Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter_4

chapter_4

Published by สไบทิพย์ สําเภา, 2020-03-15 23:46:58

Description: chapter_4

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 โมเดริ น์ OS และ โมเดิร์นแอพ วัตถปุ ระสงค์ 1. อธบิ ายความหมายและลักษณะของ software ได้ 2. อธิบายและแยกประเภทของ Software ได้ 3. ทราบถงึ ระบบปฏบิ ตั กิ ารต่างๆ 4. อธิบายแนวความคดิ ของผสู้ ร้างโปรแกรม Open Source ได้ 5. สามารถเลอื กใช้ OS และ Application ตามท่ตี อ้ งการใชง้ านได้ 6. อธบิ ายลิขสิทธิ์ Software แบบต่าง ๆ ได้ ความหมายของซอฟต์แวร์ ความสาคญั เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ไฟฟา้ ประเภทหนงึ่ แต่สงิ่ ทที่ าให้มันแตกตา่ งจากอุปกรณ์ไฟฟา้ ชนดิ อืน่ น่ัน ก็คือ มันสามารถทางานได้หลายอย่าง ตอบสนองความต้องการของผู้คนได้มากขึ้น การที่จะทาให้ เคร่ือง คอมพวิ เตอร์สามารถทาส่งิ ตา่ งๆ ได้นนั้ มสี ่วนสาคัญอยู่ 2 ประการคือ Hardware (ฮาร์ดแวร์) ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่สามารถมองเห็นเป็น รูปธรรม สามารถจับต้องได้ เช่น จอภาพ หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจา (เช่น RAM) คีย์บอร์ด เม้าส์ เครอื่ งพิมพ์ สาย LAN Router Software (ซอฟตแ์ วร์) หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เปน็ ชดุ คาสั่งท่ีถูกเขยี นขน้ึ มาเพ่อื ใหค้ อมพิวเตอร์ ทางานตามข้ันตอนท่ีเรากาหนด เป็นส่วนท่ีเช่ือมต่อการทางาน ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ถ้าคอมพิวเตอร์ไม่มี ซอฟตแ์ วร์ก็เปรียบเสมอื นคนท่มี ีแต่ร่างกายและอวัยวะภายใน แต่ไมม่ คี วามคิดมาขับเคล่ือนให้ร่างกายเคล่ือนไหว ตวั อยา่ งความแตกต่างระหว่าง Software และ Hardware ดูไดจ้ ากรปู ที่ 4-1 และตารางที่ 4-1 บทที่ 4 โมเดริ ์น OS และ โมเดริ น์ แอพ

Hardware Software รปู ท่ี 4-1 ความแตกตา่ งระหว่าง Software และ Hardware 1 ตารางท่ี 4-1 ความแตกต่างระหว่าง Software และ Hardware ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ เปน็ ชดุ คาสั่ง คนไม่สามารถสัมผัสได้โดยตรง เปน็ อปุ กรณ์ มองเหน็ สัมผสั ได้ (รูปธรรม) เช่น (นามธรรม) เช่น โปรแกรม MS Windows, MS เครื่องคอมพวิ เตอร์ หน้าจอ ลาโพง เคร่อื งพิมพ์ Word, MS Excel เมอ่ื ทางานบนฮาร์ดแวรแ์ ลว้ จะส่ังให้ฮาร์ดแวร์ ใช้เก็บซอฟต์แวร์ และ จาเปน็ ต้องมเี พื่อที่จะให้ เร่ิมทางานเพือ่ คดิ คานวณและทางานเฉพาะอยา่ ง ซอฟตแ์ วรท์ างาน เชน่ ช่วยจัดทาเอกสาร ไมเ่ สื่อมตามเวลา (แต่อาจพบข้อผิดพลาดของ เส่อื มตามอายุการใช้งานเมื่อเวลาผ่านไป ชดุ คาสงั่ เม่ือซอฟต์แวรท์ างานใชไ้ ปนาน ๆ ) 1 http://www.cavsi.com/questionsanswers/images/software/difference-between-software-hardware.jpg และ http://static.vecteezy.com/system/resources/previews/000/082/195/original/free-flat-app-vector-icons-for- mobile-and-web.jpg 2 88510159 กา้ วทันสงั คมดิจิทัลดว้ ยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT

Firmware (เฟิร์มแวร์) เป็นโปรแกรมพิเศษที่นิสิตควรรู้จัก เฟิร์มแวร์เป็นชุดคาส่ังสาหรับควบคุมการ ทางานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทไมโครคอนโทลเลอร์ เช่น เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมา เราจ ะ เห็นเฟริ์มแวร์ท่ีเรียกว่าโปรแกรม BIOS (Basic Input Output System) เร่ิมทางาน โดยเร่ิมจากกระบวนการ ตรวจสอบตัวเองของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่น ตรวจสอบ RAM Monitor Keyboard Harddisk ในบทน้ีเราจะมาเรียนรู้ในส่วนของซอฟต์แวร์ ทั้งการแบ่งประเภท ลิขสิทธิ์ต่าง ๆ สามารถอธิบายข้อดี- ขอ้ เสียของระบบปฏิบตั กิ าร และเลือกใช้ Software ท่เี หมาะสมกับงานตนเองได้ ประเภทของซอฟต์แวร์ เราแบ่งประเภทของซอฟตแ์ วร์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ซอฟต์แวร์ระบบและซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบ (System software) คือซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ (Keyboard) การแสดงผลบนจอภาพ การนา ขอ้ มลู ออกไปพิมพ์ยงั เครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกคน้ ขอ้ มูล การสือ่ สารขอ้ มลู ในระบบเครือขา่ ย คอมพิวเตอร์ รวมท้ังการประสานงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ท่ีทาหน้าท่ี ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ให้คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ตอ่ พ่วงต่าง ๆ ทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating system), ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility software), และ โปรแกรมขบั อุปกรณ์ (Device driver) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) คือ ซอฟต์แวร์ที่ถูกพัฒนาสาหรับผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้ นามาประยุกต์ใช้กับงานท่ีต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวรต์ ารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น การทางานใดๆ โดยใชซ้ อฟต์แวร์ ประยุกต์ จาเป็นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบดว้ ย เช่น โปรแกรม MS Office ต้องทางาน ในระบบ Windows เท่านัน้ ดงั แสดงในรูปท่ี 4-2 ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating System) ระบบปฏิบัติการ (Operating System, OS) เป็นชุดคาส่ังท่ีใช้ในการควบคุมจัดการทรัพยากรฮาร์ดแวร์ โดยทาหน้าท่ีในการเชื่อมการทางานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ จัดการกระบวนการใช้ทรัพยากร ระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และฮาร์ดแวร์ อีกทั้งยังเป็นตัวกลางเช่ือมระหว่างผู้ใช้ให้ใช้งานฮาร์ดแวร์ที่มีในระบบ คอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธภิ าพและสะดวกสบายยิ่งขึ้น เนื่องจากการใช้งานฮารด์ แวร์โดยตรงนั้นมีความซับซ้อน และยากมากสาหรับผู้ใช้ ระบบปฏิบัติการจึงถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้สามารถใช้ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ได้ง่ายขึ้น บทที่ 4 โมเดริ ์น OS และ โมเดิร์นแอพ 3

ตัวอย่างงานท่ีระบบปฏิบัติการจะจัดการให้กับผู้ใช้ เช่น ผู้ใช้ต้องการบันทึกไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ ลงในฮาร์ดดิสก์ การ พิมพ์เอกสารออกทางเคร่ืองพิมพ์ (ทั้งฮาร์ดดิสก์และเคร่ืองพิมพ์ถือว่าเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ตัวหนึ่ง) ดังนั้น ระบบปฏิบัติการจึงถือว่าเป็นโปรแกรมท่ีมีความสาคัญท่ีสุด ใกล้ชิดกับฮาร์ดแวร์ท่ีสุดและมีความซับซ้อนสูงมาก เน่ืองจากต้องทาหน้าท่ีเบ้ืองหลังท้ังหมด เปรียบเสมือนเป็นเลขาที่คอยรับคาสั่งจากเจ้านาย อยู่เบื้องหลังการ ทางานของโปรแกรมตา่ ง ๆ ท่ีอยใู่ นระบบคอมพิวเตอร์ ทาให้โปรแกรมที่มีอยสู่ ามารถทางานรว่ มกบั ระบบฮารด์ แวร์ ท่ีมีอยู่ได้อย่างเต็มความสามารถ ตารางที่ 4-2 เป็นตัวอย่างของระบบปฏิบัติการของเครื่องแต่ละชนิด และรูปท่ี 4-3 เป็นตวั อยา่ งระบบปฏิบตั กิ ารทท่ี างานบน PC รูปท่ี 4-2 ระบบปฏบิ ตั ิการควบคมุ ฮารด์ แวรช์ ว่ ยใหโ้ ปรแกรมประยุกต์ทางานบนเคร่อื งได้ 2 2 https:/ / upload.wikimedia.org/ wikipedia/ commons/ thumb/ e/ e1/ Operating_system_placement.svg/ 250px- Operating_system_placement.svg.png 4 88510159 ก้าวทันสังคมดจิ ิทัลดว้ ยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

ตารางท่ี 4-2 ตัวอย่างของระบบปฏบิ ัตกิ ารของเคร่ืองแตล่ ะชนดิ ชนดิ ของเคร่อื ง ระบบปฏิบัติการ เครอ่ื ง Mainframe z/OS, z/VM, z/VSE, z/TPF เครื่องคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล (PC) Windows, OS X, Ubuntu, Chrome OS โทรศพั ทส์ มาร์ทโฟน Android, iOS, Windows Phone Raspberry Pi NOOBS, Raspbian, OSMC, Windows 10 IOT, RISC OS รูปที่ 4-3 ตวั อยา่ งระบบปฏบิ ัตกิ ารท่ีทางานบน PC 3 ประโยชนข์ องระบบปฏบิ ตั กิ าร ● ผู้ใช้งานสามารถเรียนรู้และใช้คอมพิวเตอร์ได้ง่ายและรวดเร็ว เพราะไม่จาเป็นต้องศึกษาข้อมูลทาง เทคนิค ● ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้งานโปรแกรมได้พร้อมกันหลาย ๆ โปรแกรม ท่ีเรียกกันว่ามัลติทาสกิ้ง (Multitasking) ได้อย่างมีเสถียรภาพสูงข้ึน เนื่องจาก OS ช่วยจัดสรรทรัพยากรที่โปรแกรมต้องใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งคอยเฝ้าตรวจจบั ความผดิ พลาดทอ่ี าจเกดิ ขึ้นไดใ้ นเวลาใดเวลาหนึง่ ● ผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานเฉพาะด้านทางานง่ายข้ึน เพราะมีระบบปฏิบัติการทา หน้าที่ตดิ ตอ่ กบั ฮาร์ดแวร์ในระดับล่างใหเ้ รยี บร้อยแล้ว เพยี งแค่เชื่อมต่อตามข้อมูลที่กาหนดก็สามารถ ทางานประสานกนั ได้ 3 http://4.bp.blogspot.com/-8X3SqdG3_1M/UbajjRCePBI/AAAAAAAAACI/JwJjwB30PIc/s1600/ 5 Software87%5B1%5D.jpg บทท่ี 4 โมเดิร์น OS และ โมเดริ น์ แอพ

ประวตั ิความเปน็ มาของระบบปฏิบตั กิ าร เครื่องคอมพวิ เตอร์ยคุ ต้น ๆ ถูกสรา้ งเพ่ือทางานเฉพาะอย่าง เช่น เคร่ืองคิดเลข โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ เป็นดจิ ติ อลยคุ แรก ๆ (ช่วง 1940s) ยงั ไมม่ รี ะบบปฏิบัติการ ช่วงแรกของระบบปฏิบัตกิ าร (1955) เป็นชว่ งท่ีการสร้างเคร่ืองคอมพิวเตอร์มตี ้นทนุ สูง แต่คา่ แรงของคน มีราคาต่า ระบบปฏิบัติการถูกสร้างให้ผู้ใช้เข้าถึงเคร่ืองเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ทีละคน (Single-user system) โดยสามารถประมวลผลแบบต่อเน่ือง (Batch processing) สามารถเก็บหลาย ๆ งานในหน่วยความจา และยัง สามารถสลับใหห้ น่วยประมวลผล (CPU) มาทางานแตล่ ะงาน (Multiprogramming) ช่วงที่สองของระบบปฏิบัติการ (ช่วงปี 1970) เป็นช่วงที่การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์มีต้นทุนปานกลาง แต่ค่าแรงของคนสูงขึ้น ระบบปฏิบัติการชื่อ TSS/360 ทางานบนเคร่ืองเมนเฟรม อนุญาตให้คนเข้าใช้เคร่ืองได้ พรอ้ ม ๆ กนั (Timesharing) ช่วงท่ีสามของระบบปฏบิ ัติการ (ชว่ งปี 1981 ถึง ปัจจุบัน) เป็นชว่ งทกี่ ารสรา้ งเคร่ืองคอมพิวเตอรม์ ีตน้ ทุน ถูกลงมาก แต่ค่าแรงของคนสูง IBM ได้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer, PC) โดยถูก ออกแบบให้เป็นระบบของผู้ใช้คนเดียว โดยมีระบบปฏิบัติการชื่อ MS-DOS ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่ซับซ้อน ยุ่งยากเหมือนระบบปฏิบัติการของเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ก่อนหน้า (เนื่องจากไม่ต้องคานึงถึงการใช้ทรัพยากร รว่ มกัน แต่ต้องคานึงถึงผู้ใช้ท่ัวไปที่ไม่รู้ด้านเทคนิคมากขึ้น) หลังจากน้ัน Apple ได้แนะนาเครื่อง Macintosh ท่ีมี ระบบปฏิบัติการ Mac OS ที่มาพร้อมกับกราฟิกสาหรับผู้ใช้ส่ังงาน (Graphical User Interface) แทนท่ีจะเป็น การใช้คาสัง่ ท่เี ป็นตวั หนงั สอื ราว ๆ ปี 1983 Richard Stallman ซ่ึงขณะนั้นทางานที่ MIT ได้ริเร่ิมโครงการ GNU ขึ้น โครงการนี้มี จุดประสงค์เพ่ือสร้างซอฟต์แวร์ที่สมบูณ์ สาหรับแจกฟรีให้คนทั่วไปใช้แทนท่ีจะต้องเสียเงินซื้อระบบปฏิบัติการ UNIX เมื่อปี 1985 Intel ได้ผลิตหน่วยประมวลผล Intel 80386 ข้ึนส่งผลให้ เคร่ือง PC มีระบบปฏิบัติการที่ ยอมให้โปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมทางานได้พร้อม ๆ กัน (Multitasking OS) ซ่ึงเป็นความสามารถที่เหมือนกับ ของเครื่องเมนเฟรม ซึ่งบริษัท Microsoft ได้สร้าง Windows NT ขึ้น ในขณะท่ี บริษัท NeXT Computer ของ Steve Jobs ได้เสนอระบบปฏิบัติการ NEXTSTEP ในปี 1991 Linus Torvalds กับเพื่อน ๆ ที่รู้จักทาง Internet ได้นาเสนอเคอร์เนลรุ่นแรก (หรือ แก่น กลาง) ของระบบปฏิบัตการ Linux โดยเปิดเผยคาส่ังภายใน (ซอร์สโค้ด) ทั้งหมด ซึ่งภายหลังได้รวมกับซอฟต์แวร์ ระบบของ GNU จนเป็นระบบปฏิบัติการที่สมบูรณ์อีกหนึง่ ระบบ 6 88510159 กา้ วทันสังคมดิจิทัลดว้ ยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT

ระบบปฏิบัติการยังคงก้าวหน้าไม่หยุด ระบบปฏิบัติการแบบใหม่เป็นระบบที่ทางานแบบกระจาย (Distributed Operating System) ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้เคร่ืองหลาย ๆ เคร่ืองได้ในเวลาพร้อม ๆ กัน ในปัจจุบัน เราพบเห็นระบบปฏิบัติการได้ท่ัวไป (Ubiquitous computing) เพราะมันไม่ได้อยู่ที่ในเครื่องเมนเฟรม หรือ ใน PC อย่างเดียวแล้ว นิสิตจะพบว่า สมาร์ทโฟน รถยนต์ หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เล็ก ๆ อย่าง Raspberry Pi ตา่ งก็มรี ะบบปฏบิ ตั กิ ารในตัวเอง คุณสมบตั แิ ละความสามารถของระบบปฏิบัติการ UNIX ใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ที่มผี ู้ใชง้ านร่วมกันหลายราย (multiusers) โปรแกรมระบบน้ีเขียน ด้วยภาษาซี และถูกพัฒนาข้ึนโดยศูนย์วิจัยเบลล์ของบริษัท TT&T เร่ิมใช้กันมาตั้งแต่ราวปลายทศวรรษ 1960 ใช้ได้ท้ังกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (ชนิด 32 บิต) มินิคอมพิวเตอร์และเมนเฟรม โปรแกรมระบบยูนิกซ์น้ัน กาลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกที มีโปรแกรมสาเร็จรูปจานวนมากที่เขียนภายใต้ระบบน้ี รองรับการทางาน แบบหลายผใู้ ช้ หลายงาน (Multiuser/Multitasking) โดยทรี่ ะบบมีวธิ ีการในการจาแนกผู้ใช้แต่ละคน ซึ่งใช้งานอยู่ บนระบบเดยี วกนั ได้ โดยใช้ลกั ษณะของการแบง่ เวลา (Time sharing) และแบง่ ทรพั ยากร (Resource sharing) BSD เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ท่ีพัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวทิ ยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จัดว่าเป็น ยูนกิ ซท์ ีใ่ ช้กันแพร่หลายสาหรับคอมพิวเตอร์ระดบั เวริ ์คสเตชนั ทั้งน้ีอาจเปน็ เพราะสญั ญาอนญุ าตใชง้ านของบีเอสดี น้ันไม่ยุ่งยาก ทาให้บริษัทอ่ืน ๆ นาเทคโนโลยีไปพัฒนาในช่วงคริสตทศวรรษที่ 80 จนสร้างความคุ้นเคยในวงกว้าง ในปจั จุบนั พบว่ามีการปรับปรงุ และพัฒนาระบบปฏิบัติการโดยใชโ้ อเพนซอรส์ โค้ดของบีเอสดีเป็นแกนหลกั มียนู ิกซ์ จาพวก BSD ท่ีสามารถมามาลงกับ pc ท่วั ไปและใช้งานเปน็ server กนั อย่างแพรห่ ลายเช่น FreeBSD, NetBSD Solaris เป็นระบบปฏิบัติการท่ีใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ แบบสปาร์ค และแบบ x86 (แบบ เดียวกับในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป) รุ่นแรก ๆ ของโซลาริสน้ัน ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยมี พื้นฐานมาจากยนู ิกซ์ตระกลู BSD แต่ต่อมาในรนุ่ ท่ี 5 ไดเ้ ปลี่ยนมาใช้โคด้ ของ ซิสเตม็ ส์ไฟว์ (System V) แทน และ เปลย่ี นช่ือมาเปน็ โซลาริส ดงั เชน่ ในปจั จุบนั รูปท่ี 4-4 สัญลกั ษณ์ของระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIS FreeBSD และ Solaris 7 Linux เป็นระบบปฏิบัติการ ซ่ึงแต่เดิม Linus Torvalds ตั้งใจออกแบบ Linux ให้เป็นระบบปฏิบัติการ แบบ UNIX ซึ่งสามารถใช้งานบนเคร่ือง PC ธรรมดาท่ีเราใช้ตามบ้าน (หรือ เครื่องที่ใช้ CPU ตระกูล x86 เช่น 80386, 486, Pentium เป็นต้น) แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาให้ใช้กบั ตัวประมวลผลตระกูลอ่ืนๆ เช่น Alpha chip ได้ ดว้ ย โดยระบบปฏิบัติการน้ีถูกแจกให้ใช้งานฟรรี วมทั้งรหัสต้นแบบ (Source code) ก็เป็นท่ีเปิดเผย จึงเป็นท่ีนิยม และมีผู้นาไปพัฒนา Linux ของตนเองข้ึนใช้งานมากมาย รวมท้ังมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ข้ึนใช้งานบนลีนุกซ์ อีกมากมาย ท่ีสาคัญก็คือลีนุกซ์เป็นซอฟต์แวร์ภายใต้ลิขสิทธ์ิ GPL สามารถใช้งานโดยท่ีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ บทท่ี 4 โมเดิร์น OS และ โมเดริ น์ แอพ

ปัจจุบันนี้ลีนุกซ์นับเป็นระบบปฏิบัติการ UNIX ท่ีสมบูรณ์แบบ มีความสามารถแทบจะทุกอย่างที่ UNIX มี กาลัง ได้รบั ความนยิ มเพม่ิ ขนึ้ อย่างตอ่ เนอื่ ง เชน่ ubuntu, fedora, debian เป็นตน้ รปู ท่ี 4-5 สญั ลักษณ์ของระบบปฏบิ ัตกิ าร Linux Windows เป็นระบบปฏิบัติการ ซ่ึงพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเม่ือปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุน่ แรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนยิ มในตลาดคอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคลมากกว่า 90% ของ การใช้งานท่ัวโลก เน่ืองจากความยากในการใช้งานดอสทาให้บริษัทไมโครซอฟท์ได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการที่ เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะการส่ังงานแบบ Graphical User Interface (GUI) ท่ีนารูปแบบของสัญลักษณ์ ภาพกราฟิก เข้ามาแทนการป้อนคาสง่ั ทีละบรรทัด ซ่ึงใกลเ้ คียงกบั MAC OS หลังจากท่ีบริษัทไมโครซอฟท์ได้ผลิตระบบปฏิบัติการนี้ออกสู่ตลาด ก็ได้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ี สามารถใช้งานบนระบบปฏิบัติการนี้ข้ึนหลายประเภท โดยเฉพาะ MS Office ซ่ึงช่วยอานวยความสะดวกในการ ทางานของผู้ใช้ในด้านการทาเอกสารสาหรับสานักงาน ทาให้เกิดการใช้งานท่ีแพร่หลาย จนถึงปัจจุบัน Microsoft ได้ผลิตและจาหน่ายระบบปฏิบัติการหลายรุ่น เช่น Windows XP , Windows NT, Windows 7, Windows 8, Windows 10 8 88510159 ก้าวทนั สังคมดิจิทัลดว้ ยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT

รปู ท่ี 4-6 สญั ลกั ษณ์ของระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows OS X เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นล่าสุดในตระกูลแมคโอเอสสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช วาง จาหน่ายครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 2001 ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ แกนกลาง ดาร์วิน (Darwin) ซึ่งเป็น สภาพแวดล้อมการทางานแบบยูนิกซ์ท่ีเป็นโอเพนซอร์ส (เปิดเผยรหัสต้นฉบับ) และส่วนติดต่อผู้ใช้แบบ อควา (Aqua) ซึ่งเป็นลิขสิทธ์ิของแอปเปิล ออกแบบมาให้มีเสถียรภาพสูง ใช้งานง่าย หน้าจอมีปุ่มหรือเคร่ืองมือเฉพาะท่ี จาเป็น เน้นงานประเภทกราฟิกและศิลปะเป็นหลัก ทั้งนี้รูปแบบการทางานแบบต่าง ๆ ของ MAC OS X จะ สนบั สนนุ แบบ GCI เชน่ เดียวกับระบบปฏิบตั กิ าร WINDOWS รูปท่ี 4-7 สัญลกั ษณ์ของระบบปฏิบตั ิการ MAC iOS คือ ระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาที่ถูกพัฒนาขึ้นและจาหน่ายโดยบริษัทแอปเปิล (Apple) iOS เป็นท่ีนิยมอย่างมาก โดยคุณสมบัติโดดเด่นของ iOS คือ เป็นระบบปฏิบัติการแบบ Single OS ที่ไม่ว่าจะเป็น ไอโฟน ไอพอดทัช ไอแพด รุ่นใด ก็สามารถอัพเกรดระบบปฏิบัติการมาใช้ได้ในรูปแบบเดียวกันหมด นอกจากน้ี iPhone ยังโดดเด่นด้วยแอพพลิเคชั่นมากมาย มีให้เลือกดาวน์โหลดกันเป็นล้านแอพฯ ครบครันทุกความต้องการ การใช้งานโทรศพั ท์ (ตั้งแต่ใชโ้ ทรศพั ท์, ใช้ Chat, ใช้สง่ SMS หรือ Email, ไปจนถึง ถา่ ยรปู ถ่ายวีดโี อ) แต่ iOS ก็มี ข้อเสียท่ีระบบปฏิบัติการนี้ไม่สามารถท่ีจะเสริมเติมแต่งอะไรเข้าไปเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่แอปเปิลจัดสรรมาให้ เทา่ นน้ั และแอปเปิลไมอ่ นุญาตให้นา iOS ไปตดิ ตัง้ บนอุปกรณท์ ไ่ี มใ่ ช่อปุ กรณ์ของแอปเปิล รปู ท่ี 4-8 สญั ลักษณ์ของระบบปฏบิ ตั ิการ iOS บทท่ี 4 โมเดริ น์ OS และ โมเดริ น์ แอพ 9

Android OS คือระบบปฏิบัติการสาหรับอุปกรณ์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ, แท็บเล็ต, คอมพิวเตอร์ และเน็ตบุ๊ก เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ โดยมีรากฐานมาจาก Linux จากนั้นบริษัทแอนดรอยด์ถูกซื้อโดยกู เกิล และทางกูเกิลได้นาแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ ส่วนด้านลิขสิทธ์ิของโค้ดแอนดรอยด์ จะใช้ในลักษณะของ ซอฟต์แวร์เสรีหรือโอเพนซอร์ส (Open Source) ทาให้นักพัฒนาสามารถแก้ไข ดัดแปลงโค้ดแอนดรอยด์ได้อย่าง อิสระ และที่สาคัญคือแจกฟรี จึงทาให้ค่ายผู้ผลิตมือถือต่าง ๆ สนใจนาระบบปฏิบัติการน้ีไปใส่ลงในมือถือของตน ต้ังแต่คา่ ยยักษ์ใหญอ่ ย่าง Samsung, LG, HTC, Sony Ericsson, Motorola หรือแม้กระทั่งแบรนด์ไทย ๆ อย่าง i- Mobile รูปท่ี 4-9 สญั ลกั ษณ์ของระบบปฏบิ ตั ิการ Android Windows Phone เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซ่ึงพัฒนาข้ึนมาเพื่อเป็น ทางเลือกให้กับผู้ผลิตสาหรับนาไปใช้กับอุปกรณ์ Mobile เช่น HTC และ Samsung บางรุ่น ข้อดีคือ สามารถ ทางานร่วมกับ Application ของ Microsoft ได้ดีเช่น Microsoft Exchange, Microsoft Office และ Microsoft Outlook ข้อเสียคือ มี Application ให้เลือกน้อย โปรแกรม Web Brower ตอบสนองไม่รวดเร็ว ปัจจุบัน Microsoft ได้พัฒนา Windows 10 Mobile ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการสาหรับสมาร์ทโฟนที่ถูกใช้แทน Windows Mobile และ Windows Phone รูปที่ 4-10 สญั ลกั ษณ์ของระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows Mobile และ Windows Phone 10 88510159 ก้าวทนั สงั คมดิจิทัลด้วยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

การเลือกใชร้ ะบบปฏิบัติการให้เหมาะสม จากท่ีกล่าวข้างต้น นิสิตคงเห็นแล้วว่า ระบบปฏิบัติการเป็นพ้ืนฐานหลักของคอมพิวเตอร์ และ นิสิตควร เลือกระบบปฏิบัติการอย่างระมัดระวัง ซึ่งระบบปฏิบัติการหลัก ๆ ในตลาดมีอยู่ 3 ระบบได้แก่:- Microsoft Windows, Mac OS X และ Linux สว่ นใหญ่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่จะมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการท่ีติดตั้งมาแลว้ เช่น เม่ือเราซ้ือเครื่อง iMac เครอื่ งก็จะมีระบบปฏบิ ตั ิการ OS X ติดมาดว้ ย อย่างไรก็ตาม นสิ ติ ก็อาจติดตั้งระบบปฏบิ ัติการ Windows ท่ี เครอ่ื ง iMac ไดด้ ้วยตนเอง ประเด็นต่าง ๆ ท่ีนิสิตควรคานึงถึงกอ่ นเลือกระบบปฏิบัตกิ ารมีดังต่อไปนี้  เราเคยใชร้ ะบบปฏิบัติการมาบ้างหรือไม่ ? ไม่ว่าจะเป็นระบบปฏิบัติการใด หากเราไม่เคยใช้มันมาก่อน เราต้องใช้เวลาพอสมควรกว่าจะคุ้นเคย แมว้ ่าทุกระบบปฏบิ ัตกิ ารจะอา้ งว่า ผใู้ ชส้ ามารถเรยี นวธิ ีใชร้ ะบบของตนไดง้ ่าย (โดยเฉพาะ Apple ท่ีเนน้ จุดขายจุด น้)ี ซง่ึ โดยปกติแล้วผู้ใช้จะต้องใชเ้ วลากับ Linux มากท่ีสุด  เราจะใช้ซอฟต์แวรอ์ ะไรบนระบบปฏิบตั ิการ ? บางระบบปฏิบัติการก็เหมาะกับการใช้เชิงธุรกิจ และ บางระบบก็เหมาะสาหรับการใช้ที่บ้าน ถ้าเป็น เชิงธุรกิจ เราควรเลือกระบบปฏิบัติการที่จัดการขอ้ มูลสาคัญทางธรุ กิจได้ง่าย นั่นคือ ระบบปฏิบัติการไม่ควรจะทา ให้เคร่อื งช้าลงถา้ ข้อมูลมจี านวนมาก แต่ ถ้าเป็นการใชง้ านทีบ่ ้าน เราอาจเลือกระบบปฏิบตั ิการสาหรับการเล่นเกม หรอื การใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคา (Word processor software) ซงึ่ ก็ขึ้นอยูก่ ับวา่ นสิ ติ จะทาอะไรทบี่ ้าน Windows: ซอฟตแ์ วร์ส่วนใหญ่ (ท่ผี ใู้ ชต้ ้องเสยี เงิน) จะทางานได้บน Windows เช่น Game ต่าง ๆ OS X: ถ้าต้องการใช้เครอ่ื งมือแกไ้ ขรูปภาพ หรือ ตัดตอ่ วิดิโอ อาจเลอื กใช้ OS X บนเครือ่ ง Mac Linux: ซอฟต์แวร์ที่ทางานได้บน Linux จะเป็นซอฟต์แวร์ท่ีเปิดเผยรหัสต้นฉบับ (Source code) และ ไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับการใช้งาน ซึ่งถึงแม้จะมีการทางานครบเหมือนกับซอฟต์แวร์บน Windows และ OS X แต่มนั อาจจะใชง้ านยาก และ ประสทิ ธภิ าพกไ็ มด่ ี  สงั เกตเพ่ือนรว่ มงาน ครอบครัว หรอื เพอ่ื นทโ่ี รงเรียนใช้อะไร ? บอ่ ยคร้ังที่เราต้องทางานร่วมกับคนสนทิ ถา้ ไฟลข์ อ้ มลู ท่ีตอ้ งใชร้ ่วมกนั มาจากระบบปฏบิ ัตกิ ารเดียวกัน จะทาใหก้ ารแก้ไขไฟล์รว่ มกันง่ายขึ้นมาก  เราตอ้ งการระดับความปลอดภัยระดับใด ? Windows เป็นระบบปฏิบัติการท่ีเสี่ยงต่อการติดไวรัสคอมพิวเตอร์ ขณะที่ OS X มีความเสี่ยงเร่ืองน้ี น้อยกว่า (แต่ความเสี่ยงต่อความปลอดภัยของ OS X กเ็ พ่ิมสูงขึ้นเรื่อย ๆ) Linux เหมือนจะเป็นระบบปฏิบัติการที่ มีความปลอดภัยสูงทส่ี ดุ  เรามีงบประมาณเทา่ ไร ? ส่วนใหญ่แล้ว เคร่ือง Mac จะมีราคาแพงกว่าเคร่ืองสาหรับ Windows และ Linux แต่หากเราใช้ เครื่องไปนาน ๆ และต้องการยกระดับ (Upgrade) ระบบปฏิบัติการแล้ว การยกระดับระบบปฏิบัติการบนเครื่อง บทที่ 4 โมเดิรน์ OS และ โมเดริ น์ แอพ 11

Mac จะถูกกว่าบนเครื่อง Windows ประมาณ 100-150 ดอลลาร์สหรัฐ สิ่งที่ต้องคานึงถึงเร่ืองสุดท้ายคือ ราคา ของซอฟต์แวร์ท่ีเราต้องการใช้ ซึ่งแม้ว่าซอฟต์แวร์ที่ทางานบน Linux จะฟรี แต่ ซอฟต์แวร์ฟรีบน Windows และ Mac กม็ จี านวนมากเชน่ กัน ตารางท่ี 4-3 การเปรียบเทยี บคุณลกั ษณะในด้านตา่ ง ๆ ของแตล่ ะระบบปฏิบัติการ คณุ ลกั ษณะ Windows OS X Linux GUI ดีมาก ดมี าก ดี ความนยิ ม เป็นทีร่ ู้จัก เปน็ ท่ีร้จู กั และใชก้ ันอยา่ ง ปานกลาง เรม่ิ เป็นทน่ี ิยม แพรห่ ลายในประเทศไทย Virus มาก นอ้ ย (เร่ิมมากขึ้น) นอ้ ย โปรแกรมสนับสนุน มีโปรแกรมที่ใชเ้ ปน็ มาตร โปรแกรมท่ีติดต้ังมาให้นน้ั ปจั จบุ นั มมี ากแล้ว ทาได้ ฐานอยูม่ าก มีโปรแกรม มจี านวนมาก ครอบคลุม เหมือน Windows และ หลากหลาย การใชง้ าน แทบไม่ต้องเสยี OS X (แต่อาจใช้ยากกว่า เงนิ ซ้อื อกี (โปรแกรมดา้ น และ ประสทิ ธภิ าพด้อย ตัดตอ่ ภาพและวดิ โี อเปน็ ที่ กวา่ ) นยิ ม) Games มาก น้อย นอ้ ย ราคา (รวมเคร่ืองและ มหี ลายระดบั สูง ฟรี ถ้าไมร่ วมเครื่อง OS) ลขิ สทิ ธิ์ ของ Microsoft ของ Apple ฟรี (Open Source) 12 88510159 กา้ วทนั สังคมดจิ ิทัลดว้ ยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมอรรถประโยชน์คือโปรแกรมที่ช่วยอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่ือ ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานไดอ้ ย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงถือว่าเป็นโปรแกรมเสริมท่ีต้องมีในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเชน่  ประเภทการจัดแฟม้ ขอ้ มูล (File Manager) เป็นโปรแกรมทช่ี ่วยในการจัดการเก่ียวกบั แฟม้ ขอ้ มลู เช่น การคัดลอก (Copy), การเปลี่ยนชื่อ (Rename), การแบ่งพาติชัน (Partition) และการจัดรูปแบบ ดิสก์ (Format)  ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstall) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการลบโปรแกรมออกจาก ระบบปฏิบัติการ ในกรณีท่ีไม่ต้องการใช้โปรแกรมน้ัน ๆ แล้ว โปรแกรมจะทาหน้าท่ีในการตามเอา แฟ้มข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับโปรแกรมที่ต้องการลบออกท้ังหมด เช่น Add/Remove Programs ในส่วน Control Panel ของ Microsoft Windows  โปรแกรมจดั การดิสก์ (Disk Utility) เปน็ โปรแกรมท่ีใช้ในการจดั การปัญหาหรือแก้ไขให้ดสิ ก์มีการ ทางานทด่ี ีขน้ึ เช่น Disk Cleanup เป็นโปรแกรมชว่ ยลบไฟลท์ ี่ไมจ่ าเป็นทง้ิ ทาให้ฮาร์ดดิสกม์ ีเนอื้ ท่ี ว่างเพิ่มข้นึ และชว่ ยเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบ เชน่ ไฟลห์ รอื โปรแกรมต่าง ๆ ทีอ่ าจถูก บนั ทกึ อยู่ในฮาร์ดดิสกข์ ณะที่เราท่องไปในเว็บไซตต์ ่าง ๆ ซึ่งจะเรียกวา่ temporal internet files สว่ นอกี โปรแกรมทช่ี ่วยจัดการดิสก์คอื โปรแกรม Disk Defragmenter ซ่งึ เปน็ โปรแกรมช่วยรวมไฟล์ ทีเ่ คยแยกออกเป็นไฟลส์ ่วนเลก็ ๆ ในขณะท่ีทาการจดั เกบ็ ไว้ในฮารด์ ดสิ ก์ ใหอ้ ยู่ในเน้อื ทต่ี อ่ เน่ืองกนั และยังเปน็ การจัดระเบยี บเนื้อทีว่ ่างบนดิสก์ใหอ้ ยู่ในรปู แบบที่มปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ  โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen Saver) เป็นโปรแกรมที่ช่วยรักษาอายุ การใช้งานของ จอคอมพิวเตอร์ให้มอี ายกุ ารใชง้ านมากยิง่ ข้นึ  โปรแกรมป้องกันไวรสั ใช้ป้องกนั ไวรัสคอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรมอืน่ ทเ่ี ข้ามาสร้างความเสียหาย ให้กับระบบคอมพิวเตอร์  โปรแกรมบบี อัดแฟ้ม ใชล้ ดขนาดของไฟล์ เพื่อลดเน้ือที่ในการจัดเก็บ และทาใหส้ ามารถสง่ ไฟล์ ดังกลา่ วทางอนิ เทอร์เน็ตได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ บทท่ี 4 โมเดริ ์น OS และ โมเดริ น์ แอพ 13

ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์พ้ืนฐาน ซอฟต์แวร์ประยุกต์พ้ืนฐาน (Basic application) หรือบางคร้ังเรียกว่า ซอฟต์แวร์ประยุกต์อเนกประสงค์ (General-purpose application) หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ช่วยเพ่ิมผลผลิต (Productivity application) เป็น ซอฟต์แวร์ท่ีนิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทาการ ซอฟต์แวร์ นาเสนอ ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมลู และซอฟต์แวร์สื่อสารขอ้ มูล ลขิ สิทธ์ิ และ ใบอนญุ าตซอฟตแ์ วร์ (software license / license) “ลิขสิทธ์ิ” ตามความหมายจากเว็บวิกิพีเดีย หมายถงึ สทิ ธแิ ต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์การ กระทาใด ๆ เก่ยี วกับงานที่ตนได้ทาข้ึน อันได้แก่ สิทธิท่ีจะทาซ้า ดัดแปลง หรอื นาออกโฆษณา ไม่วา่ ในรูปลักษณะ อยา่ งใดหรอื วธิ ีใด รวมท้งั อนญุ าตให้ผ้อู ื่นนางานไปทาเชน่ ว่านั้นด้วย ใบอนุญาตซอฟต์แวร์ บ้างก็เรียกทับศัพท์ว่า ไลเซนซ์ คือ ข้ออนุญาต (ซ่ึงอาจเป็นรูปแบบเอกสารสัญญา บนกระดาษหรือแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์) ให้ใช้งานซอฟต์แวร์น้ัน ๆ โดยชอบธรรมตามกฎหมาย ส่วนใหญ่แล้ว ใบอนุญาตซอฟต์แวรถ์ ูกออกโดยผู้มีอานาจตามกฎหมาย และ เป็นการตกลงกันระหว่างผู้ออกใบอนุญาตกับผู้ได้รับ ใบอนุญาต เป็นอีกวิธีการหน่ึงเพ่ือการคุ้มครองซอฟต์แวร์ ควบคุมการใช้หรือการเผยแพร่ซอฟต์แวร์ โดยปกติ ซอฟต์แวร์ทั้งหมดมีลิขสิทธ์ิคุ้มครอง เว้นแต่จะระบุไว้ว่าเป็นสาธารณสมบัติ ใบอนุญาตซอฟต์แวร์ท่ัวไปมักจะ อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้ซอฟต์แวร์ และทาสาเนาด้วยแนวทางท่ีตกลงกัน มิฉะนั้นจะทาให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ ของผ้สู รา้ งซอฟต์แวร์ภายใต้กฎหมายลขิ สิทธ์ิ ลขิ สิทธ์ิซอฟตแ์ วร์แบง่ ตามลักษณะการคมุ้ ครอง ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial software, License software) เป็นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ ผลิตข้ึนเพื่อจาหน่ายหรือมีจุดประสงค์เพ่ือเชิงการค้า (ผู้ใช้ต้องซื้อค่าลิขสิทธิ์) ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows, ระบบปฏิบัติการ Mac OS X, Microsoft Office, โปรแกรมของบริษัท Adobe เช่น Photoshop เปน็ ตน้ แชร์แวร์ Shareware คือ ซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธ์ิท่ีมีความสามารถครบถ้วนหรืออาจจะตัดความสามารถ บางส่วนออกไป หรือ จากัดจานวนข้อมูลในการใช้งาน โดยสามารถนาไปทดลองใช้งานได้ในช่วงระยะเวลาหน่ึง เช่นใช้งานได้เพียง 15 หรือ 30 วันเท่าน้ัน เมื่อหมดระยะเวลาของการทดลองใช้งาน ตัวโปรแกรมอาจหยุดการ ทางานจนกว่าจะมีการซื้อสิทธ์ิ แชร์แวร์มักไม่มีการให้การช่วยเหลือ การอัพเดท หรือ เมนูช่วยเหลือ ถ้าทดลองใช้ 14 88510159 ก้าวทนั สงั คมดจิ ิทัลดว้ ยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

งานแล้วพบว่าสามารถนาไปใช้งานได้ ตรงกับความต้องการ ก็สามารถชาระเงินให้กับผู้ผลิตซอฟต์แวร์เพื่อใช้งาน ต่อไปได้ คาที่ใช้บ่งบอกความเป็นซอฟต์แวร์สาหรบั ทดลอง ได้แก่ \"ทดลองฟรี\" (free trial) หรือ \"โปรแกรมทดลอง ใช้งาน\" (evaluation version) Ad ware คือ โปรแกรมท่ีให้ใช้ฟรี แต่ก็อาจมีโฆษณาติดมากับซอฟต์แวร์ด้วย มีการคุ้มครองจากลิขสิทธ์ิ อย่างเตม็ ที่ เช่นกัน ฟรีแวร์ (freeware) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ท่ถี ูกสร้างข้ึนและสามารถนาไปใช้ ไดใ้ นทกุ จดุ ประสงค์โดย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ไม่อนุญาตให้นาซอฟต์แวร์น้ีไปใช้ในเชิงการค้าได้ ซึ่งจะต่างจากซอฟต์แวร์เสรี (Free Software) ซอฟต์แวร์เสรี (Free software) หรือ โอเพนซอร์ซ (Open source software : OSS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ท่ีสามารถนาไปใช้ แก้ไข ดัดแปลง พัฒนา และจาหน่ายแจกจ่ายไดโ้ ดยเสรี โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธ์ิแต่ อย่างใด ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สถอื ว่าเป็นซอฟต์แวรท์ ่ีเปิดเผยหลักการหรือแหล่งที่มาของเทคโนโลยีของซอฟตแ์ วร์ นั้นให้บุคคลภายนอกได้ใช้ ภายใต้เงื่อนไขบางประการที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ทาการแก้ไข ดัดแปลง และเผยแพร่ ซอรส์ -โคด้ (หมายถึงรหัสต้นฉบบั ที่นักพัฒนาใช้สร้างโปรแกรม) ภายใต้เง่ือนไขทางข้อตกลงทางกฎหมาย ดังนั้นจึง ถอื ไดว้ า่ ซอฟตแ์ วร์โอเพนซอร์สเป็นแนวทางของการพัฒนาและเผยแพร่ซอฟต์แวร์ท่ีแตกต่างจากรปู แบบการพฒั นา และเผยแพรซ่ อฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ ซ่ึงจากแนวคิดดงั กล่าวทาให้เกิดการเรียนรู้และทาให้ซอฟต์แวร์ที่สร้างข้ึนด้วย แนวคิดนี้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา แม้กระท่ังบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์รายใหญ่เช่น IBM Sun หรือ Netscape หนั มาพัฒนาซอฟต์แวรโ์ ดยใชแ้ นวคดิ Open Source และเผยแพรโ่ ปรแกรมของตนโดยไม่คดิ มูลค่า ภายใต้เงือ่ นไข ทางกฎหมาย ซ่ึงบางตัวก็จะมีประเภทย่อย ๆ ลงไปอีก เช่น GNU - General Public License, BSD License, MIT License, Apache License, และ Creative Commons ซอฟต์แวร์ที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ที่เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Linux, OpenOffice.org (ชุดซอฟต์แวร์สานักงานที่คล้าย ๆ กับ Microsoft Office), Firefox, PHP, GIMP (โปรแกรม สร้างงานกราฟิกท่ีมีความสามารถเทียบเท่ากับ Adobe Photoshop), Dreamweaver (โปรแกรมสร้างงานเว็บ เพจ) บทที่ 4 โมเดริ น์ OS และ โมเดริ ์นแอพ 15

รูปท่ี 4-11 ซอฟตแ์ วรล์ ิขสิทธ์ิแบบโอเพนซอร์ส ความเปน็ มาของการพฒั นาซอฟต์แวร์เสรี (Free software หรือ Open source software) แนวคิดซอฟต์แวร์เสรีเกิดขึ้นในสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ เมื่อ พ.ศ. 2526-2527 (ค.ศ. 1983- 1984) โดยกล่มุ คนที่มีแนวความคดิ แบบเดียวกันท่วี ่า ทกุ คนควรมีอสิ ระในการใช้ซอฟต์แวร์ นั่นคือ ผู้ใช้มีอิสระทจ่ี ะ เลอื กใช้/เรยี นรู้/แจกจา่ ย/แกไ้ ขซอฟตแ์ วรโ์ ดยไม่ต้องเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย แนวคิดนี้เริ่มจาก ริชาร์ด สตอลแมน ต้องการแก้ไขซอฟต์แวร์ที่มากับเครื่องพิมพ์ (Xerox 9700) ให้ สามารถส่งข้อมูลให้ผู้ใช้เม่ือเครื่องพิมพ์งานเสร็จแล้ว หรือ ให้ส่งข้อความว่าเคร่ืองพิมพ์มีปัญหากระดาษติดอยู่ ให้กับผู้ใช้ทุกคนท่ีส่ังพิมพ์ขณะน้ัน แต่ เขาไม่ได้รับอนุญาตให้แก้ไขซอฟต์แวร์ดังกล่าว ซึ่งก็ล้วนแต่เป็นเรื่องของ ลิขสิทธ์ิและการไม่มีรหัสต้นฉบับ (Source code) ของซอฟต์แวร์จากผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ สตอลแมนจึงเร่ิมพัฒนา ระบบซอฟต์แวร์ท้ังหมดขึ้นใหม่ด้วยตัวเอง และ และกลายเป็นรากฐานท่ีสาคัญของระบบปฏิบัติการท่ีประสบ ความสาเร็จมากท่ีสดุ ใน โลกตวั หนง่ึ คือ GNU/Linux เร่ิมแรกในช่วง พ.ศ. 2526 กลุ่มคนที่พยายามผลักดันซอฟต์แวร์ประเภทน้ีได้เคล่ือนไหวภายใต้ช่ือ ซอฟต์แวร์เสรี จนกระท่ังในปี 2531 คาว่าซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สได้ถูกนามาใช้แทนคาว่า \"เสรี (Free)\" เพ่ือ หลีกเล่ยี งความสบั สนั และ เพื่อใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ สบายใจต่อทั้งผ้ใู ช้และผพู้ ัฒนา รวมถงึ คาวา่ ฟรี ในลักษณะของคา ว่าเสรีนอกเหนือจากคาว่าฟรีในลักษณะไม่เสียค่าใช้จ่าย ผู้ใช้งานรวมถึงผู้พัฒนาสามารถนาซอฟต์แวร์มาใช้งาน แก้ไข แจกจ่าย โดยสามารถนามาปรบั ปรงุ ท้งั ในลักษณะส่วนตัว หรือในหน่วยงานเอกชนได้ ซอฟตแ์ วร์เสรีอนุญาต 16 88510159 ก้าวทนั สงั คมดจิ ิทัลดว้ ยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT

ให้ทุกคนสามารถนาซอฟต์แวร์ไปพัฒนา รวมถึงวางขายและทาการตลาด จากรายงานของกลุ่มสแตนดิช (Standish Group, 2008) ท่ีได้ประมาณการประหยัดงบประมาณจากการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สพบว่า ซอฟต์แวรโ์ อเพนซอรส์ ประหยัดงบได้ถึง 6 หม่ืนลา้ นเหรยี ญสหรฐั ต่อปี ความสาคัญของ Open Source Open Source เร่ิมเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในโลกเรา เน่ืองจากปัจจุบันไมโครซอฟท์ได้ครองตลาด ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่และมีผู้ใช้มากท่ีสุดในโลก แต่เราจะต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ให้กับบริษัทไมโครซอฟท์ด้วย ซ่ึงถือว่า เป็นค่าใชจ้ ่ายท่ีค่อนข้างสูงและต้องเสยี อย่างต่อเน่อื งอกี ด้วยกับการ Upgrade ซอฟต์แวร์ให้ทนั สมยั อยูเ่ สมอ ดังน้ัน ตลาด Open Source จึงเกิดข้ึนมาเพื่อหลีกเล่ียงการเสียค่าลิขสิทธ์ิ เหล่านี้ ซึ่งหากเราหันมาใช้ ซอฟต์แวร์ท่ีเป็น Open Source กันมากข้ึนเท่าใดจะย่ิงเป็นผลดีต่อเรามากข้ึนเท่านั้น เพราะผู้พัฒนาจะมีกลุ่มใหญ่ขึ้นและสามารถ พัฒนาซอฟต์แวร์ ให้มีประสิทธิภาพและเป็นท่ีพอใจแก่ผู้ใช้มากข้ึนตามไปด้วย ซ่ึงถ้าซอฟต์แวร์ Open Source มี การใช้งานได้ง่ายและสะดวกเหมือนท่ีเราใช้กันอยู่ปัจจุบันของซอฟต์แวร์ท่ีเสียค่าลิขสิทธิ์ ผู้คนก็จะหันมาเห็น ความสาคัญและเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประเภทนี้กันมากขึ้น และการใช้ Open Source มาทดแทนซอฟต์แวร์ท่ีต้อง เสียค่าลิขสิทธิ์นี้ จะช่วยให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อซอฟต์แวร์ได้มาก และยังลดปัญหาการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ ซอฟต์แวร์ไดอ้ กี ประการหนงึ่ จะเกิดอะไรขึ้นถ้าบริษัทไมโครซอฟท์เกิดล้มละลายขึ้นมา ซอร์สโค้ดของวินโดวส์และออฟฟิศก็จะหายไป พร้อมกับบริษัทด้วย แล้วก็จะไม่มีใครพัฒนาโปรแกรมเหล่านอ้ี ีกต่อไป ผู้ใชโ้ ปรแกรมจะถกู ทิ้ง โปรแกรมทั้งสองจะ เกา่ และลา้ หลงั ไปเรอื่ ย ๆ จนไมม่ ีใครใชย้ กเว้นผู้ใช้ท่ียงั คงติดอยู่กบั โปรแกรมทั้งสอง เปน็ ผใู้ ช้ที่ไม่มใี ครเหลียวแลอีก ตอ่ ไป บทท่ี 4 โมเดิรน์ OS และ โมเดริ ์นแอพ 17

ตารางท่ี 4-4 ขอ้ ดีของโอเพนซอร์ส Benefits Features ตดิ ตงั้ ได้ไม่จากดั ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยเพราะไม่มคี ่าไลเซนส์ และไม่เส่ียงตอ่ การละเมดิ ลิขสิทธิ์ ไมว่ ่า จะใช้งานแบบใดหรอื จานวนเท่าใด มี source code ที่เปิดเผย ม่ันใจว่าจะไม่มีอะไรแอบแฝงอยู่ในซอฟต์แวร์ และมีช่องโหว่น้อย เพราะถ้ามีก็ จะมีคนเห็น แล้วแก้ไขอยา่ งรวดเรว็ สามารถก็อปปี้และเผยแพร่ได้ ไม่เส่ียงต่อการละเมิดลิขสิทธ์ิโดยไม่เจตนา สามารถก็อปป้ีไว้ในเซิร์ฟเวอร์ของ องคก์ รเพอื่ ดึงไปตดิ ตง้ั ในพีซที ง้ั องค์กร ปรบั ปรงุ ใหต้ รงความต้องการ เมื่อต้องการ feature เพ่ิมหรือติด bug องค์กรสามารถแก้ไข หรือจ้าง ได้ ผู้เชย่ี วชาญแก้ไขให้ได้ ไม่ตอ้ งรอเจา้ ของซอฟตแ์ วร์ มผี ูใ้ หบ้ ริการหลายราย การนาซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สมาใช้จึงมีค่าใช้จ่ายท่ีสมเหตุสมผล เพราะลูกค้ามี (เพราะนกั พฒั นาซอฟต์แวร์มี อานาจตอ่ รอง มที างเลอื กมาก code ต้นแบบ) นิยมมาตรฐานเปิด (Open ซอฟต์แวร์แบรนด์เนมมักป้องกันไม่ให้ผู้ใช้เปล่ียนไปใช้ซอฟต์แวร์อ่ืนโดยใช้ standard) ฟอร์แมตที่เป็นความลับ ทาให้ทางานร่วมกับซอฟต์แวร์อื่นไม่ได้ ซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์สใช้ฟอร์แมตมาตรฐานเปิดเพ่ือให้ทางานรว่ มกับซอฟต์แวรอ์ ่ืนได้เป็น อยา่ งดี ในแง่น้ี ซอฟต์แวรโ์ อแพนซอร์สจะมเี สถียรภาพ และมสี ิ่งผิดน้อยกว่า มีชมุ ชนให้ความชว่ ยเหลือมาก ชุมชนโอเพนซอรส์ เป็นชุมชนของนกั พฒั นาซอฟตแ์ วร์ทีต่ ่างมีจิตอาสามารว่ มกัน พัฒนาซอฟต์แวร์เพ่อื ให้ผใู้ ช้ได้ใชง้ านฟรี ใชท้ รัพยากรของเคร่ืองนอ้ ย เราสามารถใชเ้ คร่ืองทีม่ ี Spec ตา่ ๆ ทางานได้ 18 88510159 ก้าวทันสงั คมดจิ ิทัลดว้ ยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

ขอ้ เสยี ของโอเพนซอร์ส ส่วนใหญ่แลว้ เป็นผลกระทบท่ีเกิดจากการใช้งานอย่างไม่ถกู ต้อง เพราะวา่ การใช้โอเพนซอร์สนน้ั มีขอ้ ควร คานึง คือ ต้องขยันหม่ันอัพเดทอยู่เสมอ ๆ เพ่ือให้เป็นรุ่น (Version) ที่ใหม่ล่าสุด แต่ถ้าเราไม่อัพเดท คือหลังจาก ตดิ ตงั้ แลว้ ทิง้ เอาไว้อยา่ งนัน้ ผา่ นไปหลายปี ทา่ นจะพบว่าโปรแกรมของท่าน - อาจถกู hack - ตดิ spam หรือ malware - หนา้ เวบ็ เปลยี่ นไปเป็นหน้าอ่นื - เขา้ ระบบไมไ่ ด้อกี - หนา้ เว็บ หายไปเลย - ถูกใช้เปน็ เคร่ืองมอื โจมตีเว็บอื่น - ถกู bomb ส่งอเี มลออกเปน็ จานวนมาก นี่เป็นตัวอย่างหน่ึงเท่าน้ัน เพราะว่าที่ร้ายแรงกว่าน้ันก็คือเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้งานถูกยึด และใช้เป็นเคร่ืองมือ โจมตี เซิร์ฟเวอร์เครื่องอ่ืนต่อเลยก็เป็นได้ ซ่ึงเหตุการณ์ท้ังหลายเหล่าน้ีเกิดจากพฤติกรรมการใช้งานโอเพนซอร์ส ดังต่อไปน้ี - ไมด่ แู ล - ไม่อัพเกรด (Upgrade) - ตดิ ตง้ั ตัวเสรมิ เยอะเกินไป - ตดิ ตัง้ ตัวเสรมิ โดยไมร่ ะวงั - ไม่ใส่ใจเรื่องความปลอดภัย (Security) - ไม่มคี วามรู้พอในการแกไ้ ขปัญหา ชมุ ชน Open source community 1. Debian Club - http://debianclub.org/ 2. Ubuntu Club - http://www.ubuntuclub.com/ 3. SUT linux (โครงการพฒั นาลนิ กุ ซข์ อง มทส.) - http://linux.sut.ac.th/sutlinux/ 4. Firefox Thai - http://www.firefoxthai.com/ 5. PCLinuxOS Club - http://www.pclinuxclub.com/ 6. OpenSUSE Club - http://www.suseclub.com/ บทที่ 4 โมเดริ ์น OS และ โมเดิรน์ แอพ 19

7. ชมุ ชน Linux TLE/SIS - http://www.opentle.org/ 8. LTN คนไทยใชล้ ินุกซ์ - http://linux.thai.net/ 9. http://www.tosdn.com/ 10. http://www.krupong.com/ 11. http://www.zone-it.com/board/109 12. http://www.opensource2day.com/index.php 13. http://groups.google.com/group/thai-opensource 14. http://www.cmsthailand.com/a/ 15. http://www.dotnetnukethai.com 16. http://www.thaitux.info 17. http://www.susethailand.com/ 18. http://www.hospital-os.com/th/phpbb/index.php 19. http://www.itc-trainingcenter.net/thaiitcertify/index.php 20. http://www.webthaidd.com/board/ 21. http://www.thaideveloperexpert.org/ 22. http://www.thainuke.org 23. http://www.ossthailand.com/ossth/ 24. http://www.openerp-thai.com/ 25. http://www.thaiopenlinux.com/index.php 26. http://www.thailinux.co.nr/ 27. ชมรมโอเพนซอรส์ ล้านนา - http://www.lannaoss.org/ 28. แหลง่ แลกเปล่ียนความรู้-ประสบการณ์ FreeBSD สาหรับคนไทย - http://www.thaibsd.com/ 29. Drupal Thailand - http://drupal.in.th/ 30. เปดิ โลกอสิ ระกับโอเพนซอรส์ - http://www.thaiopensource.org/ 20 88510159 ก้าวทันสังคมดจิ ิทัลดว้ ยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

ตารางท่ี 4-5 ซอฟตแ์ วร์ในชีวิตประจาวัน (เสยี ค่าลิขสทิ ธิ์ กับ ที่สามารถใช้ไดฟ้ รี) ลกั ษณะการใชง้ าน โปรแกรมทีต่ ้องเสีย Open Source / หมายเหตุ ค่าลขิ สทิ ธ์ิ Freeware ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows Linux เชน่ Ubuntu แม้ โปรแกรม Linux จะได้พัฒนาให้ (Operating System) สามารถใช้งานได้ใกล้เคียงกับ Windows แต่การนามาทดแทนยังตอ้ ง คานงึ Drivers ตา่ ง ๆ การใช้งานร่วมกนั ในระบบ LAN ฯลฯ โปรแกรมสานกั งาน Microsoft Office Open Office, Star Google Docs เปน็ โปรแกรมออนไลนท์ ่ี (Word Processor, Office, Google Doc ต้องใช้งานและเก็บข้อมลู ผา่ นระบบ Spreadsheet, Presentation, etc.) อินเทอร์เนต็ โปรแกรมตกแตง่ ภาพ Adobe Photoshop Gimp, Paint.NET - โปรแกรมจัดการ ADC See FastStone Image, - อลั บัม้ ภาพ Picasa, IrfanView โปรแกรมวาดภาพ Adobe Illustrator, Inkscape, Scribus - ลายเสน้ Corel Draw, Freehand โปรแกรมบันเทงิ ส่ือ Windows Media VLC Media Player, Windows Media Player เป็น ประสม (Multi- Player, Winamp Media) KMPlayer โปรแกรมทีม่ าพร้อมกับ Microsoft Windows อยแู่ ล้ว การรณรงคใ์ หใ้ ช้ โปรแกรมอ่ืนแทนเปน็ เร่ืองของ ประสิทธิภาพของโปรแกรม และการ ตอ่ ตา้ นการผกู ขาดของ โปรแกรม Winamp จะมใี ห้เลือกใชท้ ้งั ที่ เปน็ Freeware และ Commercial software ข้นึ อยู่กับการใชง้ าน บทท่ี 4 โมเดิรน์ OS และ โมเดิรน์ แอพ 21

โปรแกรมท่อง Internet Explorer Mozilla Firefox, IE เป็นโปรแกรมท่ีมาพร้อมกับ อินเทอรเ์ น็ต (Web (IE) Browser) Opera, Safari, Microsoft Windows อย่แู ล้ว การ Maxthon, Google รณรงคใ์ หใ้ ชโ้ ปรแกรมอ่ืนแทนเปน็ เร่อื ง Chrome ของการรักษาความปลอดภัยและการต่อ ต้านการผูกขาดของ Microsoft โปรแกรมรับสง่ อีเมล์ Microsoft Outlook Mozilla - Thunderbird โปรแกรมบบี อัดข้อมูล WinZip, WinRAR 7-Zip, IZArc - โปรแกรมสรา้ ง Adobe Acrobat PDF Creator PDF Creator ยงั ไม่สามารถจัดการไฟล์ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ PDF ในระดับซบั ซ้อนได้ ส่วนโปรแกรม (PDF File) ที่ใช้ดูไฟล์ PDF เพียงอย่างเดียวทุก โปรแกรมเป็นฟรีแวร์อยู่แล้ว Anti-Virus Nod32, AntiVir, AntiVir Personal, บางยีห่ อ้ ทเ่ี ป็น Commercial software Kaspersky, McAfee, Avast! Home จะมีเวอร์ชันทดลองใชง้ าน หรือ เวอรช์ ัน Norton AntiVirus, Edition, AVG Free ฟรีทีม่ ีขีดความสามารถน้อยกวา่ เวอร์ชัน Combofix Edition, ClamWin เต็มใหใ้ ช้งานได้ Anti-Spyware Norman Malware Ad-Aware, Spybot เกือบท้ังหมดเป็น Open Source หรอื Cleaner Search & Destroy, Freeware แตผ่ ู้ใชค้ วรระวงั Malware Windows บางชนิดที่อ้างตัวเป็นโปรแกรม Anti- Defender Spyware มาหลอกลวงใหผ้ ้ใู ชจ้ ะต้อง ชาระเงนิ โปรแกรมสรา้ ง MS Visio FreeMind เปน็ โปรแกรมที่ใช้สาหรบั สรา้ งแผนภาพ แผนภาพ diagram ตา่ งๆ 22 88510159 กา้ วทนั สังคมดจิ ิทัลด้วยไอซีที Moving Forward in a Digital Society with ICT

ข้อควรคานึงถงึ เมือ่ เลือกซ้อื หรอื เลือกใช้ซอฟต์แวร์ ข้อ 1 กอ่ นซื้อหรือกอ่ นใช้ ให้ทดลองใชง้ าน เพอื่ พจิ ารณาประโยชน์ของซอฟต์แวร์ โดยท่ัวไป บริษัททพ่ี ัฒนาซอฟต์แวร์จะยอมให้ผู้ใช้ได้ทดลองใชซ้ อฟตแ์ วร์กอ่ นท่ีจะตดั สนิ ใจซ้ือจริง โดยผู้ใช้ จะได้มีโอการทดลองรนุ่ ทอ่ี าจมีความสามารถน้อยกว่าซอฟต์แวรต์ วั เตม็ ทต่ี ้องเสยี เงนิ เพื่อท่ีผู้ใช้จะสามารถตดั สินใจ ได้ว่าเหมาะกับการใข้งานท่ีตนต้องการหรือไม่ หรือ ใช้งานได้จริงตามที่โฆษณาไว้หรือไม่ มีรายการช่วยเหลือ อธิบายการใช้งานได้ถูกต้องหรือไม่ มีส่วนท่ีเราไม่จาเป็นต้องใช้หรือไม่ ส่วนใดที่สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไขได้ ซอฟตแ์ วร์มีกราฟฟิกน่าใช้หรือไม่ ดังนั้น ผู้ที่ต้องการใช้ซอฟต์แวร์จึงไม่ควรซื้อซอฟต์แวร์ทันที แม้เราจะศึกษาการใช้จากการดูคลิปโฆษณา ตัวอย่างการใช้ แต่ในคลิป บริษัทผู้ผลิตอาจจะพูดแต่ข้อดี หลังจากที่เราป้อนข้อมูลจริงเข้าไปแล้ว ซอฟต์แวร์ อาจจะทางานแตกต่างจากตวั อย่างไปเลยกไ็ ด้ ขอ้ 2 พิจารณาประวัติของบริษทั ผูพ้ ฒั นาซอฟต์แวร์ โดยทว่ั ไป เมอ่ื เราซ้ือซอฟต์แวร์ เราย่อมอยากซือ้ ซอฟต์แวร์ทคี่ วามสามารถใหม่ ๆ ทันสมัยเสมอ เน่ืองจาก ทุกวันนี้เทคโนโลยีเปล่ียนแปลงรวดเร็วมาก เราอาจต้องการให้ซอฟต์แวร์ที่เราได้ซ้ือมามีความสามารถเพ่ิมเติม นอกจากน้ี ซอฟต์แวร์ตัวเดมิ อาจมีชว่ งโหว่ดา้ นความปลอดภัย ดังนนั้ เราควรซ้อื ซอฟต์แวรจ์ ากบริษทั ท่ีมปี ระวตั ิการ พัฒนาด้านซอฟต์แวร์ท่ีดี หากเราซื้อจากบริษัทท่ีไม่มั่นคงแล้ว เมื่อซอฟต์แวร์ตกยุคสมัยไปแล้ว เราอาจต้อง ส้นิ เปลืองงบประมาณจัดซ้ือซอฟต์แวรจ์ ากบริษัทใหม่อกี แทนที่จะให้บริษทั เดิมแกไ้ ขปรับปรุงซอฟต์แวร์ปัจจุบันให้ ดขี ้นึ และทันสมยั ข้ึน ข้อ 3 พจิ ารณาระบบปฏบิ ัติการทีใ่ ชง้ านร่วม ผู้ผลิตซอฟต์แวร์จะพัฒนาซอฟต์แวร์เพ่ือใช้เฉพาะระบบปฏิบัติการน้ัน ๆ เป็นไปไม่ได้ท่ีเราจะซื้อ Microsoft Office 2016 for Mac มาใชบ้ นเครื่องทท่ี างานด้วยระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows หรอื Linux ขอ้ 4 พิจารณาบริการหลงั การขาย ดว้ ยเทคโนโลยีการพฒั นาซอฟต์แวร์ในปัจจบุ นั ยังไม่มีบริษทั ใดสามารถพฒั นาซอฟต์แวร์ท่ีไมม่ ีขอ้ บกพรอ่ ง ใด ๆ ได้ ดังน้ันการทางานบางอย่างของซอฟต์แวร์จะเกิดข้อผิดพลาดได้เมื่อผ่านใช้งานเป็นเวลานาน ดังนนั้ บริการ หลังการขายเป็นเร่ืองสาคัญมาก โดยผู้ซื้ออาจทดสอบบริการหลังการขายโดย ทดสอบติดต่อก่อนการซ้ือก่อนว่า บริษัทได้เตรียมพนักงานสาหรับให้คาปรึกษาอย่างไรบ้าง หากการได้รับคาตอบ หรือ คาปรึกษาที่แย่ เราก็ไม่ควร ซ้ือซอฟตแ์ วรจ์ ากบริษทั นี้ บทท่ี 4 โมเดริ น์ OS และ โมเดริ น์ แอพ 23

จรยิ ธรรมในการใชซ้ อฟตแ์ วร์ ในการติดตั้งซอฟต์แวร์ลงในคอมพิวเตอร์นอกจากจะคานึงถึงเรื่องวัตถุประสงค์ในการใช้งานแล้ว ส่ิงที่ สาคัญอีกส่ิงหนึง่ ที่ตอ้ งคานึงถงึ น่นั กค็ ือ เรามีสิทธ์ิติดต้ังและใช้งานซอฟต์แวร์เหล่านนั้ ได้หรอื ไม่ เนื่องจากซอฟต์แวร์ ทุกประเภทจะมีสิทธ์ิในการใช้ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นเราต้องทาความเข้าใจในเรื่องน้ีเพื่อหลีกเล่ียงปัญหา การละเมิดลิขสิทธ์ิ เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ใช้อย่ภู ายใต้พระราชบัญญตั ิลขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 (ในปพี .ศ. 2550 ประเทศ ไทยถกู จดั ไว้เป็นอันดบั 4 ในเอเซยี แปซฟิ กิ ท่มี ีการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์สูงสดุ ) ดังที่ได้กล่าวมาก่อนแล้ว สิทธ์ิการใช้งานมีหลายระดับ ลิชสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ที่เราต้องการใช้อาจเป็น ซอฟต์แวร์เชงิ พาณชิ ย์ แชรแ์ วร์ ฟรีแวร์ หรือ ซอฟตแ์ วรโ์ อเพนซอร์ส ก็ได้ ดงั นั้นในการตดิ ตั้งซอฟต์แวร์หรอื คัดลอก โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ผู้อ่ืน เป็นการกระทาที่จะต้องพิจารณาให้รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมท่ีจะทาการคัดลอก น้ันเปน็ ซอฟตแ์ วรท์ เ่ี รามสี ิทธใ์ิ นการใช้งานระดับใด 24 88510159 กา้ วทนั สงั คมดจิ ิทัลดว้ ยไอซที ี Moving Forward in a Digital Society with ICT

บรรณานกุ รม Firefox OS คอื อะไร? (n.d.). Retrieved from www.mhafai.com/: http://www.mhafai.com/2013/07/what-is-firefox-os/ Linux. (n.d.). Retrieved from www.sktc.ac.th: www.sktc.ac.th/sakawichar/elec/com/somcom/linux.doc ขอ้ ควรพจิ ารณาสาหรับการเลือกซอฟต์แวร์เพ่ือใช้งาน. (n.d.). Retrieved from www.rajsima.ac.th: http://www.rajsima.ac.th/media/patchara/work41101-2/Webpage2/Page4.htm ข้อเสยี ของเวบ็ ทใ่ี ช้ open source. (n.d.). Retrieved from meewebfree.com: http://meewebfree.com/site/basic-website/438-worst-of-web-open-source ชมุ ชนโอเพนซอรส์ ในประเทศไทยมชี มุ ชนใดบ้าง. (n.d.). Retrieved from thaiopensource.org: http://thaiopensource.org/news/toss-quiz-14-ชมุ ชนโอเพนซอรส์ ในประเทศไทยมชี ุมชนใดบา้ ง ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต.์ (n.d.). Retrieved from www.chakkham.ac.th: http://www.chakkham.ac.th/krusuriya/index.php?option=com_content&view=article&id=9 4&Itemid=113 ซอฟตแ์ วร์โอเพนซอร์ส. (n.d.). Retrieved from ww.osdev.co.th/open-source: http://www.osdev.co.th/open-source ปอกเปลือก Bada : โอกาสคว่า Symbian และ Android สูงหรอื ตา่ ? (n.d.). Retrieved from www.mxphone.net: http://www.mxphone.net/747-bada-symbian-android/ แมคโอเอสเท็น. (n.d.). Retrieved from wikipedia.org: http://th.wikipedia.org/wiki/แมคโอเอสเท็น ระบบปฏบิ ัติการ (Operating System). (n.d.). Retrieved from www.itexcite.com: http://www.itexcite.com/article/ระบบปฏบิ ัติการ-(Operating-System).html ระบบปฏบิ ัตกิ ารคอื อะไร. (n.d.). Retrieved from zeepoty.tripod.com: http://zeepoty.tripod.com/Data1/2.htm ลขิ สิทธซ์ิ อฟตแ์ วรค์ ืออะไร. (n.d.). Retrieved from tinybrain313anc.blogspot.com: http://tinybrain313anc.blogspot.com/p/blog-page_15.html บทท่ี 4 โมเดิรน์ OS และ โมเดริ น์ แอพ 25


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook