1.2.2.3 การบรรจหุ บี หอ่ หรอื บรรจภุ ณั ฑ์ หมายถึง การจัดน้าผลผลิตทผ่ี ่านการทา้ ความสะอาด การคัดขนาดและคุณภาพแลว้ บรรจุลงในภาชนะทีเ่ ตรยี มไว้ โดยภาชนะนั้นสามารถป้องกันการกระทบกระแทกและความเสยี หายได้ เพ่อื น้าผลผลิตออกจ้าหนา่ ยแก่บริโภค ความส้าคญั ของการบรรจหุ บี ห่อ มีดังน้ี 1.2.2.3.1 เพอ่ื รวบรวมผลผลติ มาบรรจรุ วมกันเป็นหน่วยเดยี ว ซงึ่ ทา้ ให้ขนส่งได้รวดเร็วและเก็บรกั ษาง่าย 1.2.2.3.2 เพือ่ ป้องกนั การสูญเสยี ที่อาจเกิดขน้ึ ระหว่างการขนส่ง 1.2.2.3.3 เพ่อื แจง้ รายละเอยี ดของผลผลติวัสดุทใ่ี ชใ้ นการบรรจหุ ีบหอ่ มีหลายชนดิ ดังนี้1 ไม้ เปน็ วสั ดุทีใ่ ชบ้ รรจผุ ลผลติ จ้าพวกผกั และผลไม้ทีน่ ิยมใช้

2 กระดาษ ทนี่ ยิ มใช้ คือ กระดาษลกู ฟูก นิยมใชบ้ รรจุผกั และผลไม้ เชน่ ส้ม แอปเปลิ สตรอว์เบอร์รี่มะเขือเทศ ผลผลิตประเภทสตั ว์ทนี่ ยิ ม เช่น ไขไ่ ก่ ไขเ่ ป็ด3 พลาสตกิ นยิ มใช้กันอยา่ งแพร่หลาย เพราะมีคุณสมบตั ิท่ีดหี ลายอย่าง ได้แก่ (1) สามารถผลติ เปน็ ภาชนะบรรจไุ ด้หลายรูปแบบ (2) ช่วยปอ้ งกนั การกระแทกและน้ามาเรยี งซอ้ นทับกนั ไดด้ ี (3) พลาสติกมผี วิ เรียบไม่ทา้ อันตรายต่อผิวผลผลิตทบ่ี รรจุ (4) ทา้ ความสะอาดได้ง่ายและทนนา้ ทนความชืน้ ได้ดี (5) สามารถน้ากลับมาใช้ไดอ้ กี หลายคร้ังขอ้ เสยี ของพลาสตกิ คือ มีราคาค่อนข้างแพงและย่อยสลายยาก การเลอื กใช้บรรจุภัณฑ์จงึ ควรเลือกให้เหมาะสมกบั ผลผลติ แตล่ ะประเภท1.2.3 การจัดการด้านการขนส่ง การขนส่ง หมายถงึ การจดั การเคล่ือนย้ายสนิ คา้ การขนส่งที่ดคี วรประกอบด้วย อตั ราค่าขนส่งท่ีสมเหตสุ มผล การบรกิ ารสะดวก รวดเรว็ ปลอดภัย และมอี ุปกรณท์ ี่ทนั สมัย ประโยชนข์ องการขนสง่ สนิ คา้ เกษตร มีดังน้ี 1.2.3.1 ชว่ ยให้สนิ คา้ เกษตรถงึ มือผบู้ รโิ ภคอย่างมีประสิทธภิ าพ 1.2.3.2 ชว่ ยขยายตลาดสนิ คา้ เกษตรใหก้ ว้างขวาง 1.2.3.3 ช่วยลดต้นทนุ การผลิตในอุตสาหกรรมเกษตร 1.2.3.4 ช่วยให้เกดิ การจ้างแรงงาน 1.2.3.5 ชว่ ยใหเ้ กดิ ดุลยภาพในระดบั ราคาสนิ คา้ เกษตร1.2.4 การจดั การดา้ นการจาหนา่ ย การจ้าหน่ายผลผลิตเปน็ ขนั้ ตอนสุดทา้ ยในการท้าการเกษตรเพราะรายได้จากการจ้าหนา่ ยบ่งบอกได้ว่า การผลิตครั้งนไ้ี ด้รบั ผลก้าไรหรอื ขาดทุนมากน้อยเพียงใด จงึมีความสา้ คญั ส้าหรบั การเกษตรเพือ่ การคา้ ผทู้ จ่ี ะประสบความสา้ เร็จในอาชพี นจี้ ึงต้องมีความรดู้ ้านการจ้าหนา่ ยผลผลิต ซง่ึ ผลผลติ ทางการเกษตรจะน้าไปใชป้ ระโยชน์ 2 ลกั ษณะใหญ่ ๆ ดงั น้ี 1.2.4.1 ใช้เพื่อบริโภค เช่น การน้าผักทปี่ ลูกไปจา้ หน่ายให้กับผบู้ รโิ ภคหรือพ่อค้าสง่ 1.2.4.2 ใชเ้ ปน็ วัตถดุ บิ ป้อนโรงงานอุตสาหกรรม เชน่ โรงงานผลไมก้ ระป๋องWills, R., B. McGlasson, D. Graham and D. Joyce. 1998. An introducetion tophysiology and handling of fruit, vegetable andornamentals. Hyder Park Press, Adelaide, South Australia.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook