Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓

สรุปผลการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓

Published by Uthaiwitthayakhom StudentCouncil, 2020-11-22 21:38:39

Description: สรุปผลการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
(ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙)
สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม
ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓
วันพฤหัสบดีที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓
ณ ห้องปกครอง

Keywords: สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการประชมุ คณะอนกุ รรมการพิจารณาศกึ ษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพ่ิมเติมระเบยี บ โรงเรยี นอุทยั วิทยาคม ว่าด้วยสภานกั เรียนโรงเรยี นอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบบั แกไ้ ข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานกั เรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม ครงั้ ท่ี ๑/๒๕๖๓ วนั พฤหัสบดีท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ณ หอ้ งปกครอง ---------------------------------------- คณะกรรมการสภานกั เรยี น โรงเรยี นอุทยั วิทยาคม ได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาและมีมติในเร่อื งต่างๆ ดังน้ี ๑. การเลือกตัง้ ตำแหนง่ ตา่ งๆในคณะอนกุ รรมการ ที่ประชมุ มมี ติเลือกตง้ั ตำแหนง่ ตา่ งๆในคณะอนุกรรมการ ดงั นี้ (๑) นายกสณิ เพ็ญสขุ เป็นประธานคณะอนกุ รรมการ (๒) นางสาวญาณิกา จิวสืบพงษ์ เป็นรองประธานคณะอนุกรรมการ (๓) เดก็ ชายธีธชั สมใจไพบลู ย์ เป็นเลขานกุ ารคณะอนุกรรมการ (๔) เด็กชายจิรภัทร วราหะ เปน็ โฆษกคณะอนุกรรมการ (๕) นางสาวพรไพลนิ สิงหราช เปน็ อนุกรรมการและประธานที่ปรึกษา (๖) เดก็ หญิงชาดีดา ไทยเศรษฐ์ เปน็ อนุกรรมการและทป่ี รึกษา (๗) นายณัฐวตั ร โกแก้ว เปน็ อนกุ รรมการและทปี่ รึกษา ๒. การแก้ไขเพ่มิ เติมระเบยี บโรงเรียนอุทยั วิทยาคม ว่าด้วยสภานกั เรยี นโรงเรยี นอุทยั วิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแกไ้ ข พ.ศ. ๒๕๕๙) นายกสิณ เพ็ญสุข ประธานคณะอนุกรรมการ ได้นำระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วย สภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) แสดงต่อที่ประชุมเพื่อให้ที่ประชุม พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติม

มตทิ ่ีประชมุ ทีป่ ระชุมพจิ ารณาแล้วเห็นควรให้แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ดังน้ี ธรรมนญู สภานักเรยี น โรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ (ฉบับแกไ้ ข พ.ศ. ........) ************************************************************* ระเบียบโรงเรียนอทุ ัยวทิ ยาคม วา่ ด้วยสภานกั เรยี นโรงเรยี นอทุ ัยวทิ ยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ........) ธรรมนูญสภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม นี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน มีความรู้ ความ เข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อมุ่งมั่นให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีประสบการณ์ในการทํางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ รู้จักสิทธิและหน้าที่ มีวินัย มีเหตุผล อนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม โดยเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมของทางโรงเรียนตามสมควรแตล่ ะกรณี ดงั ต่อไปน้ี โรงเรียนอุทัยวิทยาคมจึงได้กำหนดระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ดังตอ่ ไปน้ี หมวด ๑ บททัว่ ไป ข้อ ๑ ธรรมนูญฉบับนี้เรียกว่า “ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียน โรงเรียนอุทัย วิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแกไ้ ข พ.ศ.๒๕๖๓)” ข้อ ๒ ธรรมนูญฉบับนี้ใหใ้ ช้บังคับนับต้ังแต่วันทีผ่ ู้อํานวยการโรงเรยี นอุทยั วทิ ยาคม ได้ลงลายมอื ชื่อไว้ เป็นหลักฐาน ท้ายธรรมนญู ฉบับน้ีเปน็ ต้นไป ขอ้ ๓ ในธรรมนญู ฉบบั นี้ เว้นแต่จะมีขอ้ ความแสดงให้เหน็ เปน็ อย่างอื่นคำว่า “โรงเรยี น” หมายถงึ โรงเรียนอทุ ัยวิทยาคม จงั หวัดอุทัยธานี “นกั เรยี น” หมายถึง นักเรยี นโรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม “คณะครู” หมายถึง คณะครูหรือบุคลากรท่ีปฏิบัตหิ น้าท่ีในโรงเรยี นอทุ ยั วิทยาคมครูโรงเรียนอุทัยวิทยาคม “ครทู ่ปี รึกษา” หมายถึง คณะกรรมการครทู ป่ี รกึ ษาสภานักเรียน “ผู้อำนวยการ” หมายถงึ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม “สภานกั เรียน” หมายถงึ สภานักเรยี นโรงเรยี นอุทัยวิทยาคม “กลุ่มหรือพรรค” หมายถึง พรรคที่นักเรียนรวมกัน จัดตั้งขึ้น โดยจดแจ้งและจดทะเบียน จัดตั้งตาม ระเบยี บและประเพณที ป่ี ฏบิ ตั ิ “เลือกตั้ง” หมายถึง เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียน สมาชิกที่ปรึกษา แล้วแต่กรณีเลือกตั้งประธาน นกั เรยี น หรือกรรมการนกั เรียน แล้วแต่กรณี

“ผู้สมัครรับเลือกตั้ง” หมายถึง ผู้สมัครรับเลือกตั้งสภานักเรียนประธานนักเรียน หรือคณะกรรมการ นักเรยี นแบบแบง่ เขต หรือกรรมการนักเรียนแบบบญั ชรี ายช่ือ แลว้ แต่กรณี “คณะกรรมการนักเรียน” หมายถึง ประธานสภานักเรียน รองประธานสภานักเรียน กรรมการนักเรียนที่ ได้จากการเลอื กตั้งและการสรรหาโดยคำแนะนำของครูที่ปรกึ ษาสภานกั เรยี นจากการเสนอช่ือของแตล่ ะพรรค “กรรมการสภานกั เรยี น” หมายถึง คณะกรรมการสภานักเรยี นโรงเรยี นอุทัยวิทยาคม “ประธานคณะกรรมการสภานักเรยี น” หมายถึง ประธานคณะกรรมการนักเรียน โรงเรยี นอุทัยวิทยาคม “ผู้มีสทิ ธเิ ลอื กต้ัง” หมายถงึ นักเรียนโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม ข้อ ๔ ให้คณะกรรมการคณะหนึ่ง ซึ่งผู้อํานวยการโรงเรียนอุทัยวิทยาคมแต่งตั้งขึ้น เรียกว่า คณะกรรมการครู ที่ปรึกษาสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ประกอบด้วย ผู้อํานวยการโรงเรียนอุทัยวิทยาคมเป็นประธานกรรมการ และคณะครูที่ปรึกษาเป็นกรรมการเพื่อดูแล ให้คําปรึกษาและคําแนะนํา ต่อสภานักเรียนหรือคณะกรรมการสภานักเรียน ในปญั หาตา่ งๆ เก่ยี วกับการดาํ เนนิ กจิ การของสภานักเรียนและคณะกรรมการสภานกั เรียน และมอี าํ นาจหนา้ ทีอ่ น่ื ดังตอ่ ไปน้ี ๔.๑ ดูแลให้การดําเนินงานของสภานักเรียนและคณะกรรมการสภานักเรียนเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ภายใต้บังคบั กฎหมายและระเบียบ และขอ้ บงั คับของโรงเรยี น ๔.๒ พิจารณาและเสนอความเห็นต่อผู้อํานวยการเพื่อวินิจฉัยสั่งการเกี่ยวกับโครงการหรือ การจัดทํา กจิ กรรมตามที่สภานกั เรยี นหรอื คณะกรรมการนักเรยี นไดย้ ่ืนคําขอดาํ เนินการ ๔.๓ พิจารณาและเสนอความคิดเหน็ ตอ่ ผูอ้ ํานวยการเพ่ือวนิ ิจฉัยสัง่ การ รา่ งข้อเสนอนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือข้อควรปฏิบัติ เกี่ยวกับกิจกรรม หรือกิจการทั้งหลาย ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนของ สภานักเรียนหรือ คณะกรรมการนักเรียน ๔.๔ สนับสนุน และให้การศึกษาเก่ียวกับการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข ๔.๕ จดั ทํารายงานผลการปฏิบตั งิ านประจาํ ปี และข้อสงั เกตเสนอผ้อู ํานวยการโรงเรียนอทุ ัยวทิ ยาคม หมวด ๑๒ วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ ๕ สภานกั เรยี นจดั ตัง้ ข้นึ ด้วยวตั ถุประสงค์สาํ คญั ๖ ประการ คอื ๕.๑ เพ่อื พัฒนาสงั คมในโรงเรยี นให้เป็นสังคมประชาธปิ ไตย ๕.๒ เพอื่ ให้นักเรียนได้พฒั นาศักยภาพการเป็นผนู้ าํ ๕.๓ เพอ่ื สรา้ งโอกาสใหน้ ักเรยี นได้ฝกึ ทักษะ และประสบการณต์ ามวถิ ปี ระชาธิปไตย และการใช้ หลกั ธรรมาภิบาล และให้นกั เรยี นได้เรียนร้กู ารอยรู่ ว่ มกันในสงั คมประชาธิปไตยอยา่ งสงบสขุ ๕.๔ เพอ่ื ปลูกฝงั จติ วญิ ญาณประชาธิปไตยและการใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลใหแ้ ก่นกั เรยี น ๕.๕ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมีประสบการณด์ า้ นการบรหิ ารและด้านการปกครอง ๕.๖ เพื่อทาํ หนา้ ทเ่ี ป็นตัวแทนของนกั เรียน ในการกระทําอืน่ ใดทั้งภายในและภายนอก

หมวด ๒๓ องคป์ ระกอบของสภานักเรยี น ข้อ ๖ สภานกั เรียนให้มีองคป์ ระกอบ ดงั นี้ ๖.๑ คณะกรรมการสภานกั เรียน ๖.๒ คณะกรรมการผูแ้ ทนนกั เรียน ๖.๓ ครทู ่ปี รกึ ษา ขอ้ ๗ คณะกรรมการสภานกั เรียน ประกอบด้วย ๗.๑ คณะกรรมการนักเรยี น ๗.๑.๑ ประธานสภานกั เรียน ๗.๑.๒ รองประธานสภานกั เรยี น ๗.๑.๓ กรรมการนักเรียนแบบแบ่งเขต ๗.๑.๔ กรรมการนักเรยี นแบบบัญชีรายช่ือ ๗.๑.๕ กรรมการนักเรียนแบบสรรหา ๗.๒ คณะทำงาน ๗.๒.๑ ฝ่ายเลขานกุ าร ๗.๒.๒ ฝา่ ยเหรญั ญิก ๗.๒.๓ ฝ่ายเทคโนโลยี ๗.๒.๔ ฝา่ ยปฏิคม ๗.๒.๕ ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ ๗.๒.๖ ฝา่ ยกีฬานันทนาการ ๗.๒.๗ ฝ่ายสวัสดกิ าร ๗.๒.๘ ฝา่ ยรักษาความสงบเรยี บร้อย ข้อ ๘ คณะกรรมการผ้แู ทนนกั เรยี น ประกอบดว้ ย ๘.๑ ผแู้ ทนนักเรียนจากทุกห้องเรียน หอ้ งละ ๑ คน ๘.๒ ผแู้ ทนนักเรียน ระดบั ช้นั ละ ๑ คน ๘.๓ หวั หนา้ คณะสี คณะสลี ะ ๑ คน ๘.๔ ทป่ี รกึ ษาคณะสี ไม่เกนิ ๒ คน ขอ้ ๙ ใหแ้ ตล่ ะฝ่ายมหี นา้ ที่รบั ผิดชอบดงั นี้ ๙.๑ ประธานสภานกั เรยี น มีหนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบ ดงั น้ี ๑) เป็นผ้นู าํ ของสภานักเรยี นปฏบิ ตั งิ านตามนโยบายท่ีให้ไวแ้ ละดูแลกจิ กรรมต่างๆภายในโรงเรยี นใหด้ าํ เนนิ ไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒) รับผิดชอบและเปน็ ผูน้ ํากิจกรรมต่างๆ ของสภานักเรียน ๓) เปน็ ประธานในการประชมุ ของสภานกั เรียน ๙.๒ รองประธานสภานักเรยี น มีหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ดังนี้ ๑) รับผิดชอบงานตา่ งๆ ร่วมกับประธานคณะกรรมการสภานักเรียน ๒) รบั ผิดชอบหน้าทแี่ ละคอยดูแลกจิ กรรมรวมถงึ สภานกั เรียนเม่ือประธานนกั เรียน ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ไี ด้ ๙.๓. กรรมการนักเรียน มีหนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบ ดังน้ี ๑) รบั ผิดชอบหนา้ ทที่ ีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากสภานักเรียน ๒) เขา้ รว่ มการประชุมสภานกั เรยี น หรอื การประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี น

๙.๓๔ ฝ่ายเหรัญญกิ มหี น้าทีร่ บั ผดิ ชอบ ดงั นี้ ๑) ทาํ บญั ชกี ารเบกิ จา่ ย และทําบัญชรี ายรับ-รายจา่ ยของสภานกั เรียนให้ดาํ เนนิ ไปด้วยความเรยี บร้อย ๒) รายงานฐานะการเงนิ ของสภาฯตอ่ ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารสภาฯและโรงเรยี นเปน็ ประจําทกุ เดอื น ๙.๔๕ ฝา่ ยปฏคิ ม มหี น้าที่รบั ผิดชอบ ดงั น้ี ๑) ใหก้ ารตอ้ นรบั แขกผมู้ ีเกียรติ และผ้เู ป็นประธานร่วมงานต่างๆ ตามกจิ กรรมทสี่ ภานักเรยี นจัดข้ึน ๙.๕๖ ฝ่ายประชาสมั พันธ์ มีหน้าท่ีรบั ผิดชอบ ดังนี้ ๑) แจ้งขา่ วสารและสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน ๒) เผยแพร่ข่าวกจิ กรรมตา่ งๆ ของนกั เรยี นสู่สังคม ๙.๖๗ ฝ่ายเทคโนโลยี มีหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบ ดังน้ี ๑) บันทกึ ภาพกจิ กรรมตา่ งๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมายให้ดาํ เนินไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ๒) ควบคมุ ดแู ลและประสานงานเกย่ี วกบั อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนคิ ในกิจกรรมตา่ งๆ ๓) ดูแลระบบสารสนเทศของงานสภานักเรยี น ๙.๗๘ ฝ่ายรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย (สารวตั รนกั เรยี น) มหี น้าทร่ี บั ผิดชอบ ดงั น้ี ๙.๗๘.๑ ฝ่ายไกลเ่ กล่ยี ๑) เจราจาเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างนกั เรียน ๒) คอยป้องกันไม่ให้เกิดเรอ่ื งทะเลาะววิ าทโดยการเจรจา ๓) ผูกมติ รไมตรี ใหเ้ กิดความปรองดองระหวา่ งนกั เรยี นที่มคี วามขัดแยง้ กนั โดยใชเ้ หตุและผล ๙.๗๘.๒ ฝา่ ยปราบปราม ๑) ห้ามปรามนักเรยี นท่ที ะเลาะววิ าทกนั ๒) ควบคมุ กํากับ ดแู ล ตดิ ตามความประพฤตนิ กั เรียนทป่ี ฏิบตั ิตนไมเ่ หมาะสม ๙.๘๙ ฝ่ายสวัสดิการ มหี น้าท่ีรับผิดชอบ ดังน้ี ๑) ดูแลและชว่ ยเหลอื กจิ กรรมสภานักเรยี น ๒) อาํ นวยความสะดวกและเอือ้ ประโยชน์ต่อการดาํ เนินกจิ กรรมของสภานักเรียนทกุ ประเภท ๙.๙๑๐ ฝา่ ยกฬี า/นนั ทนาการ มหี นา้ ที่รับผดิ ชอบ ดังน้ี ๑) วางแผน ประสานงานและดําเนินงานเก่ยี วกบั การจดั กีฬา ๒) จดั กจิ กรรมนันทนาการตามโอกาสต่างๆ ที่ได้รบั มอบหมาย ๔.๑๐๑๑ ฝา่ ยเลขานุการ มหี น้าที่รับผดิ ชอบ ดงั นี้ ๑) บันทึกวาระตา่ งๆ ในการประชมุ และรายงานสรุปผลการประชมุ ตอ่ ประธาน ๒) รบั หนังสอื ออกภายนอกและภายในท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสภานักเรยี น

หมวด ๓๔ ท่มี าของสมาชกิ สภานักเรียน และสมาชิกภาพ สว่ นที่ ๑ คณุ สมบตั ิ และลกั ษณะต้องหา้ มของผูม้ ีสิทธสิ มัครรับเลอื กต้งั ของคณะกรรมการสภานกั เรียน ขอ้ ๑๐ บคุ คลผมู้ คี ณุ สมบัติตอ่ ไปน้ใี นวนั สมคั รรบั เลอื กตัง้ เป็นผมู้ ีสทิ ธสิ มัครรับเลอื กตั้งเปน็ ประธานสภานักเรยี นตาม บทบญั ญตั ขิ องธรรมนูญฉบบั น้ี ๑) เปน็ นักเรยี นโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม ๒) เปน็ ผู้ท่กี ําลงั ศึกษาอยูใ่ นระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๔-๖ ของปที ่ีมกี ารเลือกตั้ง ๓) มผี ลการเรยี นเฉล่ียสะสมทุกภาคเรียนไมต่ ่ำกว่า ๒.๐๐ ๔) เปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม และมคี วามเปน็ กลางในการดําเนนิ นโยบาย ๕) เปน็ ผทู้ ่รี กั และเทิดทูนในเกียรตขิ องโรงเรียน ๖) เป็นผมู้ คี วามเสียสละเพอ่ื สว่ นรวม ๗) เป็นผมู้ คี วามประพฤติดแี ละถกู ต้องตามระเบียบวนิ ัยของโรงเรียน ๘) เป็นผ้มู รี ะเบยี บวนิ ยั และมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ข้อ ๑๒๑ คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ารับการคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งเข้าดํารงตําแหน่งคณะกรรมการสภานักเรียน มี ดงั ตอ่ ไปน้ีคือ ๑) เปน็ นักเรยี นของโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม ๒) เป็นผู้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามเป็นกลางในการดาํ เนนิ นโยบาย ๓) เป็นผทู้ ่รี กั และเทดิ ทนู ในเกียรตขิ องโรงเรยี น ๔) เปน็ ผมู้ คี วามเสยี สละเพ่อื ส่วนรวม ๕) เป็นผ้มู คี วามประพฤตดิ แี ละถูกต้องตามระเบยี บวินยั ของโรงเรียน ๖) เป็นผู้มรี ะเบียบวินยั และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ข้อ ๑๑๒ บุคคลผไู้ มม่ ีสทิ ธใิ์ หส้ มัครรบั เลอื กต้งั เขา้ ดาํ รงตาํ แหน่งในสภานักเรียนลกั ษณะตอ้ งหา้ มของผู้ดํารงตําแหน่ง คณะกรรมการสภานกั เรยี น ๑) เป็นผูท้ ย่ี ุ่งเก่ยี วกับยาเสพติด ๒) เคยถกู หักคะแนนความประพฤติอยา่ งนอ้ ย ๒๐ คะแนนต่อปีการศกึ ษา จากกลุ่มบริหารงานทั่วไป ๓) เคยใหถ้ ูกพกั การเรียนไมว่ า่ ดว้ ยกรณีใดๆ ก็ตาม ๔) ไมไ่ ด้รับความยนิ ยอมจากครูทป่ี รกึ ษาประจาํ ชั้นเรยี น ในการใหค้ วามเห็นชอบเข้ารับการสมคั ร ขอ้ ๑๓ คณะกรรมการสภานักเรยี นมวี าระการดาํ รงตําแหน่งนบั แต่วนั ทีค่ ณะกรรมการสภานักเรยี นชุดกอ่ นไดส้ ่งมอบ งานในหนา้ ทใี่ หอ้ ยา่ งเป็นทางการและหมดวาระการดาํ รงตาํ แหน่งในวนั จบการศึกษาของ ปกี ารศกึ ษาท่ไี ด้ดํารงตําแหนง่ ข้อ ๑๓ ให้สมาชิกสภานักเรยี นมีวาระการดาํ รงตําแหน่งคราวละ ๒ ภาคเรยี น โดยเริม่ ปฏิบตั ิ หนา้ ท่หี ลังจากไดร้ ับการแต่งตัง้ จากผู้อาํ นวยการ และใหค้ รบวาระการปฏิบัติหนา้ ทห่ี ลงั จากผอู้ ํานวยการแตง่ ตั้ง คณะกรรมการสภานกั เรียนชุดใหม่

สว่ นที่ ๒ วิธีการเลอื กต้งั วธิ ีการได้มาซงึ่ คณะกรรมการสภานักเรยี น และสมาชิกภาพของสมาชกิ สภานกั เรยี น ขอ้ ๑๔ การเลอื กตั้งสภานักเรยี นของโรงเรยี นอทุ ยั วทิ ยาคม โดยมกี ารจัดการเลอื กตงั้ ๒ รูปแบบ คือ ๑) แบบแบ่งเขตการเลอื กตง้ั ๒) แบบบัญชีรายช่ือ ข้อ ๑๕ การเลือกตั้งทุกครั้งต้องมีคําประกาศหรือคําสั่งของผู้อาํ นวยการโรงเรียนในการกําหนด เลือกตั้ง คุณสมบตั ิ ของผมู้ ีสิทธเิ ลือกต้งั และกําหนดหนว่ ยเลอื กต้ังดว้ ย ข้อ ๑๖ บุคคลผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้งสภานักเรียนต้องมีคุณสมบัติ คือ เป็นนักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคมใน ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ ข้อ ๑๗ การเลือกตั้งสภานักเรียนกรรมการนักเรียนแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจะมีผู้ผ่านการเลือกตั้งเข้าดํารงตําแหน่ง สภานกั เรียนกรรมการนกั เรียนแบบแบ่งเขต รวมท้งั ส้นิ ๖ คน โดยจะต้องเป็นผูล้ งสมคั รรบั เลอื กตงั้ ซ่ึงมีผลคะแนนเลือกต้ังเป็น ลําดับท่ี ๑ ของ แต่ละเขตเลือกตั้ง ข้อ ๑๘ การเลือกตั้งสภานักเรียนกรรมการนักเรียนแบบบัญชีรายชื่อจะมีผู้ผ่านการเลือกตั้งดํารงตําแหน่งสภา นกั เรียนกรรมการนกั เรียนแบบบัญชรี ายชือ่ รวมทั้งส้ิน ๖ คน ซง่ึ การไดร้ บั ไดร้ ับตําแหนง่ จะดคู ำนวณจากผลคะแนนของแต่ละ บัญชีรายชอ่ื การเลอื กต้งั แบบบญั ชีรายช่อื ตาม ขอ้ ๑๙ ๒๐ ๒๒ และ ๒๓ ข้อ ๑๙ พรรคที่มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งเข้าดํารงตําแหน่งสมาชิกสภานักเรียนกรรมการนักเรียนแบบบัญชีรายชื่อ จากวิธีการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจะต้องได้รับคะแนนเสียงเกินกว่าร้อยละ ๕ ของจํานวนผู้ใช้สิทธิ์ทั้งหมด จึงจะได้รับการ พิจารณาเข้าดาํ รงตาํ แหน่งสมาชกิ สภานักเรียน ข้อ ๒๐ จํานวนของผู้มีสิทธิ์ลงสมัครรับเลือกตั้งที่ผ่านการเลือกของแต่ละพรรคในการเลือกตั้งแบบบัญชีรายช่ือ จะพิจารณาโดยการนําเอาคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคนั้นมาหารด้วยคะแนนขั้นต่ำ ซึ่ง เกณฑ์ คะแนนขนั้ ต่ำจะพิจารณาคำนวณตาม ขอ้ ๒๑ ท่ีได้กล่าวไว้ ข้อ ๒๑ เกณฑ์คะแนนขั้นต่ำพิจารณาคำนวณจากผู้ที่มาใช้สิทธิ์ทั้งหมดหารด้วยจํานวนสภานักเรียนของกรรมการ นักเรียนแบบบญั ชรี ายชือ่ ทไ่ี ดร้ บั ตำแหน่งจากวธิ กี ารเลอื กตง้ั แบบบัญชรี ายชื่อ ข้อ ๒๒ ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่มีรายชื่ออยู่ในลําดับที่ไม่เกินกว่าจํานวนของผู้มีสิทธิ์ดํารงตําแหน่ง สมาชิกสภานกั เรียนกรรมการนักเรียนแบบบัญชีรายชือ่ ของพรรคทีต่ นสังกดั อยู่ จะสามารถดํารงตาํ แหน่งสมาชิกสภานกั เรียน ได้กรรมการนกั เรียนแบบบญั ชีรายช่ือได้ ข้อ ๒๓ ในกรณีที่ผลการพิจารณามาตราตาม ข้อ ๒๑ ติดตัวเลขทศนิยมให้คณะกรรมการครูที่ปรึกษาสภานักเรียน เป็นผ้ชู ้ีขาด ข้อ ๒๔ สมาชิกสภาคณะกรรมการนักเรียนตามข้อ ๑๗ และข้อ ๑๘ ใช้สิทธิลงคะแนน เลือกหัวหน้าพรรคการเมือง คนใดคนหนึ่งเพื่อดํารงตําแหน่งประธานสภานักเรียน และหัวหน้าพรรคที่ได้รับการลงคะแนนมากที่สุดจะได้รับตําแหน่ง ประธานสภานักเรยี น ขอ้ x สมาชกิ คณะกรรมการนกั เรียนตามขอ้ ๑๗ และขอ้ ๑๘ ใช้สิทธิลงคะแนน เลอื กสมาชิกพรรคคนใดคนหน่ึงเพื่อ ดํารงตําแหน่งรองประธานสภานักเรียน และสมาชิกพรรคการเมืองที่ได้รับการลงคะแนนมากที่สุดจะได้รับ ตําแหน่งรอง ประธานสภานกั เรียน

ข้อ x กรรมการนักเรียนแบบสรรหาจะมีผู้ผ่านการพิจารณาเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการนักเรียนแบบสรรหา รวมทั้งสิ้น ๖ คน ซึ่งการได้รับตำแหน่งจะพิจารณาจากรายชื่อที่แต่ละพรรคส่งให้คณะกรรมการครูที่ปรึกษาสภานักเรียน พจิ ารณา โดยแตล่ ะพรรคสามารถส่งรายช่อื ไดไ้ ม่เกิน ๖ คน ข้อ x การแตง่ ต้งั คณะทำงานฝา่ ยต่างๆ ใหใ้ ช้เสยี งข้างมากของคณะกรรมการนักเรียน ข้อ x ในกรณีที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งมีเพียงพรรคเดียว จะต้องได้คะแนนเสียงในการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อไม่น้อย กว่าก่ึงหน่งึ ของผ้มู าลงคะแนนเสียงทั้งหมด จึงจะถือวา่ ไดร้ บั เลอื กเปน็ ประธานสภานักเรียน และจะมีสทิ ธิสรรหาคณะกรรมการ สภานักเรียน หากคะแนนเสยี งไม่ถงึ กึ่งหนงึ่ ของผู้มาลงคะแนน จะตอ้ งได้รบั การรับรองจากครทู ่ปี รกึ ษาสภานักเรียนว่าสามารถ ดาํ เนนิ กจิ กรรมสภานกั เรียนได้ จึงจะมสี ทิ ธิไดร้ ับการแต่งต้ัง ขอ้ ๒๕ สมาชิกสภานักเรียนและคณะกรรมการผแู้ ทนนักเรยี นพน้ ตําแหนง่ เมอ่ื ๑) เสยี ชีวติ ๒) ลาออก ๓) ขาดจากการเปน็ สภาพนักเรยี น ๔) สภานักเรยี นมีมติให้ออก ซึ่งครูที่ปรึกษาคณะกรรมการสภานักเรยี นเห็นชอบโดยคะแนนเสียงเกินกว่า ๒ ใน ๓ ของจาํ นวนคณะกรรมการนักเรยี นทงั้ หมด ๕) ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนใชอ้ ํานาจถอดถอน ยุบ เลิก คณะกรรมการสภานักเรียน เมือ่ กรรมการสมาชิกผูใ้ ด พ้นจากตําแหน่งก่อนวาระโรงเรียนอาจจัดให้มีการเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งผู้อื่นแทนก็ได้ ผู้ได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง ให้อยู่ใน ตําแหน่งตามวาระของผทู้ ีต่ นแทนเท่าน้ัน x) เมอื่ สมาชกิ สภานักเรียนผู้ใดพน้ จากตําแหนง่ กอ่ นวาระโรงเรียนอาจจดั ให้มกี ารเลอื กต้งั หรือแตง่ ตั้งผู้อื่น แทนกไ็ ด้ ผ้ไู ดร้ บั เลือกตั้งหรอื แตง่ ตัง้ ใหอ้ ยูใ่ นตําแหน่งตามวาระของผูท้ ่ีตนแทนเท่าน้ัน x) พ้นจากวาระการดำรงตำแหนง่

สว่ นท่ี ๓ สทิ ธแิ ละหน้าทขี่ องผมู้ สี ทิ ธลิ งคะแนนเลือกตง้ั สภานักเรียนการเลอื กต้ัง ข้อ ๒๖ บุคคลผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้งสภานักเรียนต้องมีคุณสมบัติคือ เป็นนักเรียนของโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ ข้อ ๒๘ ในการลงคะแนนเลือกตั้งสภากรรมการนักเรียนแบบแบ่งเขตเลือกตั้งมีสิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้งให้แก่ ผสู้ มัครรับเลือกต้ังได้เขตละ ๑ คน ข้อ ๒๙ ในการลงคะแนนเลอื กต้ังสภากรรมการนกั เรยี น แบบบญั ชีรายชือ่ ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลอื กตัง้ มสี ทิ ธ์ิ สามารถ ลงคะแนนเลอื กตัง้ ให้แกบ่ ัญชขี องพรรคการเมืองซ่ึงสมัครเข้ารบั การเลอื กตั้ง โดยใหเ้ ลอื กได้เพียงบญั ชีรายชอ่ื ใดรายหนงึ่ เทา่ นั้น ข้อ ๓๐ ในการลงคะแนนเลือกตัง้ สภากรรมการนกั เรยี นแบบแบง่ เขตเลือกต้ัง ผูม้ ีสทิ ธิเลือกตัง้ มสี ทิ ธิ์เลอื กตั้งสามารถ เลือกผู้สมัครรบั เลือกตั้งไดเ้ ฉพาะในเขตของตนเท่านน้ั ข้อ ๓๑ พรรคประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย ๑๒๑๓ คน ซึ่งดํารงตําแหน่งหัวหน้าพรรค และสมาชิกพรรค โดยจะต้องมกี ารกาํ หนด ช่ือพรรค อุดมการณ์ และนโยบายพรรค โดยมตขิ องสมาชิกพรรค ขอ้ ๓๒ บคุ คลมีสทิ ธจิ ดั ตง้ั พรรค จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิตอ่ ไปน้ีคือ ๑) เปน็ นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๒) เป็นบคุ คลทีม่ คี ุณสมบตั ติ ามข้อท่ี ๑๐ และจะตอ้ งไมม่ ลี ักษณะตามท่รี ะบไุ ว้ตามข้อท่ี ๑๑๑๒ ข้อ ๓๓ การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งกําหนดไว้ แต่ละพรรคสามารถ ส่งผู้ลงสมัครเข้ารับการเลือกต้ัง ไดพ้ รรคละ ๑ คน ต่อ ๑ เขตการเลือกต้ังเขตการเลอื กตัง้ แบ่งเป็น ๖ เขต โดยยึดตามระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาเป็น เกณฑ์การแบ่ง ดงั ต่อไปน้ี ๑) ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เปน็ เขตเลือกต้งั ที่ ๑ ๒) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เปน็ เขตเลอื กตง้ั ท่ี ๒ ๓) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เปน็ เขตเลอื กต้ังที่ ๓ ๔) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เปน็ เขตเลือกตง้ั ที่ ๔ ๕) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ เปน็ เขตเลอื กต้ังท่ี ๕ ๖) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เปน็ เขตเลอื กตงั้ ที่ ๖ ข้อ ๓๔ การเลือกต้ังสภานักเรียน ซึ่งมาจากการเลือกต้ังแบบบัญชีรายชื่อ กําหนดให้แต่ละพรรค สามารถส่งรายชือ่ ไดพ้ รรคละ ๖ คน ขอ้ ๓๕ การรับสมคั รสภานักเรียนให้ดําเนินการในชว่ งเดือนพฤษภาคมถึงเดอื นมิถุนายน เวน้ เสียแต่ ครทู ่ปี รกึ ษาสภา นกั เรยี นเสนอความเห็น ให้ผอู้ ํานวยการเหน็ ชอบเปลี่ยนแปลงประกาศรบั สมัครไดต้ ามความ เหมาะสม การหาเสียงของพรรคมี ระยะเวลา ๒ สัปดาห์ ก่อนการเลอื กต้ังสภานักเรียน ให้มีการดำเนินการเลือกตั้งภายในช่วงสองเดอื นแรกของภาคเรียนที่สอง ของแต่ละปีการศึกษา เว้นเสียแต่ ครูที่ปรึกษาสภานักเรยี นเสนอความเห็น ให้ผู้อํานวยการเหน็ ชอบเปลี่ยนแปลงประกาศรับ สมัครได้ตามความเหมาะสม การหาเสียงของพรรคมรี ะยะเวลา ๒ สัปดาห์ ก่อนการเลือกตงั้ สภานกั เรียน

หมวด ๔๕ อาํ นาจ และหน้าที่ของสภานักเรยี น ข้อ ๓๖ การปฏิบัติงานตามหน้าที่ของสภานักเรียนจะขัดหรือแย้งกับระเบียบ หรือข้อบังคับอื่นใดของทางราชการ ที่โรงเรียนปฏิบัติอยู่มิได้กับทั้งต้องรักษาไว้ซึ่งศีลธรรม วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ทั้งน้ี เว้นแต่กรณี ทจ่ี ําเปน็ ใหข้ อความเห็นชอบจากโรงเรียนกอ่ น ข้อ ๓๗ สภานกั เรยี นใหม้ ีอาํ นาจและหนา้ ที่ ดงั นี้ ๑) จัดการประชมุ สภานักเรยี น ๒) ศึกษาสภาพปญั หา และความต้องการของเพ่อื นนกั เรียน ๓) จัดทําโครงการกิจกรรมนักเรียน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางแก้ปัญหาเสนอรอง ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นกลมุ่ บริหารงานทั่วไป พจิ ารณาเหน็ ชอบ ๔) เป็นตวั แทนของนกั เรยี นในการกระทาํ ใดๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน ๕) ดาํ เนนิ การแก้ปัญหา โดยเน้นการมสี ว่ นรว่ มของสมาชิก และใชว้ ธิ ที ํางานตามหลักธรรมาภิบาล ๖) มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบการประเมนิ ผล ขณะทม่ี กี ารปฏบิ ตั กิ จิ กรรม หรือดาํ เนนิ กิจกรรม ๗) มีการสรปุ ผล การรายงาน การเผยแพร่ และการปรบั ปรงุ การปฏิบตั กิ จิ กรรมอย่างต่อเนื่อง ๘) เผยแพร่ความรเู้ รอ่ื งประชาธิปไตยแก่นักเรยี น และดาํ เนนิ การเลือกตัง้ ประธานสภานักเรยี น ๙) แต่งตั้งอนุกรรมการเพอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารอย่างหนงึ่ อยา่ งใด ตามทเ่ี หน็ สมควร ๑๐) ปฏบิ ตั ิตามท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากโรงเรยี น

หมวด ๕๖ การประชุมสภานกั เรียน ขอ้ ๓๘ การประชมุ ของสภานักเรียนมี ๒ ประเภท ๑) การประชมุ สามญั ให้คณะกรรมการสภานักเรียนจัดประชุมเพ่ือบริหารงานอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง ๒) การประชุมวิสามัญ เมื่อมีความจําเป็นรีบด่วน เพื่อประโยชน์ของโรงเรียนเป็นส่วนรวม ให้ประธานสภานักเรียนเรียก ประชุมได้ ขอ้ ๓๙ ในการประชมุ ต้องประกอบด้วยองค์ประชุม ดงั น้ี ๑) การประชมุ ใหป้ ระกอบดว้ ย สมาชกิ สภานกั เรยี น และครูทีป่ รึกษาอย่างน้อย ๒๑ คน ๒) ใหป้ ระธานสภานักเรยี นเป็นประธานในทีป่ ระชุม ใหเ้ ลขาธิการคณะกรรมการสภานกั เรยี นเป็นผ้อู อกหนังสือเชิญประชุม และจดบันทึกการประชมุ ๓) ในการประชุมต้องมผี ้เู ข้าประชุมไมน่ ้อยกวา่ กงึ่ หนึง่ ของจาํ นวนคณะกรรมการสภานักเรยี นจึงจะครบองคป์ ระชมุ ๔) ในการประชมุ ให้แถลงผลงานและการเงนิ และทป่ี ระชุมมีสทิ ธิในการซักถาม ๕) ถ้าประธานไม่อยู่ในท่ีประชุม ให้รองประธานสภานักเรยี นหรือกรรมการนกั เรียนคนใดคนหน่ึงปฏิบัติหน้าที่เป็นประธาน ในท่ปี ระชมุ แทน หรอื กรรมการผู้แทนนกั เรยี นคนหนงึ่ เป็นประธาน ๖) การวนิ ิจฉัยชขี้ าดของทีป่ ระชุมใหใ้ ชเ้ สียงขา้ งมากของคณะกรรมการนกั เรียน ๗) ผู้เข้าประชุมสมาชิกคณะกรรมการนักเรียนหนึ่งคนมีสิทธิในการออกเสียง ๑ เสียงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียง เท่ากันใหป้ ระธานในทป่ี ระชมุ ออกเสียงเพ่มิ ขึน้ อีกหนง่ึ เสียงเป็นเสยี งชข้ี าด ข้อ ๔๐ ให้ประธานสภานักเรียนทําหนังสือระเบียบวาระการประชุมเสนอรองผู้อํานวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารงานทั่วไป ก่อนการ ประชุมอย่างน้อย ๓ วัน เพื่ออนมุ ัติการประชมุ ทุกครั้ง และหลงั การประชุมให้รายงานผลการประชุมเสนอรองผู้อาํ นวยการโรงเรยี นกลุ่มบริหารงาน ท่วั ไป และผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นทุกคร้งั ขอ้ x การประชุมยอ่ มเป็นการเปิดเผย เวน้ แต่คณะกรรมการนักเรียนจานวนไม่นอ้ ยกว่า หนึ่งในส่ีของจานวนสมาชิกคณะกรรมการ นกั เรียนทง้ั หมดเทา่ ทม่ี อี ยขู่ องสภารอ้ งขอใหป้ ระชมุ ลบั ก็ใหป้ ระชมุ ลบั การประชมุ เปิดเผย ใหบ้ คุ คลภายนอกเขา้ ฟังการประชมุ ไดต้ ามท่ปี ระธานสภานกั เรยี นกาหนด ในการประชมุ ลบั หา้ มบุคคลภายนอกเขา้ ฟังการประชุม เวน้ แต่ผทู้ ่ีไดร้ บั อนญุ าตจากประธานสภานกั เรียนเท่านนั้ และใหป้ ระธาน ดาเนนิ การเพ่อื มใิ หม้ ีการบนั ทกึ ภาพ บนั ทึกเสียง หรอื กระทาการใดๆ ท่ีเป็นการถา่ ยทอดการประชมุ สบู่ คุ คลภายนอกโดยมิไดร้ บั อนญุ าต หมวด ๖๗ สทิ ธิในการยับยง้ั ข้อ ๔๑ ให้ครูที่ปรึกษาคณะกรรมการสภานักเรียน โดยความเห็นชอบของผู้อํานวยการโรงเรียน มีอํานาจยับยั้งกิจการใดๆของสภา นักเรยี น เมื่อเห็นวา่ กจิ กรรมน้ันไมส่ มควร หรือสามารถถอดถอน เปล่ียนแปลง แก้ไข เพม่ิ เตมิ และยุบซ่งึ กจิ การไดต้ ามสมควร หมวด ๗๘ การแกไ้ ขเพ่ิมเติม ข้อ ๔๒ ในกรณีที่ต้องการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ต้องได้รับความเห็นชอบจากครูที่ปรึกษา คณะกรรมการสภานกั เรยี น ผูอ้ ํานวยการโรงเรียน และเปน็ ไปตามระเบียบและประเพณที ดี่ งี าม

๓. การเตรียมความพร้อมในการนำเสนอรายงานการพิจารณาร่างระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) ต่อที่ประชุม คณะกรรมการสภานักเรยี น ที่ประชุมพิจารณาแล้วเห็นว่า โดยที่การพิจารณาร่างระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคมว่าด้วย สภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) ของที่ประชุมคณะกรรมการ นักเรียน คาดว่าประธานคณะกรรมการสภานักเรียนจะบรรจุระเบียบวาระเพื่อเข้าสู่การพิจารณา ในวันจันทร์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ แต่เรื่องดังกล่าวจะอยู่ในส่วนระเบียบวาระใดนั้น ยังไม่มีความชัดเจน ในการน้ีจงึ มอบหมายให้ฝา่ ยเลขานุการตดิ ตามตรวจสอบ และประสานแจ้งให้อนุกรรมการรับทราบคร้งั หน่ึง นายกสณิ เพญ็ สุข รองประธานสภานกั เรยี น ผู้สรปุ ผลการประชมุ นางสาวสภุ ัทรา อนิ ม่นั เลขานุการคณะกรรมการสภานักเรยี น ผูต้ รวจสรปุ ผลการประชมุ