Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙)

บันทึกการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙)

Published by Uthaiwitthayakhom StudentCouncil, 2020-11-22 16:11:33

Description: บันทึกการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙)
สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม
ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓
วันพฤหัสบดีที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓
ณ ห้องปกครอง

Keywords: สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม

Search

Read the Text Version

บนั ทึกการประชมุ คณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปญั หา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพมิ่ เตมิ ระเบียบโรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม ว่าดว้ ยสภานกั เรยี นโรงเรียนอทุ ัยวทิ ยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบบั แก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานักเรียน โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม คร้งั ท่ี ๑/๒๕๖๓ คณะทำงานฝา่ ยเลขานกุ าร คณะกรรมการสภานกั เรียน โรงเรียนอุทยั วิทยาคม

บันทกึ การประชุม คณะอนุกรรมการพิจารณาศกึ ษาปญั หา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแกไ้ ขเพิม่ เติมระเบยี บ โรงเรยี นอทุ ัยวทิ ยาคม วา่ ดว้ ยสภานักเรียนโรงเรยี นอทุ ยั วทิ ยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบบั แกไ้ ข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานักเรยี น โรงเรียนอทุ ัยวิทยาคม ครงั้ ที่ ๑/๒๕๖๓ วันพฤหัสบดที ี่ ๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ณ หอ้ งปกครอง ---------------------------------------- อนกุ รรมการผมู้ าประชุม คอื ๑. นายกสณิ เพญ็ สุข ๒. เด็กชายจิรภัทร วราหะ ๓. นางสาวญาณิกา จวิ สบื พงษ์ ๔. เด็กชายธีธัช สมใจไพบูลย์ ๕. นางสาวพรไพลิน สิงหราช อนกุ รรมการผู้ลาประชมุ คือ ๑. เดก็ หญิงชาดดี า ไทยเศรษฐ์ ๒. นายณัฐวตั ร โกแก้ว เรมิ่ ประชุมเวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา เมื่ออนุกรรมการมาครบองค์ประชุมแล้ว คณะอนุกรรมการได้ดำเนินการเพื่อเลือกต้ัง ตำแหนง่ ตา่ งๆในคณะอนุกรรมการ อันได้แก่ ตำแหน่งประธาน รองประธาน เลขานกุ าร โฆษก และตำแหน่งอื่น ตามความจำเปน็ ก่อนการพิจารณาเลือกตั้งตำแหน่งต่างๆ ที่ประชุมได้หารือแนวทางการเสนอรายชื่อ อนุกรรมการ เพื่อให้ดำรงตำแหน่งต่างๆในคณะอนุกรรมการ โดยเห็นควรให้มีตำแหน่งรองประธาน จำนวน ๑ คน เลขานุการจำนวน ๑ คน โฆษกจำนวน ๑ คน และตำแหน่งอื่น ได้แก่ ประธานที่ปรึกษา จำนวน ๑ คน และที่ปรึกษาจำนวน ๒ คน โดยสามารถเสนอรายชื่อของอนุกรรมการผู้ลาการประชุม ในคร้ังน้ไี ด้

มติท่ปี ระชมุ ทปี่ ระชมุ มีมตเิ หน็ ควรใหเ้ ลอื กตำแหน่งต่างๆ ในคณะอนุกรรมการ ดังนี้ ๑) นายกสิณ เพญ็ สุข เปน็ ประธานคณะอนุกรรมการ ๒) นางสาวญาณกิ า จิวสบื พงษ์ เปน็ รองประธานคณะอนุกรรมการ ๓) เดก็ ชายธธี ัช สมใจไพบลู ย์ เป็นเลขานกุ ารคณะอนุกรรมการ ๔) เดก็ ชายจิรภทั ร วราหะ เปน็ โฆษกคณะอนุกรรมการ ๕) นางสาวพรไพลนิ สิงหราช เปน็ อนุกรรมการและประธานที่ปรกึ ษา ๖) เด็กหญงิ ชาดดี า ไทยเศรษฐ์ เปน็ อนุกรรมการและทป่ี รึกษา ๗) นายณัฐวัตร โกแกว้ เป็นอนกุ รรมการและทป่ี รกึ ษา ระเบยี บวาระที่ ๑ เรอ่ื งทป่ี ระธานแจ้งใหท้ ป่ี ระชุมทราบ ๑.๑ ขอบคุณอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) ท่ีเข้าร่วมการประชุมคณะอนกุ รรมการฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓ ๑.๒ ด้วยในคราวประชุมคณะกรรมการสภานักเรียนสมัยสามัญ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๔๖๓ ที่ประชุมได้พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) พร้อมทั้งได้มีข้อสังเกต เกยี่ วกบั ระเบียบดงั กล่าว ตามระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคมว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) ข้อ ๓๗ (๑๐) สภานักเรียนจึงมีมติแต่งตั้งอนุกรรมการพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ.๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) เพื่อพิจารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขระเบยี บดงั กลา่ วตอ่ ไป ทป่ี ระชุมรับทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม - ไมม่ ี ระเบียบวาระท่ี ๓ เร่อื งสบื เน่ือง - ไม่มเี ร่ืองสืบเนื่อง

ระเบยี บวาระที่ ๔ เร่อื งเสนอเพือ่ พิจารณา - นายกสิณ เพญ็ สุข ประธานคณะอนกุ รรมการ ไดน้ ำระเบยี บโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม วา่ ด้วย สภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) แสดงต่อที่ประชุมเพื่อให้ที่ประชุม พจิ ารณาแก้ไขเพม่ิ เตมิ มตทิ ่ีประชมุ ทปี่ ระชุมพจิ ารณาแล้วเห็นควรใหแ้ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ ดังนี้ ระเบยี บโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม วา่ ด้วยสภานักเรยี นโรงเรยี นอทุ ยั วทิ ยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบบั แก้ไข พ.ศ. ........) ธรรมนูญสภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม นี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน มีความรู้ ความ เข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อมุ่งมั่นให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีประสบการณ์ในการทํางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ รู้จักสิทธิและหน้าที่ มีวินัย มีเหตุผล อนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม โดยเปิดโอกาสให้นักเรยี นทกุ คนมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมของทางโรงเรียนตามสมควรแต่ละกรณี ดังตอ่ ไปนี้ โรงเรียนอุทัยวิทยาคมจึงได้กำหนดระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ดงั ตอ่ ไปน้ี หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ ๑ ธรรมนูญฉบับนี้เรียกว่า “ธรรมนูญสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียน โรงเรียนอุทัย วทิ ยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแกไ้ ข พ.ศ.๒๕๖๓)” ข้อ ๒ ธรรมนูญฉบับนีใ้ ห้ใช้บังคับนับตั้งแตว่ ันทีผ่ ู้อาํ นวยการโรงเรยี นอุทัยวทิ ยาคม ได้ลงลายมอื ชื่อไว้ เป็นหลักฐาน ทา้ ยธรรมนูญฉบับน้เี ป็นต้นไป ขอ้ ๓ ในธรรมนญู ฉบบั นี้ เวน้ แต่จะมขี อ้ ความแสดงใหเ้ ห็นเป็นอยา่ งอ่ืนคำวา่ “โรงเรยี น” หมายถึง โรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม จังหวัดอุทัยธานี “นักเรียน” หมายถงึ นกั เรียนโรงเรยี นอุทัยวทิ ยาคม “คณะครู” หมายถึง คณะครูหรือบคุ ลากรท่ปี ฏิบตั หิ นา้ ท่ีในโรงเรยี นอทุ ัยวิทยาคมครโู รงเรยี นอทุ ยั วิทยาคม “ครูท่ีปรึกษา” หมายถงึ คณะกรรมการครูทป่ี รกึ ษาสภานกั เรยี น “ผูอ้ ำนวยการ” หมายถึง ผู้อำนวยการโรงเรยี นอทุ ัยวทิ ยาคม “สภานกั เรียน” หมายถึง สภานักเรยี นโรงเรียนอทุ ยั วิทยาคม “กลุ่มหรือพรรค” หมายถึง พรรคที่นักเรียนรวมกัน จัดตั้งขึ้น โดยจดแจ้งและจดทะเบียน จัดตั้งตาม ระเบียบและประเพณีทีป่ ฏิบัติ

“เลือกตั้ง” หมายถึง เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียน สมาชิกที่ปรึกษา แล้วแต่กรณีเลือกตั้งประธาน นักเรียน หรอื กรรมการนกั เรียน แลว้ แต่กรณี “ผู้สมัครรับเลือกตั้ง” หมายถึง ผู้สมัครรับเลือกตั้งสภานักเรียนประธานนักเรียน หรือคณะกรรมการ นกั เรียนแบบแบง่ เขต หรือกรรมการนกั เรียนแบบบญั ชีรายช่อื แลว้ แต่กรณี “คณะกรรมการนักเรียน” หมายถึง ประธานสภานักเรียน รองประธานสภานักเรียน กรรมการนักเรียนที่ ได้จากการเลือกตั้งและการสรรหาโดยคำแนะนำของครูทป่ี รกึ ษาสภานักเรยี นจากการเสนอชื่อของแตล่ ะพรรค “กรรมการสภานักเรยี น” หมายถงึ คณะกรรมการสภานกั เรียนโรงเรยี นอทุ ยั วิทยาคม “ประธานคณะกรรมการสภานกั เรียน” หมายถงึ ประธานคณะกรรมการนกั เรียน โรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม “ผ้มู ีสิทธิเลอื กตั้ง” หมายถึง นกั เรียนโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม ข้อ ๔ ให้คณะกรรมการคณะหนึ่ง ซึ่งผู้อํานวยการโรงเรียนอุทัยวิทยาคมแต่งตั้งขึ้น เรียกว่า คณะกรรมการครู ที่ปรึกษาสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ประกอบด้วย ผู้อํานวยการโรงเรียนอุทัยวิทยาคมเป็นประธานกรรมการ และคณะครูที่ปรึกษาเป็นกรรมการเพื่อดูแล ให้คําปรึกษาและคําแนะนํา ต่อสภานักเรียนหรือคณะกรรมการสภานักเรียน ในปัญหาต่างๆ เกย่ี วกับการดําเนนิ กิจการของสภานกั เรียนและคณะกรรมการสภานักเรยี น และมีอาํ นาจหน้าทอี่ น่ื ดังตอ่ ไปนี้ ๔.๑ ดูแลให้การดําเนินงานของสภานักเรียนและคณะกรรมการสภานักเรียนเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ภายใตบ้ ังคบั กฎหมายและระเบียบ และข้อบังคับของโรงเรียน ๔.๒ พิจารณาและเสนอความเห็นต่อผู้อํานวยการเพื่อวินิจฉัยสั่งการเกี่ยวกับโครงการหรือ การจัดทํา กจิ กรรมตามที่สภานกั เรยี นหรอื คณะกรรมการนักเรียนไดย้ ่นื คําขอดําเนินการ ๔.๓ พิจารณาและเสนอความคิดเหน็ ต่อผอู้ ํานวยการเพื่อวินจิ ฉยั สง่ั การ ร่างข้อเสนอนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือข้อควรปฏิบัติ เกี่ยวกับกิจกรรม หรือกิจการทั้งหลาย ที่เกี่ยวข้อ งกับโรงเรียนของ สภานักเรียนหรือ คณะกรรมการนักเรยี น ๔.๔ สนับสนุน และให้การศึกษาเก่ียวกับการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข ๔.๕ จัดทาํ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านประจําปี และขอ้ สังเกตเสนอผู้อํานวยการโรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม หมวด ๑๒ วตั ถุประสงค์ ขอ้ ๕ สภานักเรียนจดั ตงั้ ขึน้ ดว้ ยวตั ถุประสงค์สาํ คญั ๖ ประการ คอื ๕.๑ เพอ่ื พัฒนาสงั คมในโรงเรยี นให้เปน็ สงั คมประชาธปิ ไตย ๕.๒ เพ่อื ใหน้ ักเรียนได้พฒั นาศักยภาพการเป็นผนู้ าํ ๕.๓ เพื่อสรา้ งโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกทกั ษะ และประสบการณต์ ามวิถีประชาธปิ ไตย และการใช้ หลักธรรมาภิบาล และให้นักเรียนได้เรียนรกู้ ารอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยอย่างสงบสุข ๕.๔ เพือ่ ปลกู ฝงั จติ วิญญาณประชาธิปไตยและการใช้หลักธรรมาภบิ าลให้แกน่ ักเรยี น ๕.๕ เพื่อใหน้ ักเรียนมีประสบการณด์ ้านการบริหารและดา้ นการปกครอง

๕.๖ เพ่ือทาํ หนา้ ทเ่ี ป็นตัวแทนของนกั เรยี น ในการกระทําอนื่ ใดทง้ั ภายในและภายนอก หมวด ๒๓ องคป์ ระกอบของสภานักเรยี น ข้อ ๖ สภานกั เรยี นให้มอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้ ๖.๑ คณะกรรมการสภานกั เรียน ๖.๒ คณะกรรมการผแู้ ทนนักเรยี น ๖.๓ ครูที่ปรกึ ษา ข้อ ๗ คณะกรรมการสภานกั เรยี น ประกอบด้วย ๗.๑ คณะกรรมการนกั เรียน ๗.๑.๑ ประธานสภานกั เรียน ๗.๑.๒ รองประธานสภานักเรยี น ๗.๑.๓ กรรมการนักเรียนแบบแบง่ เขต ๗.๑.๔ กรรมการนกั เรียนแบบบญั ชรี ายช่อื ๗.๑.๕ กรรมการนักเรยี นแบบสรรหา ๗.๒ คณะทำงาน ๗.๒.๑ ฝา่ ยเลขานุการ ๗.๒.๒ ฝา่ ยเหรญั ญิก ๗.๒.๓ ฝา่ ยเทคโนโลยี ๗.๒.๔ ฝา่ ยปฏคิ ม ๗.๒.๕ ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ ๗.๒.๖ ฝา่ ยกีฬานนั ทนาการ ๗.๒.๗ ฝา่ ยสวสั ดิการ ๗.๒.๘ ฝา่ ยรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ย ขอ้ ๘ คณะกรรมการผูแ้ ทนนกั เรยี น ประกอบด้วย ๘.๑ ผู้แทนนกั เรยี นจากทกุ ห้องเรยี น หอ้ งละ ๑ คน ๘.๒ ผแู้ ทนนกั เรียน ระดับชนั้ ละ ๑ คน ๘.๓ หัวหนา้ คณะสี คณะสีละ ๑ คน ๘.๔ ทปี่ รึกษาคณะสี ไม่เกิน ๒ คน ข้อ ๙ ใหแ้ ต่ละฝา่ ยมหี นา้ ท่ีรบั ผิดชอบดงั น้ี ๙.๑ ประธานสภานักเรียน มหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี ๑) เปน็ ผู้นําของสภานกั เรียนปฏบิ ตั ิงานตามนโยบายท่ใี ห้ไวแ้ ละดูแลกจิ กรรมต่างๆภายใน โรงเรียนใหด้ าํ เนนิ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ ๒) รบั ผดิ ชอบและเปน็ ผ้นู าํ กิจกรรมต่างๆ ของสภานกั เรยี น เรียบร้อย ๓) เปน็ ประธานในการประชมุ ของสภานักเรยี น ประจําทกุ เดือน ๙.๒ รองประธานสภานกั เรยี น มหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบ ดงั นี้ ข้นึ ๑) รบั ผดิ ชอบงานตา่ งๆ ร่วมกบั ประธานคณะกรรมการสภานักเรยี น ๒) รับผิดชอบหน้าที่และคอยดูแลกจิ กรรมรวมถึงสภานกั เรียนเม่ือประธานนักเรียน ไม่สามารถ และผล ๙.๓. กรรมการนักเรียน มหี นา้ ทร่ี บั ผิดชอบ ดงั นี้ ๑) รับผดิ ชอบหนา้ ท่ีท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากสภานักเรยี น ๒) เข้ารว่ มการประชุมสภานักเรยี น หรอื การประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี น ๙.๓๔ ฝา่ ยเหรญั ญิก มหี นา้ ทรี่ บั ผิดชอบ ดงั นี้ ๑) ทําบัญชีการเบิกจ่าย และทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายของสภานักเรียนให้ดําเนินไปด้วยความ ๒) รายงานฐานะการเงินของสภาฯต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสภาฯและโรงเรียนเป็น ๙.๔๕ ฝา่ ยปฏคิ ม มีหน้าท่ีรบั ผิดชอบ ดังนี้ ๑) ใหก้ ารตอ้ นรบั แขกผู้มีเกยี รติ และผูเ้ ป็นประธานรว่ มงานตา่ งๆ ตามกิจกรรมที่สภานกั เรยี นจดั ๙.๕๖ ฝา่ ยประชาสัมพันธ์ มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ดงั น้ี ๑) แจ้งข่าวสารและสง่ เสริมให้นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรียน ๒) เผยแพรข่ า่ วกจิ กรรมต่างๆ ของนักเรียนสู่สงั คม ๙.๖๗ ฝา่ ยเทคโนโลยี มหี นา้ ท่รี ับผดิ ชอบ ดังน้ี ๑) บนั ทึกภาพกิจกรรมตา่ งๆ ท่ไี ดร้ บั มอบหมายให้ดําเนนิ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย ๒) ควบคมุ ดแู ลและประสานงานเกย่ี วกบั อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนคิ ในกิจกรรมต่างๆ ๓) ดูแลระบบสารสนเทศของงานสภานกั เรียน ๙.๗๘ ฝา่ ยรักษาความสงบเรยี บรอ้ ย (สารวัตรนักเรียน) มหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ ดังนี้ ๙.๗๘.๑ ฝ่ายไกล่เกล่ยี ๑) เจราจาเพ่ือลดปญั หาความขดั แย้งระหวา่ งนักเรียน ๒) คอยป้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดเรื่องทะเลาะวิวาทโดยการเจรจา ๓) ผกู มิตรไมตรี ใหเ้ กิดความปรองดองระหว่างนกั เรียนท่มี ีความขัดแย้งกันโดยใช้เหตุ ๙.๗๘.๒ ฝ่ายปราบปราม ๑) หา้ มปรามนกั เรยี นทีท่ ะเลาะววิ าทกนั ๒) ควบคมุ กํากบั ดแู ล ตดิ ตามความประพฤตนิ กั เรียนที่ปฏิบัติตนไมเ่ หมาะสม ๙.๘๙ ฝ่ายสวสั ดิการ มีหน้าทรี่ ับผดิ ชอบ ดังนี้

ประเภท ๑) ดแู ลและช่วยเหลอื กิจกรรมสภานักเรยี น ๒) อํานวยความสะดวกและเอื้อประโยชน์ต่อการดําเนินกิจกรรมของสภานักเรียนทกุ ๙.๙๑๐ ฝ่ายกฬี า/นันทนาการ มหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี ๑) วางแผน ประสานงานและดาํ เนินงานเก่ียวกับการจดั กฬี า ๒) จดั กิจกรรมนนั ทนาการตามโอกาสต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย ๔.๑๐๑๑ ฝา่ ยเลขานกุ าร มีหนา้ ที่รบั ผิดชอบ ดงั นี้ ๑) บันทึกวาระต่างๆ ในการประชุมและรายงานสรุปผลการประชุมต่อประธาน ๒) รบั หนงั สือออกภายนอกและภายในทีเ่ ก่ยี วข้องกบั สภานักเรียน หมวด ๓๔ ท่มี าของสมาชกิ สภานักเรยี น และสมาชกิ ภาพ สว่ นที่ ๑ คุณสมบตั ิ และลกั ษณะตอ้ งหา้ มของผมู้ สี ทิ ธสิ มัครรับเลือกตงั้ ของคณะกรรมการสภานกั เรียน ขอ้ ๑๐ บคุ คลผมู้ คี ุณสมบตั ิตอ่ ไปน้ีในวันสมัครรบั เลอื กต้ังเปน็ ผมู้ สี ทิ ธิสมัครรับเลอื กตัง้ เป็น ประธานสภานกั เรยี นตาม บทบัญญัตขิ องธรรมนญู ฉบบั นี้ ๑) เป็นนกั เรยี นโรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม ๒) เปน็ ผทู้ ่ีกําลังศึกษาอยใู่ นระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖ ของปีทีม่ กี ารเลือกตัง้ ๓) มผี ลการเรยี นเฉลีย่ สะสมทกุ ภาคเรียนไมต่ ำ่ กวา่ ๒.๐๐ ๔) เปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีความเปน็ กลางในการดาํ เนนิ นโยบาย ๕) เปน็ ผู้ที่รักและเทดิ ทูนในเกียรตขิ องโรงเรยี น ๖) เปน็ ผมู้ คี วามเสียสละเพือ่ สว่ นรวม ๗) เป็นผู้มคี วามประพฤติดีและถกู ต้องตามระเบยี บวนิ ัยของโรงเรียน ๘) เป็นผมู้ รี ะเบียบวนิ ยั และมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ข้อ ๑๒๑ คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ารับการคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งเข้าดํารงตําแหน่งคณะกรรมการสภานักเรียน มี ดังตอ่ ไปนค้ี อื ๑) เป็นนกั เรยี นของโรงเรยี นอทุ ยั วทิ ยาคม ๒) เปน็ ผมู้ คี ุณธรรม จริยธรรม และมีความเปน็ กลางในการดาํ เนินนโยบาย ๓) เปน็ ผู้ที่รักและเทิดทนู ในเกยี รตขิ องโรงเรยี น ๔) เป็นผมู้ คี วามเสียสละเพ่อื สว่ นรวม ๕) เปน็ ผูม้ คี วามประพฤติดีและถูกตอ้ งตามระเบียบวินยั ของโรงเรียน ๖) เป็นผู้มรี ะเบยี บวนิ ยั และมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ข้อ ๑๑๒ บุคคลผไู้ ม่มีสทิ ธ์ิใหส้ มัครรับเลอื กตง้ั เข้าดํารงตําแหน่งในสภานักเรียนลกั ษณะตอ้ งห้ามของผู้ดํารงตําแหน่ง คณะกรรมการสภานกั เรยี น

๑) เปน็ ผ้ทู ยี่ ่งุ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ๒) เคยถูกหักคะแนนความประพฤตอิ ย่างน้อย ๒๐ คะแนนต่อปีการศึกษา จากกลุ่มบริหารงานทั่วไป ๓) เคยให้ถูกพักการเรยี นไม่ว่าด้วยกรณใี ดๆ กต็ าม ๔) ไมไ่ ดร้ ับความยินยอมจากครทู ป่ี รกึ ษาประจําชนั้ เรียน ในการใหค้ วามเหน็ ชอบเข้ารบั การสมัคร ขอ้ ๑๓ คณะกรรมการสภานกั เรยี นมีวาระการดํารงตําแหน่งนับแต่วนั ทค่ี ณะกรรมการสภานักเรยี นชุดกอ่ นไดส้ ง่ มอบ งานในหนา้ ทใ่ี หอ้ ย่างเปน็ ทางการและหมดวาระการดํารงตาํ แหนง่ ในวันจบการศกึ ษาของ ปีการศกึ ษาที่ไดด้ าํ รงตาํ แหนง่ ขอ้ ๑๓ ให้สมาชิกสภานกั เรยี นมวี าระการดาํ รงตาํ แหนง่ คราวละ ๒ ภาคเรยี น โดยเร่ิมปฏิบัติ หนา้ ท่ีหลังจากได้รับการแต่งตัง้ จากผ้อู ํานวยการ และใหค้ รบวาระการปฏิบัตหิ นา้ ที่หลงั จากผอู้ าํ นวยการแตง่ ต้งั คณะกรรมการสภานกั เรยี นชดุ ใหม่ สว่ นที่ ๒ วธิ ีการเลือกตัง้ วธิ ีการได้มาซงึ่ คณะกรรมการสภานกั เรยี น และสมาชกิ ภาพของสมาชิกสภานกั เรียน ข้อ ๑๔ การเลือกตงั้ สภานกั เรียนของโรงเรยี นอุทยั วทิ ยาคม โดยมีการจัดการเลอื กตง้ั ๒ รปู แบบ คอื ๑) แบบแบ่งเขตการเลือกตงั้ ๒) แบบบัญชรี ายชอ่ื ข้อ ๑๕ การเลือกตั้งทุกครั้งต้องมีคําประกาศหรือคําสั่งของผู้อํานวยการโรงเรียนในการกําหนด เลือกตั้ง คุณสมบตั ิ ของผู้มีสทิ ธิเลือกต้งั และกาํ หนดหนว่ ยเลอื กต้งั ด้วย ข้อ ๑๖ บุคคลผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้งสภานักเรียนต้องมีคุณสมบัติ คือ เป็นนักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคมใน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ข้อ ๑๗ การเลือกตั้งสภานักเรียนกรรมการนักเรียนแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจะมีผู้ผ่านการเลือกตั้งเข้าดํารงตําแหน่ง สภานกั เรยี นกรรมการนักเรียนแบบแบ่งเขต รวมท้ังส้นิ ๖ คน โดยจะตอ้ งเปน็ ผลู้ งสมคั รรบั เลือกตงั้ ซ่ึงมีผลคะแนนเลือกต้ังเป็น ลาํ ดบั ที่ ๑ ของ แต่ละเขตเลอื กตงั้ ข้อ ๑๘ การเลือกตั้งสภานักเรียนกรรมการนักเรียนแบบบัญชีรายชื่อจะมีผู้ผ่านการเลือกตั้งดํารงตําแหน่งสภา นักเรียนกรรมการนักเรียนแบบบญั ชีรายช่อื รวมทัง้ สน้ิ ๖ คน ซงึ่ การได้รับไดร้ ับตําแหนง่ จะดคู ำนวณจากผลคะแนนของแต่ละ บัญชีรายชือ่ การเลือกตั้งแบบบัญชรี ายชื่อตาม ขอ้ ๑๙ ๒๐ ๒๒ และ ๒๓ ข้อ ๑๙ พรรคที่มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งเข้าดํารงตําแหน่งสมาชิกสภานักเรียนกรรมการนักเรียนแบบบัญชีรายช่ือ จากวิธีการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจะต้องได้รับคะแนนเสียงเกินกว่าร้อยละ ๕ ของจํานวนผู้ใช้สิทธิ์ทั้งหมด จึงจะได้รับการ พิจารณาเขา้ ดํารงตําแหน่งสมาชิกสภานักเรียน ข้อ ๒๐ จํานวนของผู้มีสิทธิ์ลงสมัครรับเลือกตั้งที่ผ่านการเลือกของแต่ละพรรคในการเลือกตั้งแบบบัญชีรายช่ือ จะพิจารณาโดยการนําเอาคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคนั้นมาหารด้วยคะแนนขั้นต่ำ ซึ่ง เกณฑ์ คะแนนขนั้ ต่ำจะพจิ ารณาคำนวณตาม ข้อ ๒๑ ทีไ่ ดก้ ลา่ วไว้ ข้อ ๒๑ เกณฑ์คะแนนขั้นต่ำพิจารณาคำนวณจากผู้ที่มาใช้สิทธิ์ทั้งหมดหารด้วยจํานวนสภานักเรียนของกรรมการ นักเรียนแบบบญั ชรี ายชอ่ื ท่ไี ดร้ ับตำแหนง่ จากวิธีการเลอื กตง้ั แบบบญั ชีรายชื่อ

ข้อ ๒๒ ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่มีรายชื่ออยู่ในลําดับที่ไม่เกินกว่าจํานวนของผู้มีสิทธิ์ดํารงตําแหน่ง สมาชิกสภานกั เรียนกรรมการนักเรยี นแบบบัญชีรายช่ือของพรรคที่ตนสังกัดอยู่ จะสามารถดํารงตําแหนง่ สมาชิกสภานกั เรียน ได้กรรมการนักเรยี นแบบบญั ชีรายชอื่ ได้ ข้อ ๒๓ ในกรณีที่ผลการพิจารณามาตราตาม ข้อ ๒๑ ติดตัวเลขทศนิยมให้คณะกรรมการครูที่ปรึกษาสภานักเรียน เป็นผู้ช้ขี าด ข้อ ๒๔ สมาชิกสภาคณะกรรมการนักเรียนตามขอ้ ๑๗ และข้อ ๑๘ ใช้สิทธิลงคะแนน เลือกหัวหน้าพรรคการเมือง คนใดคนหนึ่งเพื่อดํารงตําแหน่งประธานสภานักเรียน และหัวหน้าพรรคที่ได้รับการลงคะแนนมากที่สุดจะได้รับตําแหน่ง ประธานสภานักเรยี น ขอ้ ... สมาชกิ คณะกรรมการนักเรียนตามขอ้ ๑๗ และข้อ ๑๘ ใช้สทิ ธลิ งคะแนน เลอื กสมาชกิ พรรคคนใดคนหนง่ึ เพื่อ ดํารงตําแหน่งรองประธานสภานักเรียน และสมาชิกพรรคการเมืองที่ได้รับการลงคะแนนมากที่สุดจะได้รับ ตําแหน่งรอง ประธานสภานกั เรยี น ข้อ ... กรรมการนักเรียนแบบสรรหาจะมีผู้ผ่านการพิจารณาเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการนักเรียนแบบสรรหา รวมทั้งสิ้น ๖ คน ซึ่งการได้รับตำแหน่งจะพิจารณาจากรายชื่อที่แต่ละพรรคส่งให้คณะกรรมการครูที่ปรึกษาสภานักเรียน พิจารณา โดยแตล่ ะพรรคสามารถสง่ รายชื่อได้ไม่เกิน ๖ คน ขอ้ ... การแตง่ ต้งั คณะทำงานฝา่ ยต่างๆ ให้ใชเ้ สยี งขา้ งมากของคณะกรรมการนักเรียน ข้อ ... ในกรณีที่ผู้สมัครรับเลอื กตั้งมีเพยี งพรรคเดียว จะต้องได้คะแนนเสียงในการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชือ่ ไม่น้อย กว่ากง่ึ หน่งึ ของผูม้ าลงคะแนนเสยี งทัง้ หมด จงึ จะถอื วา่ ได้รับเลอื กเป็นประธานสภานักเรยี น และจะมีสิทธิสรรหาคณะกรรมการ สภานักเรยี น หากคะแนนเสยี งไม่ถงึ กง่ึ หน่ึงของผมู้ าลงคะแนน จะต้องได้รับการรบั รองจากครูทปี่ รกึ ษาสภานกั เรียนวา่ สามารถ ดําเนนิ กิจกรรมสภานกั เรยี นได้ จึงจะมสี ิทธิไดร้ บั การแต่งตั้ง ขอ้ ๒๕ สมาชิกสภานกั เรยี นและคณะกรรมการผแู้ ทนนักเรียนพน้ ตําแหน่งเมื่อ ๑) เสียชวี ิต ๒) ลาออก ๓) ขาดจากการเป็นสภาพนักเรียน ๔) สภานักเรยี นมีมติให้ออก ซึ่งครูที่ปรึกษาคณะกรรมการสภานักเรยี นเห็นชอบโดยคะแนนเสียงเกินกวา่ ๒ ใน ๓ ของจาํ นวนคณะกรรมการนักเรยี นทั้งหมด ๕) ผอู้ ํานวยการโรงเรียนใชอ้ ํานาจถอดถอน ยุบ เลิก คณะกรรมการสภานักเรยี น เมื่อกรรมการสมาชิกผู้ใด พ้นจากตําแหน่งก่อนวาระโรงเรียนอาจจัดให้มีการเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งผู้อื่นแทนก็ได้ ผู้ได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง ให้อยู่ใน ตําแหนง่ ตามวาระของผ้ทู ีต่ นแทนเทา่ นั้น ...) เมื่อสมาชิกสภานักเรียนผู้ใดพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระโรงเรียนอาจจัดให้มีการเลือกตั้ง หรือแต่งต้ัง ผู้อน่ื แทนก็ได้ ผไู้ ดร้ บั เลอื กตง้ั หรอื แต่งตงั้ ใหอ้ ยูใ่ นตาํ แหน่งตามวาระของผ้ทู ่ีตนแทนเท่านั้น ...) พน้ จากวาระการดำรงตำแหน่ง ส่วนท่ี ๓ สิทธิและหน้าทขี่ องผู้มสี ทิ ธลิ งคะแนนเลอื กตง้ั สภานักเรียนการเลอื กต้ัง

ข้อ ๒๖ บุคคลผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้งสภานักเรียนต้องมีคุณสมบัติคือ เป็นนักเรียนของโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑-๖ ข้อ ๒๘ ในการลงคะแนนเลือกตั้งสภากรรมการนักเรียนแบบแบ่งเขตเลือกตั้งมีสิทธ์ิลงคะแนนเลือกตั้งให้แก่ ผู้สมคั รรบั เลือกต้งั ได้เขตละ ๑ คน ขอ้ ๒๙ ในการลงคะแนนเลอื กตงั้ สภากรรมการนักเรียน แบบบัญชรี ายชือ่ ผมู้ สี ทิ ธ์ลิ งคะแนนเลอื กต้งั มสี ทิ ธิ์ สามารถ ลงคะแนนเลือกตง้ั ให้แก่บัญชีของพรรคการเมืองซ่งึ สมัครเขา้ รบั การเลือกตัง้ โดยให้เลอื กไดเ้ พยี งบญั ชีรายชื่อใดรายหนงึ่ เท่านน้ั ขอ้ ๓๐ ในการลงคะแนนเลอื กตัง้ สภากรรมการนักเรยี นแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ผมู้ ีสิทธเิ ลอื กตัง้ มีสทิ ธเ์ิ ลอื กตั้งสามารถ เลอื กผูส้ มคั รรบั เลอื กตั้งได้เฉพาะในเขตของตนเทา่ นัน้ ข้อ ๓๑ พรรคประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย ๑๒๑๓ คน ซึ่งดํารงตําแหน่งหัวหน้าพรรค และสมาชิกพรรค โดยจะต้องมกี ารกําหนด ชอื่ พรรค อุดมการณ์ และนโยบายพรรค โดยมติของสมาชกิ พรรค ข้อ ๓๒ บุคคลมสี ทิ ธิจดั ตงั้ พรรค จะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิต่อไปน้ีคือ ๑) เปน็ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๒) เป็นบุคคลทมี่ ีคณุ สมบตั ิตามข้อท่ี ๑๐ และจะต้องไมม่ ลี ักษณะตามทร่ี ะบไุ วต้ ามขอ้ ที่ ๑๑๑๒ ข้อ ๓๓ การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งกําหนดไว้ แต่ละพรรคสามารถ ส่งผู้ลงสมัครเข้ารับการเลือกต้ัง ไดพ้ รรคละ ๑ คน ตอ่ ๑ เขตการเลือกต้งั เขตการเลือกตั้งแบ่งเป็น ๖ เขต โดยยดึ ตามระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาเปน็ เกณฑ์การแบ่ง ดังต่อไปน้ี ๑) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เปน็ เขตเลือกตั้งที่ ๑ ๒) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ เปน็ เขตเลือกต้ังที่ ๒ ๓) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เปน็ เขตเลอื กตง้ั ที่ ๓ ๔) ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ เปน็ เขตเลอื กต้งั ท่ี ๔ ๕) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ เปน็ เขตเลือกต้งั ท่ี ๕ ๖) ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ เปน็ เขตเลอื กตัง้ ท่ี ๖ ข้อ ๓๔ การเลือกต้ังสภานักเรียน ซึ่งมาจากการเลือกต้ังแบบบัญชีรายชือ่ กําหนดให้แต่ละพรรค สามารถส่งรายช่ือ ได้พรรคละ ๖ คน ข้อ ๓๕ การรับสมคั รสภานักเรยี นให้ดําเนินการในช่วงเดือนพฤษภาคมถงึ เดอื นมถิ ุนายน เวน้ เสยี แต่ ครทู ่ปี รกึ ษาสภา นกั เรยี นเสนอความเห็น ใหผ้ อู้ ํานวยการเห็นชอบเปลี่ยนแปลงประกาศรบั สมคั รไดต้ ามความ เหมาะสม การหาเสยี งของพรรคมี ระยะเวลา ๒ สัปดาห์ ก่อนการเลอื กต้ังสภานักเรียน ให้มีการดำเนินการเลือกตั้งภายในช่วงสองเดือนแรกของภาคเรียนที่สอง ของแต่ละปีการศึกษา เว้นเสียแต่ ครูที่ปรึกษาสภานักเรยี นเสนอความเห็น ให้ผู้อํานวยการเห็นชอบเปลี่ยนแปลงประกาศรบั สมัครได้ตามความเหมาะสม การหาเสยี งของพรรคมีระยะเวลา ๒ สัปดาห์ กอ่ นการเลอื กต้งั สภานักเรยี น หมวด ๔๕ อาํ นาจ และหนา้ ท่ขี องสภานักเรยี น

ข้อ ๓๖ การปฏิบัติงานตามหน้าที่ของสภานักเรียนจะขัดหรือแย้งกับระเบียบ หรือข้อบังคับอื่นใดของทางราชการ ที่โรงเรียนปฏิบัติอยู่มิได้กับทั้งต้องรักษาไว้ซึ่งศีลธรรม วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ทั้งนี้ เว้นแต่กรณี ที่จําเปน็ ให้ขอความเหน็ ชอบจากโรงเรียนกอ่ น ขอ้ ๓๗ สภานักเรยี นใหม้ อี าํ นาจและหน้าที่ ดงั นี้ ๑) จดั การประชุมสภานักเรยี น ๒) ศกึ ษาสภาพปญั หา และความต้องการของเพ่ือนนกั เรยี น ๓) จัดทําโครงการกจิ กรรมนักเรียน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางแก้ปัญหาเสนอรอง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานทวั่ ไป พจิ ารณาเห็นชอบ ๔) เป็นตวั แทนของนักเรียนในการกระทาํ ใดๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน ๕) ดาํ เนนิ การแก้ปัญหา โดยเน้นการมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ และใช้วธิ ที ํางานตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๖) มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบการประเมนิ ผล ขณะทม่ี กี ารปฏบิ ตั กิ จิ กรรม หรอื ดาํ เนนิ กจิ กรรม ๗) มีการสรุปผล การรายงาน การเผยแพร่ และการปรบั ปรงุ การปฏิบัติกจิ กรรมอย่างตอ่ เนื่อง ๘) เผยแพรค่ วามรูเ้ ร่ืองประชาธปิ ไตยแก่นักเรยี น และดาํ เนินการเลือกตั้งประธานสภานกั เรยี น ๙) แตง่ ต้ังอนุกรรมการเพื่อปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ตามท่เี หน็ สมควร ๑๐) ปฏิบตั ิตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากโรงเรียน หมวด ๕๖ การประชุมสภานักเรยี น ขอ้ ๓๘ การประชุมของสภานกั เรยี นมี ๒ ประเภท ๑) การประชมุ สามญั ให้คณะกรรมการสภานกั เรียนจดั ประชุมเพอื่ บรหิ ารงานอย่างน้อยเดอื นละ ๑ ครงั้ ๒) การประชุมวิสามัญ เมอื่ มีความจําเปน็ รบี ด่วน เพ่อื ประโยชน์ของโรงเรยี นเป็นส่วนรวม ใหป้ ระธานสภา นักเรยี นเรยี กประชมุ ได้ ข้อ ๓๙ ในการประชุมตอ้ งประกอบดว้ ยองคป์ ระชมุ ดงั น้ี ๑) การประชมุ ให้ประกอบดว้ ย สมาชิกสภานกั เรียน และครูที่ปรึกษาอยา่ งน้อย ๒๑ คน ๒) ให้ประธานสภานักเรียนเป็นประธานในที่ประชุม ให้เลขาธิการคณะกรรมการสภานักเรียนเป็นผู้ออก หนังสอื เชิญประชมุ และจดบนั ทกึ การประชุม ๓) ในการประชุมต้องมีผู้เข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนคณะกรรมการสภานักเรียนจึงจะครบ องคป์ ระชุม ๔) ในการประชมุ ให้แถลงผลงานและการเงนิ และทป่ี ระชมุ มสี ิทธใิ นการซักถาม ๕) ถ้าประธานไม่อยู่ในที่ประชุม ให้รองประธานสภานักเรียนหรือกรรมการนักเรียนคนใดคนหนึ่งปฏิบัติ หนา้ ทเ่ี ป็นประธานในท่ปี ระชุมแทน หรอื กรรมการผูแ้ ทนนักเรยี นคนหน่ึงเป็นประธาน ๖) การวนิ จิ ฉัยชขี้ าดของที่ประชุมให้ใชเ้ สียงข้างมากของคณะกรรมการนกั เรยี น

๗) ผเู้ ขา้ ประชมุ สมาชิกคณะกรรมการนักเรียนหน่ึงคนมสี ทิ ธิในการออกเสียง ๑ เสยี งในการลงคะแนน ถ้า คะแนนเสียงเท่ากนั ให้ประธานในที่ประชุมออกเสยี งเพม่ิ ขึน้ อีกหน่ึงเสยี งเป็นเสยี งชขี้ าด ข้อ ๔๐ ให้ประธานสภานกั เรียนทําหนงั สือระเบียบวาระการประชุมเสนอรองผู้อํานวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารงาน ทั่วไป ก่อนการประชุมอย่างน้อย ๓ วัน เพื่ออนุมตั ิการประชุมทุกครั้ง และหลังการประชุมใหร้ ายงานผลการประชมุ เสนอรอง ผู้อํานวยการโรงเรียนกลุ่มบรหิ ารงานท่วั ไป และผู้อาํ นวยการโรงเรียนทกุ ครงั้ ข้อ ... การประชมุ ย่อมเป็นการเปดิ เผย เว้นแตค่ ณะกรรมการนกั เรียนจำนวนไม่นอ้ ยกว่า หน่งึ ในสีข่ องจำนวนสมาชิก คณะกรรมการนกั เรียนทั้งหมดเท่าท่ีมอี ยู่ของสภาร้องขอให้ประชุมลับ ก็ใหป้ ระชมุ ลบั การประชุมเปิดเผย ใหบ้ ุคคลภายนอกเขา้ ฟังการประชุมไดต้ ามทีป่ ระธานสภานกั เรยี นกำหนด ในการประชุมลับ ห้ามบุคคลภายนอกเข้าฟังการประชุม เว้นแต่ผู้ที่ได้รับอนุญาตจากประธานสภานักเรียนเท่าน้ัน และให้ประธานดำเนินการเพื่อมิให้มีการบันทึกภาพ บันทึกเสียง หรือกระทำการใดๆ ที่เป็นการถ่ายทอดการประชุมสู่ บคุ คลภายนอกโดยมไิ ดร้ บั อนุญาต ระเบียบวาระท่ี ๕ เรือ่ งอน่ื ๆ - การเตรียมความพร้อมในการนำเสนอรายงานการพิจารณาร่างระเบียบ โรงเรียนอุทัยวิทยาคมว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) ต่อทปี่ ระชมุ คณะกรรมการสภานกั เรียน ที่ประชุมพิจารณาแล้วเห็นว่า โดยที่การพิจารณาร่างระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคมว่าด้วย สภานักเรียนโรงเรียนอุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) ของที่ประชุมคณะกรรมการ นักเรียน คาดว่าประธานคณะกรรมการสภานักเรียนจะบรรจุระเบียบวาระเพื่อเข้าสู่การพิจารณา ในวันจันทร์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ แต่เรื่องดังกล่าวจะอยู่ในส่วนระเบียบวาระใดนั้น ยังไม่มีความชัดเจน ในการนี้จึงมอบหมายใหฝ้ า่ ยเลขานกุ ารติดตามตรวจสอบ และประสานแจง้ ให้อนุกรรมการรบั ทราบครงั้ หนงึ่ เมื่อได้เวลาพอสมควรแล้ว นายกสิณ เพ็ญสุข ประธานคณะอนุกรรมการ ได้กล่าวขอบคุณ อนกุ รรมการทุกทา่ น และกล่าวปดิ ประชมุ เลิกประชุมเวลา ๐๘.๔๔ นาฬิกา นายกสณิ เพ็ญสุข ............................................................... ผู้จดั ทำบนั ทึก นางสาวสุภทั รา อินมน่ั ............................................................... ตรวจ นางสาวนุชรี รอสุขพูล ........................................................ ทาน คณะทำงานฝา่ ยเลขานุการ คณะกรรมการสภานกั เรยี น

สบื เน่อื งจากในการประชมุ คร้ังนี้เปน็ ครั้งสดุ ท้าย ของคณะอนุกรรมการพจิ ารณาศึกษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบโรงเรียนอุทัยวิทยาคม ว่าด้วยสภานักเรียนโรงเรียน อุทัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานักเรียน โรงเรียนอุทัยวิทยาคม ได้มอบหมาย ให้เลขานุการคณะกรรมการสภานักเรียน เป็นผู้ดําเนินการตรวจสอบความถูกต้อง ในการน้ี เลขานุการ คณะกรรมการสภานกั เรียน ไดด้ าํ เนนิ การตรวจสอบเรียบรอ้ ยแล้ว ............................................................... (นายกสณิ เพ็ญสขุ ) ประธานคณะอนุกรรมการ พิจารณาศึกษาปญั หา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิ่มเตมิ ระเบียบโรงเรยี นอุทยั วิทยาคม ว่าดว้ ยสภานักเรียนโรงเรยี นอทุ ัยวิทยาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๙) สภานักเรียน โรงเรยี นอุทยั วิทยาคม ............................................................... (นางสาวปัญจรศั ม์ เลศิ ศิริดำรงค์) ประธานคณะกรรมการสภานักเรยี น สภานักเรยี น โรงเรยี นอุทัยวทิ ยาคม ............................................................... (นายกสิณ เพ็ญสุข) รองประธานคณะกรรมการสภานักเรียน สภานกั เรียน โรงเรยี นอุทัยวทิ ยาคม