GGEENNEERRAATTIIOONN GGAAPP ความต่างระหว่างวัย โครงงานการศึกษาค้นคว้าและ สร้างองค์ความรู้ (I30202) โรงเรียนศึกษานารีวิทยา By GENERATION TEAM สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 1
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย จุดประสงค์ [objective] 1.เพื่อสำรวจปั ญหาที่เกิดขึ้ นระหว่างวัยรุ่นและผู้สูงอายุ 2.เพื่อแก้ไขปั ญหาเพื่อลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้ น 3.ศึกษาพฤติกรรมของวัยรุ่นที่แสดงออกต่อสังคม ช่วงอายุ [span of age] 45 - 59 ปี 10.3% ต่ำกว่า 18 ปี 33.6% 30 - 44 ปี Age 34.5% 18 - 29 ปี 21.6%
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย เห็นด้วยหรือไม่ [agree or not] ต่อไปนี้จะเป็นการกล่าวถึงปั ญหา ผลกระทบต่างๆ ที่ได้รวบรวมจาก แบบสำรวจ \"เห็นด้วยหรือไม่\" และ\"การแสดงความเห็น\" ปั ญหาที่ทำให้เกิดการไม่เข้าใจกัน และจนในบางทีทำให้เกิดความรุนแรงขึ้น และผลการสำรวจสรุปปั ญหาได้ ดังนี้ 1.เกิดจากความคิดที่ต่างกัน under 30 over 30 93.8% ในทั้งสองช่วงวัยมีความเห็นที่ 96% ตรงกันว่า ความคิดเป็นสิ่งที่ ทำให้เกิดความไม่เข้าใจกัน 2.เกิดจากพฤติกรรมของวัยรุ่น under 30 over 30 75% ในส่วนของช่วงอายุที่ต่ำกว่า 30 ปี คิด 48.08% เหมือนกันว่าเกิดจากพฤติกรรมของวัย รุ่นถึง 75% แต่ในช่วงอายุที่มาก กว่า 30 ปี มีการแบ่งเป็น เห็นด้วยที่ 46.15% เกิดจากพฤติกรรมของวัยรุ่นถึง 48.08% และไม่แน่ใจถึง 46.15%
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย เห็นด้วยหรือไม่ [agree or not] under 30 3.ไม่รับฟั งเด็ก over 30 62.5% ในช่วงอายุน้อยกว่า30 ปี มีความคิด 59.6% เห็นตรงกันว่าปั ญหาเกิดจากผู้ใหญ่ ไม่รับฟั งเด็กถึง 62.5% และในช่วง อายุมากกว่า30 ปี มีเพียง 59.6% under 30 4. เกิดจากคำพูดของผู้ใหญ่ over 30 98.4% ทั้งสองช่วงวัยมีความคิด 94.2% เห็นตรงกันว่า ปั ญหาของวัย รุ่นเกิดจากคำพูดของผู้ใหญ่
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย เห็นด้วยหรือไม่ [agree or not] 5.การโดนดูถูก under 30 over 30 54.7% ในช่วงอายุน้อยกว่า30 ปี มีความคิด 40.38% 42.31% เห็นที่ตรงกันถึง 54.7% ว่าปั ญหาที่ เกิดขึ้นนั้นเกิดจากการโดนดูถูกจาก ผู้ใหญ่ แต่ช่วงอายุที่มากกว่า30ปี มี เพียง42.31% และไม่มั่นใจ40.38% 6.การถูกเปรียบเทียบ under 30 over 30 75% ในช่วงอายุที่มากกว่า30 ปี เห็นด้วย 69.3% ว่าปั ญหาเกิดจากการถูกเปรียบเทียบ 69.3% ซึ่งเกือบจะเท่ากับช่วงอายุที่ น้อยกว่า30 ปี ที่มีถึง75%
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย เห็นด้วยหรือไม่ [agree or not] ปั ญหาเหล่านั้น ส่งผลกระทบต่างๆในวัยรุ่น เช่น การเข้าสังคมต่างๆ หากเรามองที่ปัญหาดังที่กล่าว 79.7% มาแล้วจะพบว่า เมื่อวัยรุ่นส่วนใหญ่ เกิดการโดนดูถูก ถูกเปรียบเทียบแล้ว จะทำให้ไม่กล้าเข้าสังคม คิดเป็น 92.3% อิสระทางสังคม เมื่อวัยรุ่นถูกต่อว่าในการกระทำ ต่างๆ ที่เกินกว่าเหตุ อาทิเช่น การแสดงออกทางเพศ จึงทำให้วัยรุ่นไม่มีอิสระทางสังคม คิดเป็น พฤติกรรมที่แสดงออกของวัยรุ่น เมื่อวัยรุ่นได้รับการ 84.3% สะสมจากการถูกเปรียบเทียบ ด่าทอ จึงทำให้เกิด พฤติกรรมที่รุนแรงออกมา จนในบางทีรุนแรงจนเกิด ไปซึ่งเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ทำให้เกิดความไม่เข้าใจกัน
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย การแสดงความเห็น [comment] คำถามต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจ ผลสำรวจว่า under 30 70.30% คุณมีความคิดเห็นอย่างไรกับคำว่า “วัยรุ่น” over 30 63.40% ความคิดเห็นของทั้งสองกลุ่มมีการแสดงความเห็นที่ไปในทิศทางเดียวกันคือ “ วัยที่อยากรู้อยากลอง มีความคิดเป็นของตัวเอง ”และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ under 30 56.70% คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับคำว่า “ผู้สูงอายุ” over 30 52.80% ความคิดเห็นของทั้งสองกลุ่มมีการแสดงความเห็นที่ไปในทิศทางเดียวกันคือ “ ”อายุที่มากกว่า คนที่มากประสบการณ์
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย การแสดงความเห็น [comment] under 30 85.50% ในปั จจุบันมีความคิดเห็นต่างของทั้งสองช่วงวัยจึง over 30 70.60% ทำให้เกิดความขัดแย้งกัน คุณมีความคิดเห็นอย่างไร ความคิดเห็นของทั้งสองกลุ่มมีการแสดงความเห็นที่ไปในทิศทางเดียวกันคือ “ ”ควรปรับความเข้าใจกัน เกิดจากความไม่เข้าใจ under 30 ผู้ใหญ่มักบอกเสมอว่าตนเองอาบน้ำร้อนมาก่อน over 30 57.70% ย่อมรู้ว่าอะไรเป็นอะไร คุณมีความคิดเห็นอย่างไร ความเห็นต่าง 30.30% ความคิดเห็นของ สีเหลือง และสีแดง เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน แต่สีเขียวคือความเห็นที่ต่างออกไป 28.80% “ ไม่ใช่ทุกเรื่อง “ คนที่พูดประโยคนี้ ไม่จริงเสมอไป คือคนที่มาก ”ไม่เห็นด้วย ”ประสบการณ์ต่างๆ
GENERATION GAP ความต่างระหว่างวัย สรุปผล และแนวทางการแก้ปัญหา [Summary of results and solutions to problems] ผลการสำรวจความคิดเห็น ได้นำมาวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึ้นที่ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจ กันของทั้งสองช่วงวัย จนนำไปถึงการขัดแย้งกันที่รุนแรงมากขึ้นและเมื่อศึกษาปัญหาต่างๆ แล้ว จึงนำมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหา และลดความขัดแย้งซึ่งกันและกัน อีกทั้งได้ศึกษา พฤติกรรมของทั้งสองช่วงวัยที่มีต่อกันอีกด้วย ปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นนั้น ในส่วนของทั้งสองช่วงวัยมีการแสดงความเห็นไปใน ทิศทางเดียวกันคือ การไม่รับฟัง, การไม่เข้าใจกันและความคิดเห็นที่ไม่ตรงกัน ซึ่งจุดนี้เป็น ปัญหาหลักในการก่อให้เกิดความขัดแย้งกันของทั้งสองช่วงวัย และสามารถสื่อได้อีกว่า ปัญหาเหล่านี้มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมต่อกัน จนนำไปถึงการทะเลาะที่รุนแรงมากขึ้น และก่อให้เกิดอัตรายได้ ฉะนั้นการแก้ปัญหาเหล่านี้ค่อนข้างที่จะเป็นไปในทิศทางเดียว คือการรับฟังกันและการสร้างความเข้าใจให้ดีต่อกัน บอกเล่าปัญหาให้อีกฝ่ายเข้าใจ และรับ ฟังปัญหาของอีกฝ่ายเช่นกัน ดังนั้น สรุปได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นสามารถหาทางออกได้เพียงแค่ทั้งสองฝ่าย เปิดใจ รับฟังและเข้าใจซึ่งกันและกัน ปัญหาเหล่านี้ก็จะไม่เกิดขึ้นอีก และเราก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข
ขอบคTุณHAที่NรับKชYมOคUรับ/ค่ะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: