ค่มู ือการจัดกจิ กรรมนนั ทนาการ ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษานครราชสมี า กรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารวิชาการ ลาดบั ท่ี 8/2566
คำนำ คู่มือการจัดกิจกรรมนันทนาการพัฒนาขึ้น เพ่ือให้บุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสามารถ นามีความรู้เก่ียวกบั การจัดกจิ กรรมนันทนาการ และสามารถนาไปใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดา้ น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นภารกิจหลัก ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการ ดาเนินงานสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขอ้ 4 พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะท่ี จาเป็นในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษานครราชสีมาจึงได้พัฒนาคู่มือการ จดั กจิ กรรมนนั ทนาการข้นึ เนอ้ื หาประกอบด้วย บทท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั นันทนาการ บทที่ 2 ความรูเ้ กยี่ วกบั ผนู้ านนั ทนาการ บทท่ี 3 กจิ กรรมกลุ่มสมั พันธ์ บทที่ 4 การเป็นผ้นู าเกม บทท่ี 5 การเป็นผู้นาเพลงนันทนาการ บทท่ี 6 กิจกรรมเตรียมความพร้อม ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องที่ช่วยให้การจัดทาคู่มือการจัดกิจกรรมนันทนาการสาเร็จลุล่วงไป ด้วยดี ผ้จู ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งย่งิ ว่าคงเปน็ ประโยชนแ์ ก่หน่วยงานและผู้สนใจทีจ่ ะนาไปประยกุ ต์ใช้ต่อไป คณะผู้จัดทา 19 กรกฎาคม 2566
สำรบัญ หนำ้ เรอ่ื ง 1 1 บทท่ี 1 ควำมรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกบั นันทนำกำร 1 ความหมายของนนั ทนาการ 2 คุณลกั ษณะของนันทนาการ 3 ความมุ่งหมายของนนั ทนาการ 4 คุณค่าและประโยชน์ของนันทนาการ 6 ประเภทของกจิ กรรมนนั ทนาการ 7 เอกสารอ้างอิง 7 7 บทท่ี 2 ควำมรเู้ ก่ยี วกบั ผนู้ ำนนั ทนำกำร 7 ความหมายของผ้นู านันทนาการ 7 ความสาคัญของผู้นานันทนาการ 8 จุดมงุ่ หมายของการเป็นผูน้ านันทนาการ 9 หลักของผนู้ านนั ทนาการ 10 ประเภทของผูน้ านนั ทนาการ 12 หน้าที่ของผู้นานนั ทนาการ 12 เอกสารอ้างองิ 12 12 บทท่ี 3 กิจกรรมกล่มุ สมั พันธ์ 13 ความหมายของกลมุ่ สัมพนั ธ์ 14 วัตถุประสงคข์ องกจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ 18 ประโยชน์ของกจิ กรรมกลุม่ สมั พนั ธ์ 19 องคป์ ระกอบทม่ี ีผลตอ่ ความสมั พันธข์ องกล่มุ 19 ตัวอย่างการจัดกจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ 19 เอกสารอ้างองิ 19 19 บทที่ 4 กำรเปน็ ผู้นำเกม 20 ความหมายเกม 20 จุดมงุ่ หมายของการเลน่ เกม 20 ลกั ษณะทว่ั ไปของเกม 21 ความสาคัญของเกม 22 ประโยชนข์ องเกม 24 ลักษณะทัว่ ไปของเกม 29 ประเภทของเกม เทคนคิ และวิธีการสอนเกม คุณลกั ษณะของผู้นาเกม ตัวอย่างเกม เอกสารอา้ งองิ
สำรบญั หนำ้ เรอื่ ง 30 30 บทท่ี 5 การเป็นผนู้ าเพลงนันทนาการ 30 ความหมายของเพลง 30 ความสาคัญของเพลง 31 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการรอ้ งเพลง 31 ตวั อยา่ งเพลง 34 1. เพลงทใ่ี ช้ในโอกาสพเิ ศษ 35 2. เพลงเกย่ี วกบั การระลึกประวตั ศิ าสตร์ 36 3. เพลงปลุกใจ 37 4. เพลงทีเ่ กีย่ วกบั ความซาบซง้ึ ในศาสนา 40 5. เพลงประกอบกจิ กรรมศูนย์วทิ ยาศาสตร์ 41 เอกสารอ้างอิง 41 41 บทท่ี 6 กิจกรรมเตรียมความพร้อม 42 ความหมายของกจิ กรรมเตรียมความพร้อม 44 ความสาคัญของกิจกรรมเตรียมความพรอ้ ม 45 ตัวอย่างกิจกรรมเตรยี มความพรอ้ ม 47 เอกสารอา้ งองิ บรรณำนกุ รม คณะผ้จู ัดทำ
หนว่ ยที่ 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกบั นันทนาการ ในการพฒั นาประเทศ รัฐบาลไดใ้ ห้ความสาคัญกับการเสริมสรา้ งคุณภาพชีวิตให้แก่ประชากรด้วยการ พัฒนาในทุก ๆ ด้านเพ่ือนาไปส่คู ุณภาพชีวิตทีด่ ี มีอาหารเพียงพอกับความตอ้ งการของร่างกาย มีทอี่ ยอู่ าศัยท่ีดี มีอาชีพสุจริต มีครอบครัวอบอุ่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การมีสุขภาพที่ดี การเสริมสร้าง สุขภาพให้แข็งแรงมีความสาคัญในการช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายเจ็บป่วย ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีทุกคนพึงปฏิบัติได้ เพียงแต่ให้ความสนใจต่อสุขภาพโดยการออกกาลังกาย เล่นกีฬา หาเวลาว่างพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การร้องเพลง เล่นเกม ฟังวิทยุ อ่านหนังสือ ปลูกต้นไม้ เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม สะสมสิ่งของ หรือกิจกรรมอื่นที่ทาให้เกิด ความสนกุ สนาน เพลิดเพลิน ซ่งึ กิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ีล้วนแลว้ แตเ่ ปน็ กจิ กรรมนนั ทนาการในชวี ติ ประจาวัน ความหมายของนนั ทนาการ นนั ทนาการ หมายถงึ กิจกรรมทที่ าตามสมัครใจในยามวา่ ง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและ ผอ่ นคลายความตึงเครยี ด การสราญใจ นันทนาการ (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒) นันทนาการ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Recreation ซึ่งมาจากคาศัพท์ คือ Re และ Create หมายถึง เสรมิ สร้างพลังขึ้นมาใหมท่ าให้สดช่ืน และเป็นกิจกรรมท่ีทาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกดิ ความสุข ความ พึงพอใจ เสริมสร้างรา่ งกายใหม้ ีพลงั สามารถปฏบิ ตั ิภารกิจใหมไ่ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ สรุปได้ว่า นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่ทาในเวลาว่างด้วยความสมัครใจ ก่อให้เกิดความสุข สนกุ สนาน และเกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสงั คม (กรมพลศึกษา, 2557 : 1) คณุ ลกั ษณะของนนั ทนาการ ในการพิจารณาว่ากิจกรรมใดเป็นนันทนาการหรือไม่ ดร.โดนัลด์ ซีไวทซ์ คอมฟ์ (Donald C. Weiskopt, 1982 : 10-11) ได้กล่าวถงึ คุณลักษณะของนนั ทนาการ ไว้ดงั นี้ 1. นันทนาการเป็นกจิ กรรมสมัครใจ (Volunteer) บคุ คลท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรมต้องมีความสมคั รใจ ยนิ ดีโดยไม่มีการบงั คบั เป็นกิจกรรมที่เกิดจากความสนใจของบุคคลน้นั ๆ 2. นนั ทนาการเกิดขึ้นในเวลาว่าง (Leisure Time) เป็นการใช้เวลาวา่ งหลังการประกอบกจิ วตั ร ประจาวัน เช่น ว่างจากการทางาน การเรยี น การทากจิ ธรุ ะสว่ นตัว 3. นันทนาการก่อให้เกิดความสนุกสนาน (Enjoyment) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้รับความสนุกสนาน มคี วามพึงพอใจ และไดร้ ับผลโดยตรงจากความสนกุ สนานทาให้เกดิ ความสุขและเป็นการคลายเครยี ดได้ดี 4. นันทนาการเป็นกิจกรรมท่ีมีการกระทา (Activities) คือมีการใช้ร่างกาย กล้ามเนื้อ หรือ อวัยวะส่วนใดส่วนหน่ึงประกอบกิจกรรมต่าง ๆ มีรูปแบบลักษณะท่ีแตกต่างกันออกไป ต้องมีการกระทา ตลอดเวลา จะไม่อยู่น่ิงเฉย การนอนหลบั ไม่ถอื ว่าเปน็ กจิ กรรมนันทนาการ 5. นันทนาการก่อให้เกิดวิสัยทัศน์กว้างไกล (Broad in Concept) นันทนาการมีขอบเขต กว้างขวาง รูปแบบของนันทนาการมีให้เลือกตามความต้องการในทุกเพศทุกวัยนับตั้งแต่เด็ก วัยรุ่นและวัย ผูใ้ หญ่ ทุกคนสามารถเลือกได้ตามความพอใจในแต่ละกิจกรรม 1
6. นันทนาการช่วยส่งเสริมความสุขสุดช่ืน มีการเปล่ียนแปลงในทางที่ดีและก้าวหน้า (Refreshing Change of Pace) กจิ กรรมส่วนใหญ่จะทาให้ผู้ร่วมมีความกระปก้ี ระเปร่า สดชื่น และพัฒนาไปใน สิ่งที่ดงี าม ไมห่ มกหมุน่ อยูก่ บั อบายมุข สามารถยดื หยนุ่ ตามความตอ้ งการ 7. นันทนาการเป็นสง่ิ ท่ีมีคณุ ค่าและสรา้ งสรรค์ (Should be Wholesanne and Constructive) นันทนาการเป็นสิ่งที่มคี ุณค่าและมีความสาคญั ต่อตนเองและสงั คม กิจกรรมนันทนาการนอกจากจะทาให้ ความสุขสบายใจแล้วยงั มีสว่ นในการสร้างสรรค์ส่ิงท่ดี ีงามด้วย 8. นนั ทนาการเปน็ สงิ่ ทีส่ งั คมยอมรบั และตอ้ งการ (Should be Socailly Acceptable) กจิ กรรม หลายอยา่ งทผ่ี ู้เขา้ ร่วมชอบและสนใจกระทา แต่ถา้ สังคมไมย่ อมรบั หรอื ปฏเิ สธกไ็ ม่ถอื ว่าเป็นนนั ทนาการ 9. นันทนาการเป็นกิจกรรมที่ให้ประโยชน์ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ และเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม (Contribute to the Physical Mental and Moral Welfare the Participant) ความมงุ่ หมายของนนั ทนาการ 1. พัฒนาอารมณ์สขุ นนั ทนาการเป็นกระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาอารมณ์สุขของบุคคล โดยอาศัย กิจกรรมต่าง ๆ เป็นสื่อกลางในช่วงเวลาว่าง การเข้าร่วมต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจ และกิจกรรมนั้นจะต้อง เปน็ กิจกรรมทส่ี ังคมยอมรบั สามารถกอ่ ความสุข สนกุ สนาน เพลิดเพลิน และความสงบสุข 2. เสริมสร้างประสบการณ์ใหม่ กจิ กรรมนันทนาการช่วยเสริมสรา้ งประสบการณ์ใหม่ให้แกผ่ ูเ้ ข้ารว่ ม เพราะความหลากหลายของกิจกรรมทจ่ี ดั ขึ้น ซงึ่ มคี วามแตกต่างของกจิ กรรมมากมายขนึ้ อยู่กับประสบการณ์ และพน้ื ฐานเดิมของบุคคลหรอื ชุมชน 3. เพ่ิมพูนประสบการณ์ กระบวนการทางนันทนาการ ก่อให้เกิดการพัฒนาทางอารมณ์สุข ดังน้ัน ทัศนียภาพ ความซาบซ้ึง ความประทับใจ ความภาคภูมิใจ หรือมุมหน่ึงแห่งความประทับใจ สุขใจ สนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และอารมณส์ งบสขุ จึงเป็นประสบการณห์ รือคณุ ภาพชีวิตของบคุ คลท่ีพงึ ได้ 4. ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วม นันทนาการใหค้ ุณคา่ และสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของบุคคลและชุมชน ฝึกให้ เข้าร่วมในกิจกรรมของชุมชนด้วยความสนใจและสมัครใจ กิจกรรมอาสาสมัครให้คุณค่าการมีส่วนร่วมอาสา พฒั นาเกี่ยวขอ้ งกบั ชุมชนอื่น 5. ส่งเสริมการแสดงออกแห่งตน กิจกรรมนันทนาการเช่นศิลปหัตถกรรมดนตรี ละคร เป็นการส่งเสริมให้ บุคคลได้แสดงออกในด้านความคิด สร้างสรรค์ การเลียนแบบสถานการณ์หรือพฤติกรรมต่าง ๆ ทาให้รู้จักตนเองมาก ขนึ้ 6. สง่ เสริมคุณภาพชีวติ กระบวนการทางนันทนาการชว่ ยสง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของบคุ คล และสังคม ชว่ ยพฒั นาอารมณ์ ความสุข ความสามารถของบุคคล สุขภาพและสมรรถภาพ ส่งเสริมสุขภาพจิต ความสมดลุ ของกายและจติ และความสมดุลในการแบ่งเวลาทางาน 7. ส่งเสริมความเป็นมนุษยชาติ กิจกรรมนันทนาการส่งเสริมพฤติกรรมและพฒั นาความเจริญงอกงามของ บุคคล ท้ังทางกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และจิตใจของทุกคน ทกุ เพศทุกวัย ตามความสนใจและความต้องการ ช่วยสร้างความเขา้ ใจอนั ดใี นหมู่เพ่ือนมนุษย์ เข้าใจสภาพแวดล้อม และชว่ ยสืบทอดศลิ ปวัฒนธรรมของชนชาตติ ่อไป 8. ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี กิจกรรมนันทนาการเป็นการให้การศึกษาแก่เยาวชนในด้านการ ช่วยเหลอื ตนเอง สทิ ธิหน้าท่ี ระเบยี บวนิ ยั และการปรบั ตัวให้เป็นพลเมืองดี 2
คณุ ค่าและประโยชนข์ องนันทนาการ เมือ่ บุคคลและชมุ ชนไดม้ โี อกาสเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในช่วงเวลาวา่ ง ดว้ ยความสมัครใจ ก่อใหเ้ กิดผลทไ่ี ดร้ บั ในเรอื่ งของคุณค่าและประโยชนต์ ่าง ๆ ไดแ้ ก่ 1. ช่วยให้บุคคลและชุมชนได้รับความสุข สนุกสนาน มีความสุขในชีวิตและใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ 2. ช่วยใหบ้ ุคคลและชุมชนพัฒนาคุณภาพชวี ติ และสมรรถภาพทางกายท่ีดีเกดิ ความสมดลุ ของชวี ติ 3. ช่วยป้องกันปัญหาอาชญากรรมและพฤติกรรมเบ่ียงเบนในทางไม่พึงประสงค์ของเยาวชนและเด็ก การพัฒนาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนนับว่าเป็นส่ิงท่ีสาคัญในการเสริมสร้างลักษณะนิสัยท่ีพึงประสงค์ กิจกรรมนันทนาการประเภทต่าง ๆ ช่วยให้เด็กและเยาวชนเลือกได้ฝึกฝนตามความสนใจ และได้ใช้เวลาว่าง ในการพัฒนาลักษณะนสิ ยั ท่ีพึงประสงค์ได้ 4. ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี การท่ีชุมชนได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยเข้าร่วมใน กิจกรรมนันทนาการจะไดเ้ รียนรู้ในเรื่องหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบคุณค่าทางสงั คมเสรีประชาธปิ ไตย ลดความเห็น แก่ตัวสร้างคุณค่าจริยธรรมความมีน้าใจ การให้บริการ รู้จักอาสาสมัครช่วยเหลือสังคม ซ่ึงถือว่าเป็น กิจกรรมของความเป็นพลเมอื งดี 5. ส่งเสริมการพัฒนาอารมณ์สุข กิจกรรมนันทนาการจะช่วยพัฒนาอารมณ์สุข สนุกสนาน และความสุข สงบ ลดความเครียด ความวิตกกงั วล ทาให้อารมณ์แจ่มใส และช่วยสง่ เสริมใหร้ ูจ้ กั การพัฒนาการควบคมุ อารมณ์ และ บุคลกิ ภาพท่ีดอี กี ด้วย 6. ส่งเสริมศิลปวฒั นธรรมของชาติ เช่น การเล่นพ้นื เมอื ง วิถชี วี ติ ประเพณีพนื้ บ้าน ตลอดจนแหล่ง นนั ทนาการประเภทอุทยานประวตั ิศาสตร์ โบราณสถานและโบราณวัตถุ ชว่ ยสง่ เสริมศิลปวัฒนธรรม และ เอกลักษณ์ของชาติตอ่ ไป 7. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมนันทนาการกลางแจ้งและนอกเมือง ได้แก่ กิจกรรมอยู่ค่ายพักแรม เดินป่า ศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ช่วยสอนผู้ท่ีเข้าร่วมได้รู้จักคุณค่า ของธรรมชาติ ซาบซึง้ และสามารถดูแลอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ อนั จกั เปน็ ประโยชน์ต่อชมุ ชน และประชาชาติโลก 8. ส่งเสรมิ ในเร่อื งการบาบัดรักษา กิจกรรนันทนาการเพอื่ การบาบดั เปน็ กรรมวิธีและกิจกรรมท่จี ะช่วย รักษาคนป่วย ทั้งทางด้านร่างกายและสุขภาพจิต เช่น งานอดิเรกประเภทประดิษฐ์ สร้างสรรค์ และช่วยส่งเสริม ความคิด และการใช้ว่างแกผ่ ้ปู ว่ ย 9. ส่งเสริมมนษุ ย์สัมพันธ์และการทางานเปน็ ทีม กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์ช่วยให้บคุ คลได้แสดงออกและ ละลายพฤติกรรมของกลุ่ม สร้างเสริมคุณค่าทางสังคม ฝึกการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กิจกรรมเกมกีฬา และการอยู่คา่ ยพักแรมชว่ ยฝกึ การทางานเปน็ หมู่คณะ เสรมิ สร้างความสามคั คี และความเข้าใจอันดใี นหมคู่ ณะ 10. ส่งเสริมและบารงุ ขวญั ทหารและตารวจ ปฏิบัตหิ น้าท่ีตามชายแดน กิจกรรมนนั ทนาการที่จัดข้ึนเพ่ือ ส่งเสริมขวัญกาลังใจของทหาร ตารวจชายแดน เปน็ สงิ่ จาเป็นและสาคัญย่ิงในการตอบแทนให้กาลงั ใจในเวลาว่าง 11. ส่งเสริมและบารุงขวัญบุคลากรในหน่วยงาน การจัดกิจกรรมนันทนาการขึ้นในหน่วยงานต่าง ๆ ย่อมส่งผลดีต่อบุคลากรในหน่วยงานน้ัน ๆ ให้เกิดความรัก ความสามัคคี มีขวัญและกาลังใจต่อการปฏิบัติ หน้าทก่ี ารงานต่อไป ถอื ว่าสิ่งจาเป็นและมีความสาคัญอย่างย่งิ ทไี่ มค่ วรละเลย 3
ประเภทของกจิ กรรมนันทนาการ เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวชิ ัย (2551 : 25-28) ได้กล่าววา่ นันทนาการเน้นการมสี ว่ นร่วมต้องปฏิบตั ิ ซึ่งจะ ทาให้บรรลุเป้าหมายตามวตั ถุประสงค์ของนนั ทนาการ กิจกรรมจึงเปน็ ส่ิงสาคัญย่ิงท่ีจะนามาใช้ปฏบิ ตั ิตามลกั ษณะ ของกิจกรรมนันทนาการ แบ่งออกเป็น 16 ประเภท รายละเอียดดังน้ี 1. กิจกรรมเกม กีฬา และการละเล่น เป็นกิจกรรมการออกกาลังกายส่งเสริมสุขภาพและเพ่ือความ สนุกสนานเพลิดเพลิน มีลักษณะเป็นกิจกรรมท่ีท้าทายความสามารถผู้เล่น ซ่ึงใช้ร่างกายเป็นส่ือแสดงออกใน การเข้ารว่ มกจิ กรรม และจะส่งผลตอ่ การพัฒนาการรา่ งกาย จติ ใจ 2. กิจกรรมศลิ ปะ หัตถกรรม และงานฝีมือ เป็นกิจกรรมที่มีคณุ ค่ามาก ให้ความสุขใจ เกิดสุนทรีย์ แก่ผู้ปฏิบัติและผู้มีส่วนร่วม ได้ผลงานที่เป็นรูปธรรมในสิ่งท่ีประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ขึ้นมา ทาให้เกิดความ ภูมิใจ อีกทั้งมีประโยชน์ในการฝึกสภาพจิตใจบุคคลในด้านต่าง ๆ ได้ดีกิจกรรมหนึ่ง ศิลปะถือเป็นมรดกของ มวลมนษุ ย์ สะท้อนถึงแนวทางวิถีของมนษุ ย์ 3. กิจกรรมการร้องเพลงและดนตรี เป็นกิจกรรมบันเทิงใจที่สามารถร่วมกิจกรรมได้ง่ายและสะดวก สามารถเป็นได้ท้ังผู้ปฏิบัติหรือผู้ชมซึ่งต่างก็มีความสุข เป็นกิจกรรมที่จัดง่าย ๆ ได้จนถึงขั้นที่มีความยิ่งใหญ่ ซง่ึ กจิ กรรม 4. กิจกรรมเข้าจังหวะและการเต้นรา เป็นกิจกรรมเคล่ือนไหวประกอบจังหวะ ดนตรี เสียงเพลง หรือเสียงที่กาหนดข้นึ 5. กิจกรรมด้านภาษาและวรรณกรรม ภาษาแสดงถึงความเป็นชาติ กิจกรรมด้านภาษาและ วรรณกรรมจึงเป็นกิจกรรมทส่ี ะทอ้ นถงึ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแตล่ ะชาติ ภาษาเป็นส่ิงบ่งบอกความ เป็นเอกราช มีอารยธรรม ลักษณะกิจกรรมจึงเป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมปัญญาความคิด ให้ความรู้สึกสุนทรีย์ทาง อารมณ์ เปน็ เอกลกั ษณ์ โดยเฉพาะของไทยมีกิจกรรมด้านวรรณกรรมอ่านเขียนมาช้านาน 6. กิจกรรมการแสดงและการละคร เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่มีความเป็นมาตามอารยธรรมของมนุษย์ ท้ังในอดีตและปัจจุบัน แสดงออกซึ่งยุคสมัยของการใช้ชีวิตของกลุ่มคน หรือความเป็นอยู่ขณะน้ัน ลักษณะ กิจกรรมการแสดง ได้แก่ ภาพยนตร์ ละคร รวมถึงการแสดงการเล่นต่าง ๆ ที่นามาแสดงให้ชม เช่น มายากล การแสดงนานาชาติ เป็นตน้ 7. กิจกรรมงานอดิเรก เป็นกิจกรรมของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีใช้เวลาว่างทากิจกรรมเพื่อผ่อนคลาย เพลิดเพลนิ ซ่ึงสง่ ผลต่อคุณคา่ ทางจิตใจของผู้กระทา อีกท้งั ยงั สง่ ผลพลอยไดเ้ ป็นช้ินงานหรือเป็นรปู ธรรมด้วย ลักษณะของงานอดิเรกขึ้นอยู่กับความสนใจของแต่ละบุคคล เช่น งานฝีมือ งานประดิษฐ์ การปลูกต้นไม้ ทา สวน เล้ยี งสัตว์ อ่านหนงั สือ ฟงั เพลง เลน่ ดนตรี การสะสม ฯลฯ 8. กิจกรรมทางสังคม เปน็ กิจกรรมท่ีทาร่วมกับผู้อื่นท้ังบุคคลในครอบครัวและบุคคลนอกครอบครัว เป็นสังสรรค์กิจกรรมตามประเพณี หรือกิจกรรมของชุมชน โดยมักจะร่วมกับพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น งานบวช งานแตง่ งาน งานคล้ายวันเกิด งานเลย้ี งในโอกาสต่าง ๆ 9. กิจกรรมกลางแจ้ง หรือนอกสถานที่หรือนอกเมือง เป็นกิจกรรมที่แสดงออกซึ่งความต้องการของ มนุษย์ที่ต้องการอิสระ ท้าทาย ค้นหาสิ่งแปลกใหม่ และเข้าหาธรรมชาติ ลักษณะกิจกรรมกลางแจ้ง ได้แก่ กิจกรรมค่าย การทอ่ งเทีย่ ว กจิ กรรมผจญภยั กีฬากลางแจง้ 10. กิจกรรมพิเศษ เป็นกิจกรรมที่จัดข้ึนแล้วแต่กรณีเพ่ือให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือจัด ขนึ้ ในโอกาสต่าง ๆ เชน่ กิจกรรมวนั สาคัญต่าง ๆ การจัดกิจกรรมขึ้นโดยเฉพาะเพื่อจดุ มงุ่ หมายหนึ่ง เพื่อให้ทุก คนมีส่วนรว่ มสามารถจัดได้ท้งั เป็นกจิ กรรมรายบคุ คล กจิ กรรมของหนว่ ยงาน กจิ กรรมของชาติ 4
11. กิจกรรมอาสาสมัครและบริการ เป็นกิจกรรมท่ีทาเพ่ือบาเพ็ญประโยชน์ การบริการสาธารณะ เป็นความพึงพอใจ สมัครใจของผู้ปฏิบัติในการช่วยเหลือชุมชนหรือประเทศชาติ ส่งผลต่อความสุขใจที่ได้ กระทา ช่วยใหส้ ภาพสงั คมดี มีน้าใจ เอ้อื เฟ้อื เผอ่ื แผ่ กิจกรรมอาสาสมคั ร ได้แก่ กิจกรรมพฒั นาสถานที่ พัฒนา ชมุ ชน อาสาบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจนกจิ กรรม 12. กิจกรรมท่องเท่ียวทัศนศึกษา เป็นกิจกรรมกิจกรรมกลางแจ้งกลางแจ้งกิจกรรมหน่ึงซึ่งเป็นการ เดนิ ทางไปสถานที่ใหม่ชว่ั คราวเพื่อความเพลิดเพลนิ สุขใจ และได้พบสิ่งใหมช่ ่วยให้มีโลกทศั นก์ ว้างไกล 13. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์เพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลกับบุคคล เป็นกิจกรรมท่ีมีคุณค่าในด้านมนุษยสัมพันธ์ รู้จักการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยมาก มักจะสอดแทรกเป้าหมายอื่น ๆ ท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผู้ร่วมกิจกรรม เช่น วิธีการางานรว่ มกัน การพัฒนาบุคคล และองค์กร เปน็ ต้น 14. กิจกรรมเพ่ือความสงบสุขและพัฒนาจิตใจ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้บุคคลมีความสุขทางใจเป็น สาคัญ เป็นกิจกรรมพัฒนาจิตใจผู้ร่วมกิจกรรมซึ่งในสถานการณ์ปัจจุบันการใช้ชีวิตของบุคคลมีความวุ่นวาย สังคมสับสน ผู้คนเอารัดเอาเปรียบ ขาดความเอื้ออาทร กิจกรรมเพ่ือความสงบสุขและพัฒนาจิตใจจะช่วยให้ รู้จักการดารงชีวิตอยา่ งเป็นสขุ เช่น การปฏบิ ัตสิ มาธิ การเข้าวดั ฟังธรรม 15. กิจกรรมพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้บุคคลมีสุขภาพท่ีดีในรูปแบบ ของการออกกาลงั กาย กจิ กรรมกฬี า โดยใช้อปุ กรณแ์ ละใช้อุปกรณ์ 16. กิจกรรมบันเทงิ และสนทนา เปน็ กิจกรรมท่ีมมี าด้ังเดิมของมนุษยเ์ พ่อื การสื่อสาร ซึง่ การสนทนา ท่ีเกิดความสุขสนุกเพลิดเพลินได้สาระ จึงนับเป็นนันทนาการ ซ่ึงรวมถึงการเล่าเร่ืองต่าง เช่น การเล่านิทาน เลา่ เรอ่ื งขาขัน ฯลฯ 5
เอกสารอา้ งอิง เทพประสทิ ธิ์ กุลธวชั วชิ ัย. (2551). เอกสารคาสอนรายวชิ า 3906303 การเปน็ ผู้นานนั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : กลุ่มวชิ านนั ทนาการศาสตรแ์ ละการจัดการกฬี า สานกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อัดสาเนา) พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพ : นานมบี คุ๊ ส์. พลศกึ ษา, กรม. (2557). คู่มอื ผ้นู านันทนาการ. กรงุ เทพฯ : สานกั งานกจิ การโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก. พลศกึ ษา, กรม สานักนนั ทนาการ. (2552). ค่มู ือการจัดกจิ กรรมนันทนาการ “การเลน่ ของเด็ก”. กรุงเทพฯ : กลมุ่ นนั ทนาการ สานกั งานนันทนาการ กรมพลศึกษา. พลศึกษา, กรม สานกั พัฒนาการพลศึกษา สขุ ภาพ และนนั ทนาการ. (2544). เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรือ่ ง นันทนาการเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การรับส่งสนิ ค้าและพสั ดุภัณฑ.์ พฒั นาการกีฬาและนนั ทนาการ, สานกั งาน. (2550). คู่มือการจดั กจิ กรรมนันทนาการ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สมบัติ กาญจนกจิ และอุไรวรรณ ขมวัฒนา. (2541). นันทนาการขนั้ นา. กรุงเทพฯ : เอกสารคาสอน คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . Donald C Weiskopt. (1982). Recreation and Leisure : Improving the Quality of Life, 2d ed. Boston : Allyn and Bacon. 6
หน่วยที่ 2 ความร้เู กย่ี วกบั ผนู้ านันทนาการ ความหมายของผนู้ านนั ทนาการ ผู้นานันทนาการ (Recreation Leader) หมายถึง บุคคลท่ีทาหน้าที่จัดการบริการแนะนา ช่วยเหลือ ให้บุคคลหรือหมู่คณะไดเ้ ลือกกิจกรรมนันทนาการที่จะเข้าร่วมตามต้องการตามความสนใจของแตล่ ะบุคคลให้ เขาได้รบั ความพอใจ ความสุขเพลิดเพลนิ จากกจิ กรรมนันทนาการนน้ั ส่วนศิลปะการเป็นผู้นาทางนันทนาการ หมายถึง วิธีการต่าง ๆ ที่ผู้นานันทนาการจะนาไปใช้เพ่ือให้ ผู้เข้าร่วมได้รับประสบการณ์มีความพึงพอใจ มีทัศนคติและมีความสนใจในกิจกรรมนันทนาการ (สานักงาน พัฒนาการกีฬาและนนั ทนาการ, 2547 : 4) ความสาคญั ของผนู้ านันทนาการ ผู้นานันทนาการนอกจากมีหน้าที่นันทนาการแล้วจะต้องมีหน้าท่ีให้การระวังรักษาความปลอดภัยแก่ ผู้เข้าร่วม และต้องเป็นผู้จัดการวางโครงการเป็นผู้สอนให้เจ้าหน้าที่วิทยากรและนิเทศในด้านนันทนาการ จึงกล่าวได้ว่าผู้นาเปรียบเป็นหัวใจของนันทนาการ ฉะน้ันผู้นานันทนาการจึงต้องเรียนรู้วิธีการศิลปะต่าง ๆ ของการเปน็ ผู้นานนั ทนาการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบคุ คลทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมนันทนาการ จุดมุ่งหมายของการเปน็ ผนู้ านันทนาการ จุดมุ่งหมายของการเป็นผู้นานันทนาการ คือ การให้คาแนะนา ให้บริการ ดูแล และทาให้กิจกรรม นันทนาการในยามวา่ งเป็นทนี่ า่ สนใจแก่ผ้รู ่วมกิจกรรม แตต่ อ้ งไมใ่ ชว้ ธิ ีการบังคับ หลกั ของผ้นู านันทนาการ ผ้นู านนั ทนาการจะตอ้ งดาเนนิ การนันทนาการให้ประสบความสาเรจ็ โดยยึดหลักการสาคัญ ดังนี้ 1. ผู้นานันทนาการจะต้องเห็นความสาคัญของนันทนาการว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นของชีวิตอย่างหน่ึง ที่จะ ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความสุข ดังนั้นจะต้องเข้าใจถึงวิธีการเลือกกิจกรรมนันทนาการเพื่อช่วยในการ พฒั นาคุณภาพชีวติ ใหก้ ับผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม 2. ผู้นานันทนาการจะต้องเข้าใจและยอมรับในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลของสมาชิกในกลุ่ม และตอ้ งหาวธิ กี ารดาเนินงานเพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับความจาเป็นตามสภาพดังกล่าว 3. ผู้นานันทนาการจะต้องเข้าใจถึงเร่ืองราวของการเล่นและการพักผ่อน ตลอดจนเห็นคุณค่าของทั้ง สองอยา่ งนเ้ี พ่ือจะช่วยให้การจดั ดาเนนิ งานได้ตอบสนองส่ิงเหลา่ นี้ไดถ้ ูกต้อง 7
4. ผู้นานันทนาการจะต้องคอยติดตามการดาเนินงานตามโครงการอย่างใกล้ชิดโดยตลอด เพ่ือให้ ทราบถึงกระบวนการต่าง ๆ ว่ามีผลอย่างไรต่อสมาชิก เพ่ือจะได้ปรับปรุงแก้ไขต่อไป นอกจากน้ียังจะช่วยให้ ทราบว่า การดาเนินงานน้นั เป็นไปตามเปา้ หมายมากน้อยเพยี งใด 5. ผู้นานันทนาการจะต้องดาเนินงานโดยใช้เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณ์ และทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เต็ม ประสทิ ธภิ าพมากท่สี ดุ 6. ผู้นานันทนาการจะต้องพยายามหาวิธีการดาเนินงานโดยลดการแข่งขันซ่ึงกันและกัน ควรเน้นให้ สมาชกิ ไดท้ างานรว่ มกนั มากกว่าการแกง่ แย่งชงิ ดี 7. ผู้นานันทนาการจะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นกรณีพิเศษ ถ้าหากว่าการดาเนินงานกิจกรรมนั้น เป็นการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมของสังคมท่ีเห็นว่าไม่สมควร ผู้นาจะต้องรู้วิธีประยุกต์กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ เกดิ การเปล่ยี นแปลงดงั กลา่ ว 8. ผู้นานันทนาการควรต้องศึกษาค้นคว้าถึงเร่ืองราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางสังคมและควรนามา ปลกู ฝังเพอื่ ให้สมาชิกได้รบั สิ่งดังกลา่ ว ซ่ึงจะสง่ ผลต่อการอยูร่ ่วมกับสงั คมต่อไป 9. ผู้นานันทนาการควรหาทางส่งเสริมให้ชุมชนชว่ ยเหลือสนบั สนุนในการจดั บรกิ ารทางนันทนาการแก่ คนท่ีมคี วามบกพร่องทางกาย และในการจัดกิจกรรมควรต้องหาทางปอ้ งกันการเกิดปัญหาท่ีอาจเกดิ ขึน้ ดว้ ย 10. ผ้นู านนั ทนาการที่ประสบความสาเรจ็ ในการจัดดาเนินงานไดน้ นั้ จะตอ้ งเปน็ ผู้ท่ีมคี วามรบั ผิดชอบ ต่อหน้าท่ี กล้าทาและทดลอง หรือค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือให้ได้รายละเอียดท่ีเป็นจริงในสังคม ซึ่งเป็น ประโยชนใ์ นการจัดทาโครงการใหบ้ รรลตุ ามความเปน็ จริงและความตอ้ งการ ประเภทของผู้นานันทนาการ กรมพลศกึ ษา (2544 : 63-64) กลา่ วถงึ ประเภทของผู้นานันทนาการไวด้ ังน้ี ผนู้ านันทนาการท่ีพบในการจัดกจิ กรรมนนั ทนาการสามารถแบ่งผูน้ านันทนาการตามลักษณะของงาน ความรับผดิ ชอบไว้ 2 ประเภท คอื 1. ผู้นานันทนาการอาชีพ ได้แก่ ผู้นาท่ีได้รับค่าตอบแทนหรือค่าจ้างในการดาเนินงานเก่ียวกับกิจกรรม นนั ทนาการ เชน่ ได้รับเงนิ ค่าสอนทักษะทางนันทนาการ เงินจากค่าบริหารงานอาจจะเปน็ ประจาเดอื น หรือชว่ั คราว 2. ผู้นานันทนาการอาสาสมัคร คอื บคุ คลที่ให้การบริการ ชว่ ยเหลือดาเนินงานทางนันทนาการดว้ ย ความสมคั รใจ ไม่มีค่าตอบแทนหรอื คา่ จา้ งแตอ่ ย่างใด นอกจากการแบ่งประเภทของผนู้ านันทนาการดังกลา่ วแลว้ ก็ยงั แบง่ ชนดิ ผนู้ านนั ทนาการตามลักษณะ งานทีป่ ฏิบัติ โดยยึดตาแหนง่ หน้าทเ่ี ป็นสาคญั ไว้ดงั น้ี 1. ผู้อานวยการ (Superientendent) ได้แก่ บุคคลท่ีเป็นหัวหน้าบริหารนันทนาการรับผิดชอบ ระหว่างโรงเรียน เช่น กลุ่มโรงเรียน เป็นต้น มีหน้าท่ีในการรับผิดชอบส่งเสริมให้การบริการนันทนาการแก่ นักเรียนและประชาชนในชุมชนตลอดจนใหค้ วามร่วมมอื จากผู้ทส่ี นใจในชมุ ชนอืน่ ๆ ด้วย 2. ผู้ช่วยผู้อานวยการนันทนาการ (Assistant Superientendent) ได้แก่ บุคคลมีตาแหน่งรองจาก ผ้อู านวยการนนั ทนาการ มหี น้าที่คอยให้ความชว่ ยเหลือในงานเช่นกับผู้อานวยการนันทนาการ นอกจากนนั้ คือ งานที่ไดร้ ับมอบหมายจากผ้อู านวยการ และรักษาการแทนเม่ือผอู้ านวยการนันทนาการไม่อยู่ 3. ฝ่ายเทคนิคท่ัวไป (General Supervisors) ได้แก่ คณะกรรมการบริหารรับผิดชอบในการบริการ นันทนาการทั้งหลายในพ้ืนท่ีโรงเรียนหรือเขตชุมชนท้องถิ่น มีหน้าท่ีให้คาแนะนาเรื่องโครงการกิจกรรม เครื่อง อานวยความสะดวก สถานที่ อุปกรณ์นันทนาการในหน่วยงานหรือองค์กรน้ัน ๆ เช่น นันทนาการนิเทศใน โรงเรยี น นเิ ทศประจาศนู ยเ์ ยาวชนนเิ ทศเก่ียวกบั สนามเด็กเล่น และการนิเทศเครอ่ื งอานวยความสะดวก เป็นตน้ 8
4.ฝ่ายนิเทศเฉพาะ (Special Supervisors) หมายถึง บุคคลท่ีทาหน้าท่ีรับผิดชอบเฉพาะเป็นเร่ือง ๆ ไป เช่น นิเทศทางการกีฬา นิเทศทางดนตรี นิเทศทางกิจกรรมเฉพาะสตรีนิเทศด้านศิลปหัตถกรรม เป็นต้น เป็นผูท้ ่ีมีความรู้ความสามารถพิเศษเฉพาะเรือ่ ง และให้คาแนะนารับผิดชอบโดยตรงในเร่ืองนัน้ ไป ส่วนมากจะ เป็นครทู ่สี อนในวิชานัน้ ๆ 5. ผู้อานวยการศูนย์ (Director of Centers) ได้แก่ บุคคลที่รับผิดชอบในการบริการเครื่องอานวย ความสะดวกให้กับคณะผทู้ างาน (Staff) และโครงการของศูนยน์ ันทนาการศูนย์ใดศูนยห์ น่ึง เช่น ผู้อานวยการ ตกึ นันทนาการคา่ ยพักแรม ผ้อู านวยการนันทนาการในรม่ ผูอ้ านวยการศูนยเ์ ยาวชน เปน็ ตน้ 6. ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์ (Assistant Director of Centers) ได้แก่ บุคคลที่รับผิดชอบงานท่ี ผู้อานวยการศูนยม์ อบหมาย และช่วยเหลอื งานตลอดจนรักษาการเมื่อผอู้ านวยการศูนย์ไม่อยู่ 7.ผู้นากิจกรรมนันทนาการ (Recreation Activity Leaders) คือ บุคคลท่ีอยู่ใต้บังคับบัญชา ท่ีเป็นผู้ จัดกิจกรรมแก่ผู้เข้าร่วม จะเป็นบุคคลหรือทีมตามความพอใจและตั้งใจของเขา รวมทั้งของศูนย์นันทนาการ ด้วย คือ จัดบริการนันทนาการด้วยกิจกรรมต่าง ๆ แก่ทุก ๆ คนที่ต้องการและสนใจ ผู้นานันทนาการจึงเป็น บุคคลที่จะให้คาแนะนาในกิจกรรมนันทนาการ เช่น ผู้นาทางการกีฬา ผู้นาทางดนตรี ศิลปหัตถกรรมการ เต้นรา เป็นต้น 8. ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ (Specialists) ได้แก่ บุคคลท่ีทาหน้าท่ีจัดการ แนะนา หรือสอนกิจกรรมใด กจิ กรรมหนง่ึ โดยเฉพาะ เช่น ผู้เชีย่ วชาญพิเศษทางการเตน้ ราพนื้ เมือง ว่ายนา้ กฬี าประเภทตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 9. ผู้จัดการพิเศษ (Special Manager) สาหรับเคร่ืองอานวยความสะดวกนันทนาการได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญท่ีมีหน้าที่จัดโปรแกรมอานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ผู้จัดการสระว่ายน้า สนามกีฬา ท่ีพัก ชายทะเล หนา้ ท่ีของผูน้ านนั ทนาการ เทพประสทิ ธ์ิ กลุ ธวชั วิชยั ไดก้ ล่าวถงึ หนา้ ท่ขี องผ้นู านันทนาการไวด้ ังน้ี 1. ศึกษาทาความเขา้ ใจกับจุดประสงค์ของการจัดหรือทากิจกรรม 2. วางแผนตามวตั ถุประสงคว์ ่าจะใชก้ ิจกรรมใดบา้ งเพ่อื ให้เหมาะสมกับสภาพต่าง ๆ และควรดสู ถานที่ และอปุ กรณก์ ารเลน่ ใหพ้ ร้อม 3. ดาเนินการนากิจกรรมโดยเป็นผู้เร่ิมหรือผู้กาหนดให้สมาชิกคนหนึ่งคนใดเร่ิมเล่นและกระตุ้นให้ สมาชิกทกุ คนมสี ่วนรว่ มกิจกรรมอยา่ งท่ัวถงึ และเกิดความพอใจ 4. ควบคุมการดาเนินกิจกรรมตัง้ แตต่ ้นจนจบ ให้เปน็ ไปตามแผนและจุดมุ่งหมายที่กาหนด 5. ตอ้ งระวงั และปอ้ งกนั อันตรายและอุบตั เิ หตุตา่ ง ๆ ท่อี าจเกิดขึ้นในการทากิจกรรม 6. ประเมินการดาเนนิ กิจกรรมแตล่ ะกิจกรรม ผลสรุปในการประกอบกิจกรรมแต่ละครัง้ 7. พัฒนาปรบั ปรงุ ลักษณะกจิ กรรม และส่วนอนื่ ทเ่ี กย่ี วกับกิจกรรมให้ดีข้นึ 8. ในกรณที ่มี ผี ู้นามากกวา่ หน่งึ คนต้องกาหนดบทบาทหนา้ ท่ขี องทุกคนให้ทราบและปฏบิ ัติตาม 9. ถ้ามีงบประมาณต้องใช้อย่างประหยัด และจัดทาหรือรวบรวมเอกสารใบสาคัญและใบเสร็จให้ ถกู ตอ้ งชัดเจน ภารกิจและหน้าท่ีของผู้นานันทนาการนั้น จะขึ้นอยู่กับสถานะของผู้นานันทนาการในแต่ละโครงการ แต่ถ้าหากพิจารณาโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ผู้นานันทนาการจะต้องเป็นผู้ท่ีทาให้สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความ สนุกสนาน เพลิดเพลิน และประทับใจในวัฒนธรรมต่าง ๆ ของสังคม ผู้นานันทนาการควรได้รับการฝึกฝน 9
เพ่อื ให้การปฏิบัตหิ น้าที่เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและชว่ ยให้การดาเนินงานตามโครงการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ที่ วางไว้ ดงั นั้น ภารกิจและหนา้ ที่ของผู้นาจงึ มดี ังตอ่ ไปนี้ กรมพลศึกษา (2544 : 65-66) 1. สอน ผู้นานันทนาการจะต้องเป็นผู้สอนกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถอธิบายรายละเอียดของ กิจกรรมไดเ้ ป็นอย่างดี อีกท้งั จะต้องเรยี นรู้ถงึ เทคนคิ วิธีสอนกจิ กรรมต่าง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารจดั การสอนเปน็ ไปอยา่ ง ถกู วธิ แี ละมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น 2. การสร้างบรรยากาศ ในการจัดกิจกรรมให้เป็นที่น่าสนใจ ผู้นานันทนาการจะต้องรู้วิธีการสร้าง แรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมมากข้ึน เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ เหล่านี้ ผู้นานันทนาการควรจะได้ศึกษาและฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชานาญในการสร้างบรรยากาศที่ก่อให้เกิด ความสนุกสนานและน่าสนใจของสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ เทคนิคต่าง ๆ เหล่านี้ ผู้นานันทนาการจะต้อง พยายามหาความรูค้ วามสามารถที่ฝึกฝนตนเองใหม้ ีความสามารถเชน่ เดยี วกับคนอื่น ๆ ได้ไมย่ ากนัก 3. การวางแผนการดาเนินงาน ผู้นานันทนาการจะต้องเป็นท่ีรู้จักการวางแผนในการดาเนินงานตาม โครงการ คอื ควรจะรู้ถงึ การจัดลาดับหรือข้ันตอนในการดาเนินงานตามโครงการว่าควรจะเริ่มตรงไหนและไป สิ้นสุดตรงไหน ในแต่ละข้ันตอนควรจะมีรายละเอียดในการดาเนินงานอย่างไร ท้ังหมดนี้ผู้นานันทนาการควร จะต้องมีความร้คู วามสามารถในการจัดดาเนินงานดงั กล่าว 4. การให้คาปรกึ ษาแนะนา ผูน้ านนั ทนาการจะตอ้ งเขา้ ใจถึงปัญหาตา่ ง ๆ ของการดาเนนิ งานตลอดจน ปัญหาของแต่ละบุคคล ทั้งนี้ เพื่อจะได้ช่วยแนะนาผู้ร่วมงาน ตลอดจนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการท่ีเกิดปัญหา ดังกลา่ ว จะได้ช่วยกันแก้ปัญหาซึ่งเปน็ อุปสรรคที่สาคัญในการดาเนนิ โครงการให้บรรลุเป้าหมาย เม่ือเปน็ เช่นนี้ ผนู้ านันทนาการควรได้รับการฝกึ ฝนเทคนิคและการให้คาปรึกษาควบคู่กันไปด้วย เพ่ือช่วยสร้างความสามารถ ของผู้นานันทนาการและจะเป็นหนทางท่ีสร้างให้ผู้นานันทนาการเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถเป็นท่ียอมรับ ของเพอื่ นรว่ มงานและสมาชิกที่เข้ารว่ มโครงการ รวมท้ังจะสง่ ผลถึงการทางานของผนู้ านันทนาการอีกด้วย 5. การประเมินผลการดาเนินงาน จากสภาพสังคมปัจจุบันจะมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ๆ ดังน้ัน ผู้นานันทนาการควรจะต้องติดตามการเปล่ียนแปลงดังกล่าว และการดาเนินงานตามโครงการนั้น ควรจะ เปล่ียนแปลงพร้อมปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมท่ีได้เปล่ียนแปลงไป และทาให้โครงการเป็น โครงการทนั สมยั อย่เู สมอ อกี ทัง้ เปน็ ทน่ี ่าสนใจของสมาชิกในสังคมนน้ั ๆ 10
เอกสารอ้างองิ เทพประสิทธ์ิ กุลธวชั วิชยั . (2551). เอกสารคาสอนรายวิชา 3906303 การเป็นผนู้ านันทนาการ. กรงุ เทพฯ : กลุ่มวิชานันทนาการศาสตรแ์ ละการจัดการกีฬา สานกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (อัดสาเนา) พลศึกษา, กรม. (2557). คู่มือผู้นานนั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : สานกั งานกจิ การโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะห์ ทหารผา่ นศึก. พลศกึ ษา, กรม สานักพฒั นาการพลศึกษา สขุ ภาพ และนนั ทนาการ. (2544). เอกสารประกอบการเรยี น การสอน เร่ือง นนั ทนาการเบ้อื งต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การรับสง่ สินคา้ และพสั ดภุ ณั ฑ.์ พฒั นาการกีฬาและนนั ทนาการ, สานกั งาน. (2550). คู่มือการจัดกจิ กรรมนนั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด. พัฒนาการกีฬาและนนั ทนาการ, สานกั งาน. (2547). เทคนิคการเปน็ ผู้นนั ทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับสง่ สนิ คา้ และพสั ดุภณั ฑ.์ 11
หนว่ ยที่ 3 กิจกรรมกล่มุ สัมพันธ์ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างบุคคล เพื่อการทางานเป็นทีมและ เพื่อสังเกตพฤติกรรมของบุคคลหรือกลุ่ม ตลอดจนการจัดการฝึกอบรมของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ซึ่งกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เป็นการสร้างความคุ้นเคยให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม มีความจาเป็นอย่างย่ิง สาหรับการจดั ฝึกอบรมแต่ละครั้ง เพราะเป็นการกระตนุ้ ให้ผ้เู ข้าอบรมกล้าแสดงออกและเปน็ การเตรียมความ พร้อมให้กบั ผ้เู ข้าอบรม ความหมายของกลมุ่ สมั พนั ธ์ กลุ่มสมั พันธ์ หมายถึง กิจกรรมที่ทาใหก้ ลุม่ ไดเ้ รยี นรพู้ ฤตกิ รรม ทัศนคติ การเขา้ ใจคน เรียนรู้วิธแี กไ้ ข ปัญหา พัฒนาตนเอง เกิดการยอมรับจากผู้อ่ืน โดยการใช้กระบวนการกลุ่มนามาเป็นแนวทางทาให้เกิดความ รว่ มมือท่ดี ตี อ่ การพฒั นาองค์กร วัตถุประสงค์ของการจดั กจิ กรรมกลุ่มสมั พันธ์ 1. เพอื่ เตรียมความพรอ้ มใหก้ บั ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม 2. เพ่ือสรา้ งความคุ้นเคยใหก้ ับสมาชกิ เม่ือพบกนั ครง้ั แรก 3. เพื่อใหเ้ กดิ ความสนกุ สนานและเป็นการสรา้ งบรรยากาศให้กับผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม 4. เพ่ือการสงั เกตพฤตกิ รรมกลุ่มและบุคคล 5. เพื่อฝกึ การฟัง การคดิ และการพูด 6. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรคแ์ ละกลา้ แสดงออก 7. เพอ่ื เปน็ การพฒั นางานบริหารขององค์กร ประโยชน์ของการจดั กิจกรรมกลมุ่ สัมพันธ์ 1. เพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรใู้ ห้ผู้เขา้ รบั การอบรม 2. เพื่อสร้างประสบการณก์ ารเรยี นรจู้ ากกิจกรรมทช่ี ว่ ยใหผ้ ้เู ข้ารับการอบรมรจู้ ักตวั เองดยี ่งิ ขึน้ 3. เพือ่ ให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้อยา่ งเตม็ ที่ 4. เป็นแนวทางในการพฒั นาบคุ ลากร และการรูจ้ ักแกป้ ญั หาตนเองและส่วนรวม 5. ชว่ ยใหเ้ กิดทัศนคติท่ดี ีต่อกัน มคี วามเข้าใจ ลดการขดั แยง้ 6. ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหก้ ารทางานรวมพลงั เป็นทมี ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 7. ชว่ ยสง่ เสริมในการพัฒนาการดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และผ่อนคลายความตรึงเครียด 12
องค์ประกอบที่มผี ลตอ่ ความสมั พันธ์ของกลุม่ 1. การส่ือสาร (Communication) เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ส่งผลให้เกิดความเข้าใจและรับส่ง ข่าวสารตา่ ง ๆ ให้กนั 2. ความไว้เน้ือเช่อื ใจ (Trust) ความไวเ้ น้ือเชื่อใจของสมาชิกในกลุ่มจะชว่ ยให้กลุ่มมีประสิทธิภาพมาก ขนึ้ เมื่อสมาชกิ มคี วามไวว้ างใจกันการปฏิสมั พันธภ์ ายในกลมุ่ จะเปน็ ไปอยา่ งทัว่ ถงึ และเปดิ เผย 3. ขนาดของกลุ่ม (Group Size) ขนาดกลุ่มมีความสาคัญต่อการปฏิสัมพันธข์ องสมาชิก กลุ่มที่ใหญ่ ขน้ึ โอกาสต่าง ๆของสมาชิกจะลดลง สาหรับขนาดกลุม่ ที่พอเหมาะนน้ั นา่ จะอยู่ในระดับ 9-15 คน 4. ผูน้ ากลุม่ (Leader) ผู้นาจะมผี ลกระทบโดยตรงต่อความเป็นไปของกลุ่มอย่างมาก 5. อายุและเพศ (Age & Sex) เป็นตัวแปรที่มีผลต่อกลุ่มมาก อายุท่ีแตกต่างการแสดงออกย่อม แตกต่างกันออกไป สาหรับเพศนั้นมีอทิ ธิพลต่อกลมุ่ ความแตกต่างระหว่างหญงิ และชายน้นั มมี ากมายทั้งทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การเล้ียงดู ความสนใจ ผลของความแตกต่างระหว่างเพศและอายุในกลุ่ม ก็จะส่งผลกระทบกับความเปน็ ไปต่อการปฏิสัมพันธ์ของกลุ่ม การตดั สนิ ใจของกลมุ่ และอ่นื ๆ 6. ระดับสตปิ ญั ญา (Intelligence) สตปิ ัญญาเป็นส่ิงท่ีมผี ลกระทบตอ่ กระบวนการกลุม่ 7. สถานภาพและตาแหน่ง (Status & Position) สถานภาพและตาแหน่งของสมาชิกในกลุ่ม ทั้ง สถานภาพภายนอกที่ติดมาหรือด้านตาแหน่งภายในกลุ่มเองจะส่งผลและอิทธิพลต่อกลุ่มทั้งด้านความคิดเห็น การตัดสนิ ใจ หรอื การโน้มน้าวชกั ชวนกลุม่ 8. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences) ความแตกต่างระหว่างบุคคลนั้น เป็น องค์ประกอบสาคัญอีกประการหนึ่งที่ส่งผลกระทบไปถึงกลุ่ม คนเรานั้นแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน เช่น ทางกาย ทางอารมณ์ ทางสติปัญญา สังคม โดยลกั ษณะของความแตกต่างกนั ทาใหเ้ กดิ ปมเด่น ปมด้อย ความ แตกต่างในลักษณะและความสามารถ เป็นต้น 9. บรรทัดฐานทางสังคมและค่านิยมทางสังคม (Social Norms and Social Value) บรรทดั ฐานทางสังคม เป็นสว่ นหนึ่งของวัฒนธรรม ข้อบังคับ หรอื มาตรฐานในการประพฤติปฏิบัติ ของคนในสงั คมนัน้ ๆ เป็นพฤติกรรมท่ีคาดว่าทกุ คนต้องทา ค่านยิ มทางสงั คม เป็นการยอมรบั นับถือและพร้อมท่จี ะปฏิบัติตามคุณค่าที่คนหรือกลุ่มคนมีต่อสิ่ง ตา่ ง ๆซ่งึ อาจเป็นมนษุ ย์ วตั ถุ สิ่งมีชีวติ อน่ื ๆ รวมทัง้ ด้านเศรษฐกจิ สาหรบั กลุม่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สมาชกิ ใน กลมุ่ จะ 13
ตัวอย่างการจัดกจิ กรรมกล่มุ สัมพันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้ผู้ปฏิบตั กิ ิจกรรมมองเห็นคณุ ค่าของตนเองและมองเหน็ คณุ ค่าของผู้อืน่ 2. เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมยอมรับข้อดีของผู้อื่นและรู้จักยอมรับข้อบกพร่องของตนเองแล้วพยายาม ปรบั ปรุงแก้ไขตนเอง 3.เพื่อฝึกให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมรู้จักการทางานร่วมกัน การเป็นผู้นาผู้ตามที่ดีเพื่อให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรม สามารถนาข้อคิดท่ีไดร้ บั ไปปฏบิ ัตใิ ช้ในชวี ิตประจาวันได้ 5.เพื่อให้ผู้ปฏบิ ัติกิจกรรมรู้จกั ปรบั ตัวและอยูใ่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข กจิ กรรมค่าของงานค่าของคน วัตถปุ ระสงค์ เพื่อใหผ้ ู้เขา้ ร่วมกิจกรรมเห็นความสาคญั ของผู้อนื่ และคานงึ ถงึ ว่าคนทุกคนเกิดมามีค่าเท่าเทยี มกนั อุปกรณ์ 1. กระดาษแข็งตดั เปน็ รูปหวั ใจเทา่ จานวนผ้รู ่วมกิจกรรม โดยใช้กระดาษสี 5 สี 2. กาหนดค่าของกระดาษสีรูปหัวใจเป็นค่าของเงิน ตัวอย่างเช่น สีเขียว 1 บาทสีแดง 10 บาท สี เหลือง 20 บาท สีฟ้า 30 บาท สีชมพู 40 บาท โดยให้จานวนรูปหัวใจที่มีค่า1 บาท มีจานวนมากกว่าสีอื่น เลก็ นอ้ ย ขนั้ ตอนการดาเนินกิจกรรม 1. แจกกระดาษรูปหวั ใจผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมคนละ 1 ดวง (ไมร่ ะบสุ ีแลว้ แต่ดวง) 2. บอกค่าของกระดาษสีให้ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมรบั ทราบ 3. ให้ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมยืนเป็นวงกลม 2 วง ใหเ้ ดินสวนกันตามจังหวะเพลง เมือ่ ผนู้ ากิจกรรมสั่งใหจ้ ับ กลุ่มจานวนกีค่ น ใหผ้ ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมปฏบิ ตั ติ ามคาสง่ั แลว้ ให้รวมเงินตามคา่ ของกระดาษสีรปู หวั ใจ 5. กลุ่มไหนได้ค่าของเงินน้อยท่ีสุดจะต้องถูกลงโทษ ผู้นากิจกรรมออกคาส่ังเปลี่ยนจานวนการจับไป เร่ือย ๆ (ตั้งข้อสังเกตได้วา่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีรูปหัวใจท่ีมีค่า 1 บาท จะเป็นทีร่ ังเกียจของผู้อื่นเน่ืองจากมี ค่านอ้ ย) 6. ในคร้งั สุดท้ายของการสัง่ ให้ส่ังว่ารวมจานวนเท่าไรก็ได้ โดยให้จานวนเงินเป็นตัวเลขลงท้ายด้วย 1 บาท เชน่ 111, 121, 131, 141 ฯลฯ 7. ผู้นากิจกรรมสรุปสถานการณ์นี้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นความสาคัญของหัวใจสีต่าง ๆ ท่ีมีค่ามาก น้อยว่าเป็นส่ิงสาคัญเท่ากันเปรียบกับชวี ิตของคนทุกคน ซึ่งเกดิ มาบนโลกใบนี้ทกุ คนมีคา่ เสมอ ไม่ว่าคุณจะเป็น ใครหรืออยูท่ ีไ่ หน 14
กิจกรรมประสานงานประสานใจ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ฝกึ ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเหน็ ความสาคัญของการทางานรว่ มกนั 2. เพอื่ ฝกึ ใหผ้ ูป้ ฏิบตั ิกจิ กรรมรจู้ กั ปรบั ตวั และยอมรับความคิดเห็นของผู้อืน่ อุปกรณ์ ไมม่ ี ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 1. แบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่ม ๆ ละประมาณ 6-8 คน นั่งหันหน้าเข้าในวงกลม โดยให้หัวเข่าทั้ง สองชนกนั กับเพือ่ น 2. สมมตุ ิให้ 1 วงกลม หมายถึง 1 ครอบครัว แล้วใหแ้ ต่ละครอบครวั ฝึกการทางาน คือให้ปรบมอื โดย มีติกาว่าต้องสัมผัสมือกับตัวเอง และสัมผัสมือกันภายในวงกลมตามจังหวะของเพลง ผู้นากิจกรรมสรุปการ ทางานของแตล่ ะครอบครัว 3. ให้สมาชิกกลุ่มย้ายออกไปอยู่กลุ่มอื่น คร้ังแรกให้ไป 3 คน แล้วฝึกปรบมอื แต่ไม่ให้ใช้แบบเดมิ ผู้นา กิจกรรมสรุปการทางาน เมื่อมีสมาชิกใหม่การเริ่มทางานจะไม่ราบรื่นแต่ถ้ามีผู้ประสานงานท่ีดีกลุ่มก็จะ ปฏบิ ตั งิ านประสบความสาเร็จ 4. ให้สมาชิกย้ายกลุ่มเพ่ิมขึ้นจาก 3 คน อาจจะเป็นจานวน 5 คน หรือจานวนครึ่งหน่ึง แล้วฝึกการ ปรบมือแบบใหม่ ผู้นากิจกรรมสรปุ กิจกรรม 5. ให้สมาชิกย้ายกลุ่มใหม่ทั้งหมดโดยไม่ให้นั่งท่ีเดิม และเม่ือไปถึงท่ีใหม่ให้นั่งหันหลังเข้าวงกลม แล้ว ฝึกการปรบมือโดยน่ังหันหลัง ผู้นากิจกรรมสรุปการทางาน การปฏิบัติงานใด ๆ ก็แล้วแต่ ถ้าไม่ได้พูดคุย ปรึกษาหารือกนั หนั หลงั ใหก้ ัน งานจะประสบผลสาเร็จยาก กจิ กรรมผเู้ สยี สละ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือต้องการช้ีให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมเห็นความสาคัญถึงวิธีการแก้ปัญหาว่าการแก้ปัญหาได้สาเร็จต้อง อาศัยความสามัคคี 2. เพือ่ ตอ้ งการใหผ้ ้ปู ฏิบัตกิ จิ กรรมเห็นความสาคญั ของการเสียสละ อุปกรณ์ ไมม่ ี ขน้ั ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม 1. แบ่งผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละประมาณ 8-10 คน 2. ใหผ้ ู้เข้ารว่ มกจิ กรรมหันหน้าเขา้ ในวงกลม แล้วเอามือขวาของแต่ละคนไปจับมอื ซา้ ยของสมาชิกใน กล่มุ (จบั มือแบบไขว้มอื ขวาทบั มือซ้าย) 3. ผู้นากิจกรรมส่ังให้ทุกกลุ่มช่วยกันคิดแก้ปัญหาด้วยวิธีใดก็ได้ ให้หันหน้าเข้าในวงกลม แต่มือท่ีจับ ไขว้กันจะต้องเปล่ียนมาเป็นแบบจับมือธรรมดา คือ มือขวาของตัวเองจับมือซ้ายเพ่ือนท่ีอยู่ทางขวา และมือ ซ้ายของตัวเองจับมือขวาเพื่อนท่ีอยู่ทางซ้าย ซึ่งระหว่างที่ทากิจกรรมสมาชิกบางคนมือบิดไขว้กันอยู่จะต้อง กลับตัวเอง หรือไม่ก็ต้องมีผู้เสียสละนอนลอดมือคนอ่ืนหรือก้าวข้ามแขนเหมือนข้ามเชือกวงกลมจึงจะคลาย เป็นปกติ ขณะท่ที ากจิ กรรมห้ามให้มือหลุดจากกนั โดยเด็ดขาด 4. ผู้นากิจกรรมสรุปในการคิดแก้ปญั หาใด ๆ น้ันจะตอ้ งร่วมมือกัน จะคิดแกป้ ัญหาคนเดียวไม่ได้ และ เมอื่ ถงึ ขั้นลงมือปฏบิ ตั ิส่ิงสาคญั งานจะสาเรจ็ ได้จะตอ้ งมีผู้ที่รจู้ กั เสยี สละประโยชน์สุขส่วนตนบ้าง 15
เกมอะไรเอ่ย วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ้ปู ฏิบตั ิกิจกรรมเกดิ ความสนุกสนานรว่ มกนั 2. เพ่ือสร้างความค้นุ เคยในหมูส่ มาชกิ ผูป้ ฏบิ ตั ิกจิ กรรม 3. เพอื่ เป็นการละลายพฤตกิ รรมของผปู้ ฏิบตั ิกิจกรรม จานวนผ้รู ่วมกจิ กรรม ไม่จากดั จานวน แต่ตอ้ งจดั เปน็ กลุ่ม ๆ ละประมาณ 10-15 คน อปุ กรณ์ ไม่มี ข้นั ตอนการดาเนินกิจกรรม 1. ผู้นากิจกรรมให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาถามปริศนาคาทาย โดยขึ้นต้นว่า\"อะไรเอ่ย\" เสร็จแล้วให้ กลมุ่ อ่ืนเปน็ ผตู้ อบ เปลยี่ นหมนุ เวยี นกันไปเรือ่ ย ๆ ประมาณ 2-3 รอบ 2. ผู้นากจิ กรรมสรุปตามวตั ถุประสงค์ หมายเหตุ 1. ถา้ กล่มุ ใดตอบถกู กลมุ่ ทเ่ี ป็นผู้ถามจะตอ้ งเสียสมาชกิ ใหก้ ลมุ่ ท่ีตอบถูกคาถามละ 1 คน 2. ถา้ กลุ่มใดตอบผดิ กต็ รงกนั ขา้ ม กล่มุ ท่ีตอบผิดจะต้องเสียสมาชกิ ให้กลุ่มที่เปน็ ฝ่ายถาม 1 คนเช่นกัน เกมรวมกันเราอยู่ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหผ้ ู้ปฏิบัตกิ ิจกรรมเกดิ ความสนุกสนานร่วมกัน 2. เพือ่ สรา้ งความคุ้นเคยในหมสู่ มาชิกผู้ปฏิบัติกิจกรรม 3. เพอ่ื ฝึกการทางานร่วมกนั เปน็ หมูค่ ณะให้แกผ่ ้ปู ฏิบตั ิกจิ กรรม จานวนผรู้ ่วมกจิ กรรม แบง่ ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 10-20 คน สถานที่ หอ้ งประชมุ /สนาม อุปกรณ์ กระดาษหนงั สือพิมพ์กลุ่มละ 1 แผ่น ระยะเวลาท่ใี ช้ ประมาณ 5-10 นาที ขน้ั ตอนการดาเนินกิจกรรม 1. ใหส้ มาชิกนง่ั รวมกันเปน็ กลุม่ โดยมกี ระดาษหนงั สอื พิมพ์วางอยตู่ รงกลาง 2. ผู้นากจิ กรรมสัง่ ให้สมาชกิ ทุกคนเข้าไปยืนบนกระดาษหนงั สือพิมพ์แผ่นน้ันให้ไดภ้ ายในเวลา 30 วินาที 3.ผู้นากิจกรรมส่ังให้พับกระดาษหนังสือพมิ พ์ครึ่งหนึ่ง แล้วให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มพากันเข้าไปยืนบน กระดาษนนั้ ให้ไดภ้ ายในเวลา 1 นาที 4. ผู้นากิจกรรมส่ังให้พับกระดาษหนังสือพิมพ์อีกครึ่งหน่ึง แล้วพากันเข้าไปยืนบนกระดาดชั้นให้ได้ ทาเช่นนีไ้ ปเร่อื ย ๆ จบ สามารถหากลุ่มทชี่ นะได้ 5. ผู้นากจิ กรรมสรปุ กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ 16
เกมไม้จม้ิ ฟนั วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหผ้ ูป้ ฏบิ ัติกจิ กรรมเกดิ ความสนกุ สนานรว่ มกนั 2. เพ่ือสรา้ งความค้นุ เคยในหม่คู ณะสมาชกิ ผูป้ ฏิบัตกิ จิ กรรม 3. เพอ่ื ฝึกทักษะในการแสดงความคดิ เหน็ และเกิดการยอมรบั รว่ มกัน จานวนผรู้ ่วมกิจกรรม แบ่งผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมเป็นกลุ่ม ๆ ละ 7-10 คน สถานท่ี ห้องประชุม/สนาม อุปกรณ์ กระดาษ, ดนิ สอ ระยะเวลาที่ใช้ ประมาณ 5-10 นาที ขนั้ ตอนการดาเนินกจิ กรรม 1. ให้สมาชกิ แต่ละกลุ่มเขียนประโยชน์ของไมจ้ ม้ิ ฟันลงในกระดาษให้มากทสี่ ดุ ภายในเวลา 1 นาที โดย ให้เขยี นคาละ 1 พยางค์เทา่ กนั เช่น แคะ, จิ้ม เปน็ ต้น 2. ผู้นากิจกรรมให้ตัวแทนกลุ่มออกมาเสนอประโยชน์ของไม้จ้ิมฟัน และกลุ่มใดได้มากกว่าที่สุดเป็น กลุ่มที่ชนะ 3. ผนู้ ากิจกรรมสรปุ ตามวัตถุประสงค์ เกมสร้างโลกใหม่ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ฝึกระดมสมองในการแก้ไขปัญหาและใชเ้ หตุผล 2. เพือ่ สรา้ งความคนุ้ เคยในหม่สู มาชิกผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรม 3. เพื่อฝกึ ทกั ษะในการทางานเป็นทมี ให้กบั ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม จานวนผู้ร่วมกิจกรรม แบ่งผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 7-10 คน สถานที่ หอ้ งประชมุ /สนาม อุปกรณ์ ไมม่ ี ระยะเวลาท่ีใช้ ประมาณ 20-30 นาที ขน้ั ตอนการดาเนินกจิ กรรม 1. ผนู้ ากิจกรรมให้สมาชกิ นงั่ เปน็ วงกลมในกลุ่มของตน 2. ผู้นากิจกรรมให้แต่ละกลุ่มช่วยกันแก้ปัญหาที่ผู้นากิจกรรมให้ภายในเวลา 5 นาที ปัญหาโจทย์ ค.ศ. 2005 ถึงคราวโลกจะแตก มีมนุษย์รอดตายเพียง 5 คน คือ แพทย์ พระ นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และ นางสาวไทย แต่มียานอวกาศอย่เู พยี งลาเดยี วบรรจุไดเ้ พยี ง 3 คน จะเดนิ ทางไปดาวดวงอน่ื เพอ่ื สร้างโลกใหม่ คาสง่ั ใหแ้ ต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั คดิ ว่าจะเอาใครไปบา้ ง เพียง 3 คนเท่าน้ัน 3. ผ้นู ากจิ กรรมให้แต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอ 4. ผู้นากิจกรรมสรปุ ตามวัตถปุ ระสงค์ 17
เอกสารอ้างอิง ปัญญา สมบตั ินิมิตร. (2552). การใชเ้ กมในการฝกึ อบรม. ปทมุ ธานี : สถาบันพลศึกษา วิทยาเขตกรงุ เทพฯ. พลศกึ ษา, กรม. (2557). คู่มือผนู้ านันทนาการ. กรงุ เทพฯ : สานักงานกจิ การโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก. พลศึกษา, กรม สานกั พัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนนั ทนาการ. (2544). เอกสารประกอบการเรียน การสอน เรอ่ื ง นนั ทนาการเบือ้ งต้น. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การรับส่งสนิ ค้าและพัสดภุ ณั ฑ.์ พัฒนาการกีฬาและนนั ทนาการ, สานักงาน. (2550). คู่มือการจดั กิจกรรมนันทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . พัฒนาการกฬี าและนนั ทนาการ, สานักงาน. (2547). เทคนคิ การเป็นผ้นู นั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การรบั สง่ สนิ คา้ และพสั ดุภัณฑ.์ 18
หน่วยที่ 4 การเป็นผนู้ าเกม เกม เป็นกิจกรรมท่ีนามาใช้เพื่อสร้างความสนุกสนานร่ืนเริง เป็นกิจกรรมท่ีสามารถนามาประยุกต์ ดดั แปลงใหเ้ หมาะกับโอกาส เวลา หรอื ช่วงจังหวะท่ีอานวยใหซ้ ่ึงกิจกรรมนั้นสามารถดัดแปลงให้ผู้รว่ มกจิ กรรม ได้แสดงออก โดยมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ตลอดจนได้รับทักษะต่าง ๆ ที่สามารถ นาไปสู่การพัฒนาในดา้ นต่าง ๆ ทงั้ ด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา ความหมายของเกม เกม หมายถึง กิจกรรมการเลน่ ที่มีกฎ กติกาง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความ เหมาะสม เพอ่ื ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณ์หรอื สง่ิ แวดล้อมนนั้ ๆ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ จดุ ประสงคข์ องการเลน่ เกม 1. เพอ่ื ให้เกดิ ความสนุกสนาน ร่าเริง ผ่อนคลายความตรึงเครียด 2. เพอื่ ปลูกฝงั ให้เดก็ เกดิ การยอมรับในกฎ กตกิ า และความสามารถของผูอ้ ่นื 3. เพื่อสง่ เสริมสขุ ภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สตปิ ัญญา และสงั คม 4. เพื่อฝกึ ให้รจู้ กั การเล่นและการทางานเป็นหม่คู ณะ 5. เพอ่ื ฝึกการแก้ปญั หาเฉพาะหน้า 6. เพ่ือเสริมสรา้ งให้มคี ุณลกั ษณะเป็นผนู้ า-ผู้ตามทีด่ ี 7. เพื่อฝึกให้เด็กร้จู กั เลน่ และคดิ อย่างสร้างสรรค์ 8. เพื่อฝึกทกั ษะอนั เปน็ พนื้ ฐานของการเลน่ กีฬา ลักษณะทวั่ ไปของเกม 1. ทาใหจ้ ติ ใจแจ่มใสเบกิ บาน และสมองปลอดโปร่ง 2. ทาให้ร่างกายแข็งแรง มสี มรรถภาพทด่ี ี 3. มีอารมณม์ ัน่ คง และสามารถปรับตัวเขา้ กบั สงั คมได้ ความสาคญั ของเกม 1. ทาให้จิตใจแจม่ ใสเบิกบาน และสมองปลอดโปรง่ 2. ทาให้ร่างกายแขง็ แรง มสี มรรถภาพที่ดี 3. มอี ารมณ์มนั่ คง และสามารถปรับตวั เขา้ กับสงั คมได้ 4. ทาใหเ้ กิดความเชอ่ื ม่ันในตนเอง กล้าแสดงออกในทางทีถ่ ูกต้อง 5. ทาให้เกิดการกระตุ้นดา้ นไหวพรบิ ในการเลน่ คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ แกป้ ญั หาเฉพาะหน้า 6. ทาใหเ้ กดิ พัฒนาการด้านภาวะผู้นาและเป็นผูต้ ามทด่ี ี 7. ทาให้เกดิ ความช่ืนชอบในภมู ปิ ัญญาไทย วฒั นธรรมและประเพณที อ้ งถ่ิน 8. ทาให้เกิดทักษะอันเปน็ พนื้ ฐานของการเลน่ กีฬาได้ดี 19
ประโยชน์ของเกม การเล่นเกมกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนท์ ง้ั ด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ และสังคม ดงั นี้ 1. สรา้ งความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตงึ เครียด 2. เสรมิ สรา้ งทักษะการปรับตวั ในการมีส่วนรว่ มในการปฏิบตั ิกจิ กรรมรว่ มกัน 3. ส่งเสริมการเคลอ่ื นไหวทางร่างกายทถี่ ูกตอ้ ง 4. เสริมสร้างทักษะทางการกฬี า ทาให้ร่างกายแข็งแรง 5. ช่วยสง่ เสริมและพัฒนาสมองในดา้ นไหวพรบิ การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ 6. ชว่ ยสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม โดยการเล่นตามกฎ กติกา 7. สร้างแรงจูงใจ กระตนุ้ ในด้านการเตรียมความพร้อมร่างกายและสมอง 8. เสรมิ สร้างสมั พนั ธภาพในสังคม ลกั ษณะทั่วไปของเกม 1. มจี ุดมง่ หมายหรือวัตถุประสงค์ โดยแตล่ ะเกมจะมีจดุ มง่ หมายหรือวตั ถุประสงค์แตกตา่ งกันออกไป 2. มีจดุ เร่ิมต้นและจุดสนิ้ สดุ ในระยะเวลาสน้ั ๆ 3. ต้องใช้บรเิ วณและขอบเขตในการเล่น 4. มีกตกิ า กตกิ าของเกมทาให้ผเู้ ล่นรวู้ ิธเี ล่นและการปฏิบัติตน 5. เกม เปน็ การเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดม้ ีสว่ นรว่ ม พรอ้ มท้งั ไดร้ ับสาระและขอ้ คดิ จากเกมนั้น ๆ ประเภทของเกม แบ่งตามลกั ษณะของเกม สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คอื 1. เกมเบ็ดเตลด็ เป็นกจิ กรรมที่เล่นงา่ ย ๆ ใชร้ ะยะเวลาส้ัน ๆ กติกาไม่มาก ไม่สลบั ซบั ซ้อน และกติกา สามารถยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมแบ่งออกเป็นหลายประเภท ได้แก่ เกมเล่นเป็นนิยาย เกม เลยี นแบบ เกมทม่ี จี ดุ หมาย เกมหนีไลจ่ ับ เกมแข่งขันเป็นรายบคุ คล เกมแข่งขันเป็นทมี เกมแข่งขนั แบบผลัด เกมทดสอบประสาท เกมทดสอบ เกมทีใ่ ชจ้ ังหวะหรือเสยี งเพลงประกอบ เกมเงียบ 2. เกมนา เปน็ กจิ กรรมท่มี ีกฎ กตกิ ามากกวา่ เกมเบ็ดเตลด็ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพือ่ ฝึกทักษะพื้นฐานการ เรยี นรู้ กฎ กติกาของกรีฑา และกีฬาประเภทตา่ ง ๆ 20
เทคนิคและวิธกี ารสอนเกม เกมเป็นการเลน่ ท่ีมีกฎเกณฑ์ มกี ติกาในการเลน่ และมีวัตถุประสงค์ของการเล่นท่ีหลากหลายรูปแบบ แตย่ ังคงเน้นเพือ่ ให้เกิดความสนุกสนาน พรอ้ ม ๆ กับการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผเู้ ลน่ โดยทวั่ ถึงกนั ผู้นาเกมจงึ ตอ้ งมคี วามเข้าใจเกยี่ วกบั เทคนิคการสอนเกม ซ่ึงประกอบด้วยสาระสาคญั ดังนี้ ข้ันตอนการสอนเกม ประกอบดว้ ย 8 ขั้นตอน ดังน้ี 1. เตรียมความพรอ้ มทางด้านรา่ งกาย ทางด้านจิตใจ 1.1 ทางดา้ นรา่ งกาย เปน็ การบรหิ ารรา่ งกาย โดยเฉพาะข้อตอ่ ตา่ ง ๆ และกลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่ ๆ 1.2 ทางด้านจิตใจ ผู้เล่นบางคนยังไม่พร้อม ดังน้ันผู้นาเกมจะต้องคอยสังเกตพฤติกรรมสีหน้าของผู้ เล่น และตอ้ งสร้างความพร้อมทางจิตใจกอ่ น 2. บอกชอื่ เกมท่ีจะเล่นในแต่ละคร้งั ให้ผ้เู รยี นทราบ เพ่อื เปน็ การกระตุ้นใหผ้ ู้เล่นเกิดความสนใจ 3.จัดรูปแบบการเล่นเกม ผู้นาเกมจะต้องจดั รูปแถวให้เหมาะสมกับเกมท่ีสอนโดยเน้นให้ทุกคนได้เห็น ชดั เจน และสะดวกในการเลน่ 4. อธิบายกฎ กตกิ า วิธกี ารเลน่ โดยยึดหลกั ส้นั งา่ ย กะทดั รัด ได้ใจความ 5. ทดลองหรือสาธิตการเลน่ ถ้าเปน็ เกมทย่ี ากควรจะมกี ารสาธิตใหผ้ ู้เล่นไดเ้ ข้าใจอยา่ งชัดเจนก่อน 6. ดาเนินการเลน่ หรือแข่งขนั 7. สรุปผลการแขง่ ขัน ทาได้ 2 ลกั ษณะ คือ สรปุ ผลการแข่งขนั สรุปคุณธรรมจริยธรรมที่ได้รบั จากการเลน่ เกม 8. บันทกึ ปัญหาและอปุ สรรคท่ีเกดิ จากการสอนเกมแต่ละคร้งั เพอ่ื นาไปแก้ไขในครงั้ ต่อไป หลกั การสอนเกมทด่ี ี มีดงั น้ี 1. ทาแผนการสอนไวล้ ่วงหน้า 2. ศึกษาวิธกี ารเล่นเปน็ อยา่ งดี 3. เตรียมความพรอ้ มใหผ้ ้เู ลน่ ก่อนการสอนเสมอ 4. เร่มิ สอนจากง่ายไปหายาก 5. อยกู่ ับที่ไปสูก่ ารเคลื่อนที่ 6. สอนจากชา้ ไปหาเร็ว 7. ตรงตามความต้องการและพัฒนาการของเด็ก 8. จัดกิจกรรมหนักสลับมา 9. จัดกจิ กรรมแปลก ๆ ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ 10. จัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั ความสามารถของผ้เู รยี น 11. ใชภ้ าษาส้นั ๆ งา่ ย กะทัดรดั 12. เน้นใหท้ ุกคนมสี ่วนรว่ ม 13. ท้าทาย เรา้ ใจ มีการแข่งขนั 14. เปลย่ี นแปลงวธิ ีการเลน่ เสมอ เทคนิคการสรา้ งบรรยากาศ การสร้างบรรยากาศมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ คือ ก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อมี ปัญหา ผู้นาเกมต้องปรับใหบ้ รรยากาศเกิดความเหมาะสม บรรยากาศแบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คือ 1. บรรยากาศทางกายภาพ เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ โต๊ะ เป็นตน้ 2. บรรยากาศทางด้านจิตภาพ เช่น ความสบายใจ ความสมัครใจ ความกระตือรือร้น เป็นต้น ซึ่ง บรรยากาศดา้ นนม้ี คี วามจาเป็นมากกว่าบรรยากาศทางกายภาพ 21
การสร้างบรรยากาศ 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับกลุ่ม ด้วยการพูดคุย ทักทายอย่างเป็นมิตร เป็นกันเอง เพื่อให้เกิด ความคุ้นเคย การยอมรับซ่ึงกนั และกนั ซึ่งจะส่งผลดใี นการปฏิบตั ิกจิ กรรม 2. เตรียมความพร้อมผู้นาเกม - สอื่ การจดั กิจกรรมต่างๆ เช่น วีดีทัศน์ สไลด์ แผน่ ใส เป็นตน้ - กิจกรรม ควรวางแผนการนาเกมต่าง ๆ มาทบทวน เพ่ือขณะที่นาเกมจะได้ดู เป็นธรรมชาติ เกิด ความเช่ือมโยง ตอ่ เนือ่ งของกจิ กรรมทห่ี ลากหลายอย่างสร้างสรรค์ให้กระชบั 3. เตรียมความพร้อมของผู้ร่วมกิจกรรม โดยการปรบมอื เปน็ จังหวะตามสง่ั หรือฝกึ สมาธิด้วยการวาด ภาพตนเอง ท้งั นตี้ อ้ งพยายามให้ทุกคนแสดงออก เป็นการกระตุน้ ใหก้ ลมุ่ เกดิ ความรู้สกึ สนกุ สนานคกึ คกั ขนึ้ ความปลอดภยั ในการเล่นเกม จรนิ ทร์ ธานรี ัตน์ (2524 : 6-7) ไดใ้ ห้ข้อปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับความปลอดภยั ในการเล่นเกม มีดังนี้ 1. เก่ียวกับตัวผู้เล่นเกม สุขภาพทั่วไปก่อนเลน่ เกมต้องปกติ รา่ งกายพรอ้ มท่จี ะเล่นเกมนนั้ ๆ 2. อธบิ ายวิธเี ล่นและกฎ กติกาแล้ว ควรตงั้ กฎเกณฑ์เพื่อป้องกันอบุ ัติเหตดุ ว้ ย 3. การแบ่งหมู่ พวก และการจัดระบบก็ดี ให้คานึงถึงความปลอดภัย เช่น เด็กเล็กมารวมกับเด็กโต ผู้หญงิ รวมกบั ผู้ชาย ในบางเกมอาจเกดิ อนั ตรายได้ 4. จดั อุปกรณต์ ้องคานึงถึงอุบัติเหตุตง้ั แต่การเลือกมาใช้ การจดั วาง ตดิ ต้ัง และนามาใช้ในเกมเล่นน้ัน เป็นอันตรายหรือไม่ 5. สนามเล่น หอ้ งพลศึกษา และเคร่ืองอานวยความสะดวกอนื่ ๆ ปลอดภยั หรือไม่ 6. ขณะเด็กเลน่ ผนู้ าเกมตอ้ งตดิ ตาม ควบคุมอย่างใกลช้ ิดตลอดเวลา 7. การสอนแตล่ ะเกมตอ้ งคานึงถึงความปลอดภัย คุณลักษณะของผู้นาเกม ผู้ท่จี ะนาเกมไดส้ าเร็จน้นั เป็นผูท้ ่ีชอบงานทม่ี ีชีวติ ชีวา ยืดหยนุ่ และกระตือรือร้นการนาเกม จะต้องทา ต่อเนื่องต้ังแต่เริ่มต้น อย่าพยายามให้สะดุด ในกรณีมีเหตุการณ์ท่ีไม่คาดฝันผู้นาต้องพร้อมที่จะแก้ปัญหา โดยท่ัวไปการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าทาได้โดย การนาเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นมาเป็นประโยชน์ในการนา พยายาม หลีกเลยี่ งการเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ หรอื แก้ไขโดยวธิ ีตดั บท นอกจากนี้ผู้นาเกมได้ดีควรเป็นผู้ทส่ี ามารถสร้าง สถานการณไ์ ด้ตามต้องการเปน็ คนทมี่ ีอารมณ์ขนั ยอมรับฟังความคดิ เห็น แมว้ ่าสง่ิ นน้ั จะเปน็ สิ่งทต่ี นเองไมช่ อบ สิ่งสาคัญที่ผู้นาเกมต้องตระหนัก คือ การสร้างความเช่ือม่ัน ได้แก่ การเตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อน การนา ผู้ที่ฝึกฝนอยู่เสมอย่อมได้เปรียบ การเตรียมพร้อมและฝึกฝนจะทาให้ผู้นามั่นใจและมีโอกาสผิดพลาด นอ้ ย ผู้ท่ีไม่เตรียมการ คิดว่าทาได้ แตเ่ ม่ืออยู่หน้ากลุ่มชนกลับนึกอะไรไม่ออก ทาให้การนาผิดพลาดและส่งผล ทาให้ขาดความเชื่อม่ันในตนเอง ในขณะท่ีกาลังนากิจกรรม นอกจากการเตรียมการไว้ก่อนแล้ว การฝึกฝ น ตนเองจนสามารถปฏิบตั ิไดโ้ ดยอัตโนมัติเปน็ สิง่ ที่จะนาความเชือ่ มั่นสผู่ นู้ าเกมได้เปน็ อยา่ งดี คุณสมบตั ขิ องผู้นาเกมทด่ี ี ผนู้ าเกม เป็นผูม้ ีความสาคัญที่สุดทจ่ี ะสรา้ งความสนุกสนานความร่วมมือในการเล่นเกม และทาใหเ้ กิด ทศั นคติทีด่ ีตอ่ การเลน่ เกมได้ ดังน้นั ผู้นาเกมท่ดี ี ควรมีลกั ษณะ อังน้ี 1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเล่นเกมเป็นอย่างดี สามารถวางแผนและดาเนินการเกี่ยวกับการ คดั เลอื กเกม การจดั กลุ่มผเู้ ล่น การจัดอุปกรณ์ สถานท่ีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 22
2. มีอารมณ์สนุกสนานร่าเริง สามารถสร้างบรรยากาศให้การเล่นเกมเป็นไปด้วยความราบร่ืน ไม่น่า เบ่อื หนา่ ย ทาใหผ้ ้เู ล่นทุกคนมีความตอ้ งการทจี่ ะเข้าร่วมกิจกรรม 3. มีมนุษย์สมั พันธ์ดี สามารถปรบั ตวั ให้ผู้เลน่ กับผู้สอนมีความกลมกลืนกัน สามารถจูงใจและเชิญชวน ให้ผู้เล่นกลา้ แสดงออกอย่างเตม็ ท่ี 4. มีวามมั่นใจในตัวเอง และมีความกระตือรือร้นในการสอน ทั้งยังสามารถควบคุมการเล่นเกมให้ เป็นไปดว้ ยความราบร่ืน ไมห่ ยดุ ชะงักกลางคัน 5.มีบุคลิกภาพดี เป็นที่สนใจแก่ผู้เล่น เช่น การแต่งกาย การวางท่าทาง กิริยามารยาทการสื่อสาร น้าเสียงชดั เจน และมปี ฏิภาณไหวพริบดี ซึ่งช่วยทาใหก้ ารเลน่ เกมบรรลุตามวัตถุประสงค์ และแกไ้ ขสถานการณ์ หรือปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดี 6. มีอารมณ์มั่นคง และมคี วามยุตธิ รรมในการตดั สนิ เกมใหเ้ ป็นไปตามกฎ กติกาของเกมโดยปราศจาก ความลาเอยี ง 7. มีความเข้าใจในหลักการติดตามประเมินผล เพ่ือรบั ทราบผลดี ผลเสียของการเล่นเกม ใจกว้าง รับ ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อื่น บุคลกิ ภาพของผนู้ าเกมที่ดี ผนู้ าเกมควรมีลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ดังน้ี 1. ต้องเป็นผู้ท่ีแต่งกายเรียบร้อย หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส พูดชัดเจน การยืนต้องมั่นคง เป็นธรรมชาติ ปลายเทา้ แยกเลก็ น้อย บคุ ลิกดี เปน็ ที่น่าเช่อื ถือ และเปน็ กันเองเพอื่ สร้างบรรยากาศของความคุ้นเคย 2. ตอ้ งมีทัศนคติทีด่ ี 3. ต้องมีทักษะในการฟังและการสื่อสาร สามารถใช้ถ้อยคา ภาษา และการติดต่อส่ือสารท่ีมีความ ถกู ต้องและชัดเจน 4. ต้องสามารถเดาใจ หรอื สามารถวเิ คราะห์ผู้เล่นได้ดแี ละถูกต้องต้องสงั เกตความต้องการของผู้เลน่ 5.ตอ้ งใจกว้างและเคารพในความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน และพร้อมที่จะรบั ความผดิ พลาดของตนเอง 6. ต้องไมว่ พิ ากษ์วจิ ารณ์หรือแปลพฤติกรรมของผู้เรียนโดยไม่จาเป็น 7. ต้องไม่เอาปัญหาของตนเองมาเป็นจดุ สรา้ งความสนใจใหก้ บั ผเู้ รยี น จนกระท่ังลืมความตอ้ งการหรือ วัตถปุ ระสงคข์ องกลมุ่ 8. ต้องเปน็ คนท่ีมปี ฏิภาณและไหวพรบิ เปน็ เยย่ี ม และรูจ้ ักนาความคดิ ของผเู้ รียนมาใชป้ ระโยชน์ 9. ตอ้ งมีความสามารถในการวเิ คราะห์ เชือ่ มโยงความคดิ และสรุปความคิดเห็นตา่ ง ๆ ไดด้ ี ลกั ษณะทไี่ มพ่ งึ ประสงคข์ องผู้นาเกม มีดังนี้ 1. การยนื กุมมอื กมุ เข็มขัด ยืนแอ่น 2. การล้วงกระเป๋า 3. การแคะจมูก แคะหู 4. การแกะสิว แกะกระดุมเสอ้ื 5. การเกาหวั เกาหู เกากน้ 6. การกะพรบิ ตาถี่ ๆ 7. การหาว การแลบลน้ิ 8. การเขย่าขา ยกั ไหล่ 9. การโยกตัว 23
ตัวอย่างเกม ตวั อยา่ งเกมเลียนแบบ อง่ึ อ่างแฟบ จุดมุ่งหมาย 1. เพ่ือใหเ้ ด็กได้ออกกาลังกาย 2. เพอ่ื ฝกึ ความคล่องแคล่วว่องไว วธิ ีการเลน่ 1. ผู้นาเกมให้ผู้เลน่ พูดตาม อึ่ง อ่าง อึ่ง แฟบ โดยคาว่า อ่ึง อ่าง พูดช้า ๆ แต่คาว่า\"แฟบ\" ให้พูดสั้น ๆ เรว็ ๆ 2. เมื่อผ้เู ลน่ พูดตามจนคล่อง ผู้นาเกมให้ผูเ้ ล่นทาทา่ ทางประกอบ ดงั นี้ 2.1 เม่ือพูดคาวา่ \"อ่ึง\" ให้ผเู้ ล่นนั่งกางแขน ขา ทาตวั ให้พองแล้วค่อย ๆ ยนื ขน้ึ ชา้ ๆ 2.2 เม่ือพดู คาว่า \"อา่ ง\" ให้ผูเ้ ล่นกางแขนแล้วคอ่ ย ๆ น่ังลงชา้ ๆ 2.3 เมือ่ พูดคาว่า \"องึ่ \" ให้ผเู้ ล่นทาตามขอ้ 1 2.4 เม่ือพูดคาว่า \"แฟบ\" ให้ผู้เล่นทาตัวให้เล็ก หุบแขน และรีบนั่งลงให้เร็วท่ีสุดใครนั่งลงช้าจะถูก คดั ออกจากการแข่งขัน หมายเหตุ เกมน้ีผนู้ าเกมควรพูดเสยี ง อึง่ อ่าง อึ่ง แฟบ จะต้องพูดเสยี งใหเ้ รา้ ใจ โดยพดู สลับไปสลับมาบางทีพูดสลับกัน เช่น อง่ึ อ่าง อง่ึ แฟบ อง่ึ อ่าง เปน็ ตน้ อง่ึ อ่าง แฟบ 24
ตัวอย่างเกมที่มีจดุ หมายหรือชงิ ที่หมาย ลิงชิงแก้ว จดุ มุ่งหมาย 1. เพือ่ ส่งเสริมความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว 2. เพอ่ื ฝกึ การทางานของสมอง และการทางานของกลา้ มเนื้ออย่างฉับพลนั วิธีการเล่น 1. แบง่ ผเู้ ล่นออกเป็น 2 แถว แถวละเท่า ๆ กนั 2. ใหผ้ ู้เลน่ เขา้ แถวหน้ากระดานหันหน้าเข้าหากนั 3. ให้ผ้เู ลน่ นบั หมายเลข 1 ถงึ เลขสดุ ทา้ ย ใหแ้ ตล่ ะคนจาหมายเลขของตัวเองเอาไว้ 4. ผู้นาเกมนาลกู ปงิ ปอง (อปุ กรณ์อะไรก็ได้ เชน่ ฟตุ บอล กระป๋องนม ฯลฯ) มาวางไวต้ รงกลาง 5. เม่อื ผู้นาเกมพดู วา่ หมายเลขอะไร ให้ผูท้ ีน่ บั หมายเลขนนั้ ออกมาแย่งลูกปิงปองใครได้ก่อนเปน็ ผ้ชู นะ 6. ผลแพช้ นะอาจจะเกิดจากแถวใดได้ 5 แตม้ หรอื ไดแ้ ต้มกอ่ นเป็นผชู้ นะ 25
ตวั อยา่ งเกมทดสอบประสาท โป้งไอย้ ่า จุดมุ่งหมาย 1. เพ่ือความสนกุ สนาน ตื่นเตน้ เร้าใจ 2. เพ่ือฝกึ ปฏกิ ริ ิยาตอบสนองอย่างฉับไว วธิ ีการเลน่ 1. ให้ผู้เล่นยนื เข้าแถวเปน็ วงกลมหนั หนา้ เขา้ กลางวงกลม 2. ครง้ั แรกให้ผู้นาเกมทาทา่ ยิงปืนพรอ้ มพูดวา่ \"โปง้ \" 3. ให้ผู้เลน่ ทุกคนเอามือยกไปขา้ งหลังพรอ้ มกบั เงยหนา้ แล้วสง่ เสยี งคาว่า \"ไอย้ า่ \" 4. ผู้นาเกมยิงจนให้ผู้เล่นเคยชิน คือ เม่ือได้ยินคาว่า \"โป้ง\" ให้เงยหน้าไปข้างหลังพร้อมกับพูดคาว่า \"ไอย้ า่ \" อยา่ งรวดเรว็ 5. ผนู้ าเกมอธิบายกตกิ าการเล่นว่า คอื ถ้าผู้นาเกมยิงใครให้คนน้ันยืนตรงและให้คนทอี่ ยขู่ ้าง ๆ ยกมือ ไปขา้ งหลัง เงยหนา้ พรอ้ มกบั พดู ว่า \"ไอย้ ่า\" 6. ใครทาผิดาติกาต้องออกจากการแข่งขัน 7. ผูน้ าเกมพยายามยงิ ใหค้ รบทุก ๆ คน โปง้ 26
ล่าลายเซ็น จุดมุ่งหมาย 1. เพ่อื ฝกึ ความคล่องแคล่วว่องไว 2. ส่งเสรมิ การมมี นุษยส์ มั พนั ธท์ ดี่ ี วธิ ีการเล่น 1. ให้ผ้เู ลน่ ถอื กระดาษและปากกาคนละ 1 ชดุ 2. เม่อื ได้ยินสญั ญาณเริม่ ใหผ้ ูเ้ ลน่ ล่าลายเซน็ ของเพ่อื นให้มากทสี่ ดุ 3. เมอื่ ไดย้ ินสญั ญาณหยดุ ใหท้ ุกคนกลบั มาทีเ่ ดิม 4. ใครหาลายเซ็นไดม้ ากทส่ี ุดเปน็ ผ้ชู นะ ตวั อย่างเกมแข่งขนั เป็นรายบุคคล เป่ายิ้งฉุบ จดุ มุ่งหมาย 1. เพอ่ื ฝึกใหเ้ ดก็ ได้รจู้ ักแพ้ รจู้ ักชนะ และการให้อภัย 2. เพื่อฝกึ ไหวพรบิ และเชาวนป์ ัญญา วธิ ีการเลน่ 1. ใหผ้ เู้ ลน่ จับคู่เป็นคู่ ๆ 2. อธบิ ายกตกิ าการเปา่ ย้งิ ฉุบ ดังนี้ เม่อื ไดย้ นิ สัญญาณเริ่ม ใหแ้ ตล่ ะคูท่ าการเปา่ ย้ิงฉุบ ถ้าทาคอ้ นใหก้ า หมดั กรรไกร ทามอื 2 นิ้ว และกระดาษให้ทามอื กลางนวิ้ มอื ออกห้านิ้ว 3. ผลแพ้ชนะ มีดงั นี้ กรรไกรชนะกระดาษ กระดาษชนะคอ้ น และคอ้ นชนะกรรไกร 4. ให้ผ้แู พเ้ อามอื ทั้ง 2 ข้าง จับไหล่ผชู้ นะ มือห้ามหลุดจากไหล่ 5. ใหผ้ ู้ชนะเปา่ ย้ิงฉบุ ใครแพก้ ไ็ ปจับไหลค่ นที่อยขู่ ้างหลังของผู้ชนะ 6. ทาอย่างน้ีไปเรอื่ ย ๆ จนเหลือผูช้ นะเพยี งคนเดยี ว ตวั อยา่ งเกมแข่งขันเปน็ ทีม ถลกหนังงู จดุ มงุ่ หมาย 1. เพอ่ื กอ่ ให้เกดิ ความคลอ่ งแคล่ววอ่ งไว 2.เพ่ือฝกึ ความสามัคคีในหมคู่ ณะ วิธกี ารเลน่ 1. แบง่ ผู้เล่นออกเป็น 2 แถว เทา่ ๆ กัน ให้ผเู้ ล่นแตล่ ะแถวเขา้ แถวหน้ากระดาน หนั หนา้ เข้าหากนั 2. ให้ผู้เล่นแต่ละคนในแถวนับหมายเลข คือ คนแรกนับ 1 ถัดไปนับ 2, 3, 4, 5, 6 ไปเร่ือย ๆ จนถึง คนสุดทา้ ย และจาหมายเลขของตนเองเอาไว้ 4. แต่ละแถวจับมือกนั ไว้ มือห้ามหลดุ ออกจากกนั 5. ผนู้ าเกมจะบอกตัวเลข 2 ตัวติดกันเสมอ เช่น 1 กบั 2, 3 กับ 4 หรอื 2 กับ 1,1 กบั 2 เสมอ 6. เม่ือผู้นาบอกหมายเลขคู่ใดใหผ้ ู้เลน่ คนู่ ้ันยกแขนทีต่ ิดกนั ชูข้ึน หัวแถวและทา้ ยแถววิง่ ลอดชอ่ งแขนที่ ท้งั 2 คนชูขึน้ และวง่ิ กลบั ไปอยู่ในแถวเหมือนเดมิ โดยไม่ให้มือหลดุ จากกนั 7. แถวใดกลับไปอย่ใู นแถวหน้ากระดานก่อน ได้ 1 คะแนน ทาเชน่ นห้ี ลาย ๆ ครง้ั แล้วแตส่ มควร 8. แถวใดได้คะแนนมากกวา่ เป็นฝา่ ยชนะ 27
ตวั อยา่ งเกมแข่งขนั แบบผลัด แป้งมหาเสน่ห์ จดุ มงุ่ หมาย 1.เพื่อฝกึ การคาดคะเน การสงั เกต และจา 2. ความคลอ่ งแคล่วว่องไว วธิ กี ารเล่น 1. ให้ผูเ้ ลน่ นั่งเปน็ วงกลมวงเดยี ว 2. เมื่อได้ยินสัญญาณเร่มิ ให้ผู้นาเกมส่งกระป้องแปง้ ให้ผเู้ ล่น ขณะเดียวกันผู้เล่นปรบมอื เป็นจงั หวะไป เรื่อย ๆ (อาจจะรอ้ งเพลงไปด้วยก็ได)้ แลว้ ผูเ้ ล่นกส็ ง่ กระปอ๋ งแป้งใหค้ นถดั ไปเร่ือย ๆ 3. เม่ือไดย้ ินสญั ญาณนกหวีดจากผูน้ าเกม ให้หยุดกระปอ๋ งแป้งทนั ที 4. กระปอ้ งแปง้ หยุดอย่ทู ่ีใครใหค้ นนั้นเปดิ ฝากระป๋องแป้ง และเทแป้งทาหนา้ ตัวเอง 5. แล้วเร่ิมสง่ แป้ง ปรบมือใหม่ ทาไปเรื่อย ๆ จนเหน็ วา่ ทุกคนสนุกสนานกห็ ยุด ตัวอย่างเกมทดสอบ ตอบปัญหาชิงรางวัล จดุ มุง่ หมาย 1. เพื่อทบทวนบทเรียนท่ีผา่ นมา 2. เพ่ือความสนุกสนาน วธิ ีการเล่น 1. ผนู้ าเกมเขยี นคาถามจากเรื่องทเี่ รียนรู้ไวห้ ลาย ๆ คาถาม 2. แบ่งผเู้ ล่นออกเปน็ แถวตอน แถวละเท่า ๆ กนั 3. ผู้นาเกมเร่ิมอ่านคาถามข้อที่ 1 ให้คนท่ี 1 ของแต่ละแถวเป็นผู้ตอบ ตอบโดยวิธีการเขียนลงใน กระดาษคาตอบ ข้อท่ี 2 คนท่ี 2 เป็นคนตอบ ทานองเดยี วกนั คาถามท่ี 3, 4, 5 ให้คนตอ่ ๆ ไป เปน็ ผ้ตู อบ 4. คาถามแตล่ ะข้อถา้ ตอบถกู ได้ 1 คะแนน 5. แถวใดไดค้ ะแนนมากทสี่ ุดเปน็ ผชู้ นะ 28
เอกสารอา้ งอิง จรนิ ทร์ ธานีรัตน์. (2524) . เกม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ปญั ญา สมบัตินมิ ิตร. (2552). การใช้เกมในการฝกึ อบรม. ปทุมธานี : สถาบนั พลศึกษา วทิ ยาเขตกรงุ เทพฯ. พลศกึ ษา, กรม. (2557). คู่มอื ผนู้ านันทนาการ. กรุงเทพฯ : สานักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก. พลศึกษา, กรม สานกั พัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนนั ทนาการ. (2544). เอกสารประกอบการเรียน การสอน เรอ่ื ง นนั ทนาการเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารรบั ส่งสินค้าและพสั ดุภณั ฑ์. พฒั นาการกีฬาและนนั ทนาการ, สานักงาน. (2550). คู่มือการจดั กจิ กรรมนันทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด. สกลุ โสรัจน.์ เกม. มหาสารคาม : วิทยาลยั พลศกึ ษา จังหวดั มหาสารคาม. 29
หน่วยท่ี 5 การเป็นผนู้ าเพลงนันทนาการ การร้องเพลงเป็นวิธีการเรียนรู้ตามธรรมชาติอย่างหน่ึงของมนุษย์ ท่ีทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจได้ โดยง่าย เน่ืองจากเพลงเป็นบทประพันธ์ท่ีผสมผสานเนื้อร้อง จังหวะ ทานอง ซ่ึงมีความไพเราะ น่าร้อง น่าฟัง ทาให้เกดิ อารมณส์ นุกสนาน จิตใจปลอดโปรง่ ความหมายของเพลง เพลง หมายถงึ เสียงขบั รอ้ งท่ปี ระกอบทานองดนตรี ซ่งึ ใชร้ ้องเพื่อแสดงเจตนาในการทากิจกรรมอย่าง ใดอย่างหน่งึ ความสาคญั ของเพลง 1. เพลงเป็นสือ่ กลางในการตดิ ตอ่ และสร้างความเขา้ ใจกนั ของคนในชมุ ชนและองค์กร 2. เพลงเป็นเคร่อื งแสดงถงึ สตปิ ัญญาและคุณธรรมของประเทศชาติ 3. เพลงเป็นเครือ่ งพฒั นาอารมณ์ให้เบกิ บานแจ่มใส 4. เพลงชว่ ยบารงุ ส่งเสรมิ ทางกายและจิตใจ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการรอ้ งเพลง 1. เพือ่ ให้เกดิ ความสนกุ สนานร่าเริง 2. เพอื่ ขับกล่อมให้มจี ิตใจผอ่ งใส 3. เพ่ือส่งเสรมิ ความกล้าแสดงออก 4. เพ่อื ชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครียด แก้ความง่วงเหงาหาวนอนจากการทากจิ กรรม 5. เพอื่ ชว่ ยเสริมความจาในการเรยี นรใู้ หแ้ ม่นยา 6. เพอื่ ส่งเสรมิ ความสามคั คี ปลูกฝังความรกั ชาติบา้ นเมือง เพลงทค่ี วรนามาร้อง 1. เพลงทใ่ี ช้ในโอกาสพิเศษ เช่น เพลงชาติ เพลงสดดุ จี อมราชา เพลงดจุ ดังสายฟ้า เพลงพลังแผ่นดนิ ฯลฯ 2. เพลงเกี่ยวกบั การระลกึ ประวัติศาสตร์ เชน่ เพลงอยุธยา เพลงบางระจัน ฯลฯ 3. เพลงปลุกใจ เชน่ เพลงบา้ นเกิดเมอื งนอน เพลงสยามมานสุ ติ เพลงเราสู้ เพลงไทยรวมกาลงั ฯลฯ 4. เพลงท่ีเก่ียวกบั ความซาบซง้ึ ในศาสนา เช่น เพลงพระพุทธเจา้ เพลงแขกบรเทศ ฯลฯ 5. เพลงประกอบกิจกรรม/บทเรยี น เชน่ เพลงศนู ย์วิทยาศาสตร์ เพลงสวสั ดี ฯลฯ 6. เพลงสนุกสนานทว่ั ไป (ถ้อยคาไม่หยาบคาย) แฝงดว้ ยคติธรรม เช่น เพลง ฯลฯ 30
ตัวอยา่ งเพลง 1. เพลงทีใ่ ช้ในโอกาสพิเศษ เพลงชาติ ผูป้ ระพนั ธเ์ นือ้ ร้อง : พันเอกหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) ผู้ประพนั ธ์ทานอง : พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเช้ือไทย เป็นประชารฐั ไผทของไทยทุกสว่ น อย่ดู ารงคงไวไ้ ด้ทงั้ มวล ด้วยไทยล้วนหมายรักสามัคคี ไทยน้รี กั สงบแตถ่ ึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ใหใ้ ครขม่ ข่ี สละเลือดทุกหยาดเป็นชาติพลี เถลงิ ประเทศชาตไิ ทยทวีมีชยั ชโย https://youtu.be/YTgVDlE1HII เพลง สดุดีจอมราชา ผูป้ ระพนั ธ์เนือ้ รอ้ ง : นายวิเชียร ตนั ติพิมลพันธ์ ผปู้ ระพันธ์ทานอง/เรียบเรียง : นายวริ ชั อยถู่ าวร ถวายบงั คมจอมราชา พระบญุ ญาเกริกฟา้ ไกล ธ ทรงเป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ศูนย์รวมใจชาวไทยสมัครสมาน ถวายพระพรจอมราชนั ธ อนันตป์ รชี าชาญ ขอพระองค์ทรงเกษมสาราญ งามตระการสมขัตตยิ ะไทย อุ่นไอรักจากฟ้าเรืองรอง แสงทองส่องมา ไพร่ฟา้ ต่างสดใส มหาวชิราลงกรณ มิง่ ขวัญปวงชนชาวไทย เทิดไท้พระภวู ไนย ถวายใจสดุดี ถวายบงั คมจอมราชา พระบญุ ญาเกริกฟา้ ไกล ธ ทรงเปน็ รม่ โพธิ์ร่มไทร ศนู ย์รวมใจชาวไทยสมคั รสมาน ถวายพระพรองค์ราชินี คู่บารมอี งค์ราชัน ขอพระองค์ทรงเกษมสาราญ งามตระการเคียงขัตตยิ ะไทย อุ่นไอจากฟ้าเรืองรอง แสงทองส่องมา ไพร่ฟา้ ตา่ งสดใส มหาราชา ราชินี มิ่งขวัญปวงชนชาวไทย เทดิ ไท้พระภูวไนย ถวายใจสดุดี https://youtu.be/Mz_Wm60326k 31
เพลง ดุจดงั สายฟ้า คาร้อง ทานอง : พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (มิถุนายน2560) แดนดินถ่ินไทย ม่ันคงอยู่ในยุคของโลกใหม่ ราชาอีกองค์ ผู้ทรงนาสยามให้ก้าวไปมหาวชิราลงกรณ ประดุจดังแสงส่องทางผู้คน เปิดให้ฟ้าเรืองรองผองชนหลอมรวมใจ ทรงดาเนินติดดิน รู้ความเหน่ือยก็เหมือนเช่นใครใคร ทรงงานอดทน เพื่อปวงชนภาระนั้นมากมาย เหมือน ท่ีทรงสัญญา จะทาเพื่อมวลประชาได้อยู่ดี จะอุทิศกาลังท่ีมีท้ังใจกาย * หัวใจแกร่งไม่เกรงผองภัยพาล ด้วยจิตวิญญาณทหารไทย เพ่ือมาตุภูมิแห่งน้ี ท่ีเราอยู่กิน แผ่นดิน ที่เป็นดวงใจ ** พระองค์ยืนอยู่ท่ามกลางกระแสลมแรง ของชาติท่ีแข่งขันกันไขว่คว้าความย่ิงใหญ่ คอยปกป้อง อยู่ดุจดังสายฟ้า ที่คุ้มกันยามมีภัย น่ีคือศูนย์รวมดวงใจ ไทยเป็นหนึ่งร่วมกัน ทรงเพียรเรียนรู้ ทุกเร่ืองราวสร้างสรรค์ให้บ้านเมือง ตามรอยพระบิดา พัฒนาสยามให้รุ่งเรือง มหาวชิราลง กรณ ประดุจดังแสงส่องทางผู้คน เปิดให้ฟ้าเรืองรองผองชนล้วนภูมิใจ (ซา้ */** ) https://youtu.be/42NjCC3zAwI ************ 32
เพลงภมู ิแผน่ ดนิ นวมนิ ทร์มหาราชา ผปู้ ระพนั ธ์คารอ้ ง : นายชาลี อินทรวิจิตร นายอาจินต์ ปญั จพรรค์ นายสุรพล โทณะวณกิ นายเนาวรัตน์ พงษไ์ พบลู ย์ คณุ หญงิ กลุ ทรพั ย์ เกษแมน่ กจิ ทานอง : นายสงา่ อารัมภีร นายนคร ถนอมทรพั ย์ นายแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ นายประสทิ ธ์ิ พยอมยงค์ บญุ ของแผน่ ดินไทย พอ่ หลวงบันดาลให้ ที่ในยงุ้ ฉางมีข้าว นา้ รินดนิ ดใี ครเล่า ทกุ ข์ใดเหินไปบรรเทา ดว้ ยพระบาท เกอื บศตวรรษ ธ นาไทยทั้งชาติ พ้นภยั แผน่ ดินถนิ่ เมืองทอง ผา่ นพ้นโพยภัยเนอื งนอง พระทรงคุ้มครองไทยไว้ ธ เป็นพลงั แผน่ ดนิ สมานพลังชวี นิ ของชนชาวไทย อุ่นใจไพร่ฟ้า พระบญุ ญาเกริกไกร ภูมพิ ลมหาราชา อ้าองคส์ รุ ียศ์ รีมธี รรมสอ่ ง ปกครองอยา่ งทรงพระเมตตา ดุจบดิ รเหล่าประชา ทกุ ขร์ ้อนใดใดกรายมา โอ้ฟา้ เป็นดั่งฝนดบั ไฟ ภูมิใจไทย ร่วมร้อยหวั ใจรว่ มใฝร่ ว่ มหวัง ภมู พิ ลัง แผ่นดนิ ถน่ิ น้ยี ิ่งใหญ่ ภมู ิประวตั ิ ประชาชาตภิ ูมิไผท ภาคภมู ิประชาชัย ภมู ิพลังแผ่นดนิ เทิดไท้ นบน้อมเทดิ ทูน ธ เหนือเกลา้ สราญนานเนาหทยั สขุ ลา้ สมจินต์ เพรดิ แพร้วพพิ ัฒน์ เภทภยั พา่ ยแพส้ ิน้ นวมนิ ทรม์ หาราชาภูมิพล https://youtu.be/cYSEHx395w8 ************ 33
2. เพลงเก่ียวกับการระลึกประวัติศาสตร์ เพลง อยุธยาราลกึ คารอ้ ง : สุรินทร์ ปยิ านันท์ อยุธยาเมอื งเกา่ ของเราแต่ก่อน จิตใจอาวรณ์มาเลา่ กนั สูก่ ันฟงั อยุธยาแตก่ ่อนน้ียงั เปน็ ดังเมืองทองของพีน่ ้องเผ่าพงศ์ไทย เดยี วนี้ซิเป็นเมืองเก่า ไทยเราแสนเศร้าถกู ขา้ ศึกรกุ ราน ชาวไทยทุกคนหัวใจร้าวราน ข้าศึกเผาผลาญแหลกลาญวอดวาย ชาวไทยทุกคนดแู ล้วเศร้าใจ อนสุ รณ์เตอื นให้ชาวไทยจงมน่ั สมคั รสมานร่วมใจกนั สามคั คี คงจะไม่มีใครกล้าราวีชาติไทย https://youtu.be/zkSowLldUFY คารอ้ ง : สรุ ินทร์ ปิยานันท์ ************ เพลงศึกบางระจัน ศึกบางระจนั จาใหม้ ่นั พ่ีน้องชาติไทย เกียรติประวัตสิ ร้างไว้แดช่ นชาติไทยรนุ่ หลัง แม้ชวี ติ ยอมอทุ ศิ คราชาติอับปาง เลอื ดไทยตอ้ งมาไหลหลั่งทาทั่วพื้นแผน่ ดนิ ทอง ไทยคงเปน็ ไทยมิใช่ชาติเป็นเชลย ไทยมิเคยถอยรน่ ชนชาติศัตรู บางระจันแม้ส้ินอาวธุ จะสู้ สองดาบฟาดฟนั ศัตรสู ู้จนชพี ตนมลาย ตัวตายดีกว่าชาตติ าย เพยี งเลอื ดหยาดสดุ ทา้ ยขอให้ไทยคงอยู่ แดนทองของไทยมใิ ช่ศตั รู แม้ใครรุกรานตอ้ งสเู้ พ่ือกู้ผืนแผ่นดนิ ทอง https://youtu.be/zkSowLldUFY ************ 34
3. ตัวอย่างเพลงปลุกใจ เพลงสยามมานสุ ติ พระราชนิพนธใ์ นรชั กาลที่ 6 หากสยามยังอยยู่ งั้ ยืนยง เราก็เหมือนอยู่คงชีพ ดว้ ย หากสยามพนิ าศลงไทยอยู่ ได้ฤา เรากเ็ หมือนมอดมว้ ย หมดสนิ้ สกุลไทย ใครรานใครรุก ดา้ วแดนไทย ไทยรบจนสุดใจขาดด้นิ เสียเน้อื เลือดหลง่ั ไหล ยอมสละ ส้นิ แล เสียชพี ไป่ เสยี สน้ิ ชอ่ื กอ้ งเกยี รตงิ าม https://youtu.be/UMN8JpQ5Cck ************ เพลงเราสู้ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 9 เนื้อร้อง : สมภพ จนั ทรประภา บรรพบรุ ุษของไทยแต่โบราณ ปกบ้านปอ้ งเมืองคุมเย้า เสียเลือดเสียเน้ือมิใช่เบา หน้าทเี่ รารกั ษาสบื ไป ลูกหลานเหลนโลนภายหนา้ จะได้มพี สุธาอาศยั อนาคตจะต้องมปี ระเทศไทย มยิ อมให้ผใู้ ดมาทาลาย ถึงขู่ฆ่าล้างโคตรก็ไมห่ ว่นั จะสูก้ ันไมห่ ลบหนหี าย สู้ตรงน้สี ู้ที่นสี่ ู้จนตาย ถงึ เป็นคนสดุ ท้ายกล็ องดู บ้านเมืองเราเราต้องรักษา อยากทาลายเชิญมาเราสู้ เกยี รติศกั ดิ์ของเราเราเชดิ ชู เราสูไ้ มถ่ อยจนกา้ วเดยี ว https://youtu.be/LikKLbHEl8o 35
4. ตวั อยา่ งเพลงทเี่ ก่ียวกับความซาบซง้ึ ในศาสนา เพลงพระพุทธเจ้า คาร้อง : ประภาส ชลศรานนท์ ทานอง : จกั รพฒั น์ เอี่ยมหนุน วันท่ีฟา้ เริม่ สอ่ งแสง สาแดงให้เห็นเปน็ คาถาม เกดิ แก่เจ็บตายซ้า วนเวียนจนเหน็ ความเปน็ ไป ทกุ ส่งิ กาเนิดนัน้ สถติ สถานตง้ั อยไู่ ว้ ถึงวนั แตกสลาย ดบั สิน้ ไปไม่มั่นคง จากเจา้ ชายสขุ ลน้ ฟ้า ท้ิงทกุ ส่ิงมาเข้าปา่ ดง ทง้ิ อบายแหง่ ใหลหลง บาเพ็ญทุกรกิรยิ า เข็ญกายจนหวิ โหย รว่ งโรยทรุดโทรมเวทนา แลว้ จงึ ได้รวู้ ่า ไมใ่ ชห่ นทางสวา่ งเลย พระองค์ทรงคน้ พบ การเวยี นจบของจักรวาล หนทางที่จะว่ายผ่าน วัฏสงสารอันปลดปลง สายพณิ ท่ีดีดนั้น ถา้ ปล่อยให้มันเริ่มหยอ่ นลง ละเลยและลมื หลง จะคงสาเนียงเปน็ พณิ ไหม และสายพิณทตี่ ้งั ขงึ ถา้ บดิ ให้ตึงจนมากไป ถึงคราวดดี เล่นสาย คงขาดผงึ ไปในไมน่ าน พระองค์ทรงคน้ พบ การเวยี นจบของจักรวาล หนทางทจ่ี ะวา่ ยผ่าน วฏั สงสารอนั ปลดปลง หนทางแหง่ พุทธะ คือหลกี ลดละในโลภหลง และมใิ ช่อย่างฝ่นุ ผง ท่ปี ลอ่ ยล่องลอยไปวันวัน หนทางแห่งพุทธะ คือทางสายกลางอันเบิกบาน ให้อยกู่ ับคนื วัน คอื ปจั จุบันอย่างต่นื รู้ https://youtu.be/R0V6eiIrbkY ************ 36
5. ตวั อย่างเพลงประกอบการจัดกิจกรรมศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษานครราชสีมา เพลงศูนย์วิทยาศาสตร์ คาร้อง/ขบั ร้อง : ณัชชา เบญจกลุ ดนตรี : ส.ต.อ. วิชา แกว้ คง ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาปัตตานี * ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา เพ่ือประชาชน (ซา้ ) เป็นแหล่งเรียนร้ทู กุ ทิศท่วั ไทย ให้ความร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตร์ พัฒนาคณุ ภาพ ให้บริการอยา่ งดี ท่ีครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย แผ่กระจายไปถึงชุมชน นวัตกรรมกา้ วลา้ ทันสมยั เครือข่ายภาคีร่วมใจ * ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา เพื่อประชาชน (ซา้ ) ที่ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เป้าหมาย แผ่กระจายไปถึงชมุ ชน นวัตกรรมก้าวล้าทันสมัย เครอื ข่ายภาคีรว่ มใจ * ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา เพ่ือประชาชน (ซ้า) https://youtu.be/FcbgT4281H4 ************ เพลงรักนอ้ ง คาร้อง/ทานอง : กุลศักด์ิ เรืองคงเกียรติ เจา้ นกนอ้ ย ล่องลอยโผบนิ จากแผ่นดินทะเลสีคราม ความเหงาเอยมาคอยเหยียบยา่ ให้ทรมาน ฝ่าลมแรง ดว้ ยแรงทา้ ทาย สู่จดั หมายที่ไกลลิบตา เพยี งพบเจอ ทุกวนั เห็นหนา้ อมิ่ เอบิ ดวงมาลย์ * ดอกไมแ้ ย้มกลบี บานแล้วในใจฉัน จงหอมชัว่ นริ นั ดร์ ไมร่ ่วงโรยผ่านจากใจเราผอง จงมอบความรัก ด้วยใจภักดี จะมอบชวี ใี ห้เธอคมุ้ ครอง ทง้ั ต่นื และฝนั ( ซา้ * ) ความหวงั ดี มาคอยปกป้อง ************ 37
เพลงสวัสดี สวัสดี สวัสดี วันน้ี เรามาพบกัน เธอกับฉัน พบกัน สวสั ดี ( ซา้ ) ************ เพลงพบกันวันน้ดี ีใจ พบกนั วนั น้ีดใี จ(ซ้า) ฉันขอทกั ทายวา่ สวัสดี สบายดีบ่ ข่อยกส็ บายดี สดุ แสนยินดีท่เี รามาพบกัน(ซ้า) ************ เพลงย้ิมกันนะ ยม้ิ ยิ้ม กันเถดิ นะ ย้ิม..แล้วพาคลายเศร้า ย้มิ พาให้คลายเหงา ย้ิม..พาเราเพลนิ ใจ ย้ิม..พาใหส้ ขุ ล้า ทาเรื่องยากเป็นง่าย ย้ิมให้กัน เมือ่ ใด เรือ่ งร้าย จะกลายเป็นดี (ซ้า) ************ เพลงตบมอื ตบมอื เปาะ ๆๆ กระทบื เท้า ปงั ๆ ๆ ลุกขึน้ ยืน แลว้ น่งั สง่ เสียงดัง เฮ้ เฮ้ ************ เพลงปรบมือดัง ปรบมอื ( ปบั ๆ ๆ ) กระทืบเท้า ( ปงั ๆ ๆ ) ลกุ ข้นึ ยืนแล้วนั่ง (ซา้ ) ปรบมอื (ปัง ๆ ๆ) กระทืบเท้า (ปบั ๆ ๆ) ************ เพลงโรตี โรตแี ผ่นใหญ่ ๆ อนั นีใ้ สไ่ ข่ อนั น้ใี สน่ ม โรตแี ผ่นกลม ๆ อันน้ีใส่นมอนั น้ใี สไ่ ข่ ฮปิ .. ฮิป.. ฮปิ ฮปิ โป โอ้โหตวั มนั ใหญ่ ************ เพลง ฮปิ โป มนั เดนิ อุ้ยอ้าย มันเดนิ อุ้ยอ้าย ตะลาลา้ ลาลาลา ตะลา ล้า ลาลาลา *ซา้ 2 รอบ ************ 38
เพลง ไก่ย่าง ไกย่ า่ งถกู เผา ไกย่ า่ งถกู เผา มันจะถูกไม้เสียบ (อ้ยุ !!) มนั จะถูกไม้เสยี บ (อุย้ !!) เสียบตดู ซา้ ย เสยี บตดู ขวา ร้อนจริงจริง รอ้ นจริงจริง ร้อนจริงจริง ************ เพลง หากวา่ เรากาลงั สบาย หากวา่ เรากาลงั สบาย จงตบมือพลนั (- -) หากวา่ เรากาลงั มสี ุขหมดเรื่องทุกขใ์ ดใดทุกส่ิง มัวประวงิ อะไรกนั เล่า จงตบมอื พลัน (- -) (ผงกหัว,กระทบื เทา้ ,สง่ เสียงดงั ,ออกทา่ ทาง) ************ เพลง พวงมาลยั โอ้เจา้ พวงมาลัย เจา้ จะลอยไปคลอ้ งใครกนั แน่ (ซา้ ) จะรกั ใครชอบใครให้จรงิ แท้ ขอใหแ้ นส่ ักราย อยา่ มัวลอยตามลมให้เขาดมดอมสิน้ กลิ่นหอมแลว้ หน่าย (ซ้า) ยามน้ันเจา้ จะอายเขาไม่อยากชมเด็ดเจา้ ดมทิง้ ไป อยากเป็นหงสเ์ หริ หาวอยากเป็นดาวเลศิ ลอยวไิ ล (ซ้า) อย่กู บั บา้ นไม่ชอบใจ หนมี าอยคู่ ่ายไมบ่ อกใครเลย เอ๋ยโอละหนา่ ย โอละหน่ายหนอ่ ยเอย เอ่อ เอย…… ************ เพลง ฟ้าราตรี ค่านฟ้ี า้ มีพระจนั ทร์สอ่ งหลา้ ทอแสงงามตา……สู่ฟากฟ้าราตรี เขา้ ค่ายศนู ยว์ ทิ ย์ ร่นุ น้ี สุขเกษมเปรมปรีดิ์ สขุ ฤดี ช่ืนบาน โน่นพ่ี นน่ี ้อง เรามาร้องเพลงกัน เพลิดเพลนิ ใจฉนั ฟ้ามสี วรรค์ราไร เราไมเ่ กยี จคร้าน เราทางาน ร่วมใจ (พรอ้ ม) ตบมืออย่าช้าประสานใจเราสุขใจจรงิ ๆ (ซา้ ) ************ เพลง เพ่ือน เพอื่ น…เพอ่ื นไมเ่ คยทงิ้ เพื่อน ยามร่วมงาน เราเหมอื น มีหัวใจ เดยี วกนั เพอ่ื น…เพอ่ื นไมล่ ืม สัมพนั ธ์ ยามรว่ มงาน เราฝัน สารพัน เพ่อื นเอย กินนา้ ร่วมแกว้ รว่ มขัน… กนิ ข้าว หมอ้ เดยี วกนั มันจงั เลย ความทุกข์ เราตา่ ง เปิดเผย… สขุ ทกุ ข์ ใดเลย เพอื่ นกัน ************ 39
เอกสารอา้ งอิง กุลศักด์ิ เรอื งคงเกียรติ. (2523). เพลงรกั นอ้ ง. [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า: https://www.dek-d. com (19 มิถุนายน 2566) . (2523). เพลงรกั น้อง. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: https://www. youtube.com (19 มิถุนายน 2566) ชาลี อนิ ทรวิจิตร, อาจินต์ ปญั จพรรค์, สุรพล โทณะวณิก, เนาวรตั น์ พงษไ์ พบลู ย์, กุลทรัพย์ เกษแมน่ กจิ , สงา่ อารมั ภรี , นคร ถนอมทรัพย์, แมนรัตน์ ศรีกรานนท,์ และประสทิ ธิ์ พะยอมยงค์. (2542). เพลงภมู แิ ผน่ ดิน นวมนิ ทร์มหาราชา. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: https://www.bloggang.com (9 มิถุนายน 2566) ประภาส ชลศรานนท์, และจกั รพฒั น์ เอีย่ มหนนุ . (2558). เพลงพระพุทธเจา้ . [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า: https://www.dmc.tv (20 มถิ ุนายน 2566) พลศึกษา, กรม. (2557). คู่มือผู้นานันทนาการ. กรงุ เทพฯ : สานกั งานกิจการโรงพมิ พ์ องค์การสงเคราะห์ ทหารผา่ นศกึ . พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2560). เพลงดจุ ดังสายฟา้ .[ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: https://www.springnews.co.th (9 มถิ นุ ายน 2566) นวล ปาจิณพยัคฆ์., พันเอกหลวงสารานุประพันธ์, และปิติ วาทยะกร., พระเจนดุริยางค์. (2482). เพลงชาติ. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: http://drupal.in.th (20 มิถนุ ายน 2566) ณชั ชา เบญจกุล และส.ต.อ.วิชา แกว้ คง. (2564). เพลงศูนย์วิทยาศาสตร์. ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษาปัตตานี. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า: https://www.youtube.com (20 มถิ นุ ายน 2566) ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร., พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหา, และสมภพ จันทรประภา. เพลงเราสู้. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า: https://web.ku.ac.th (9 มถิ นุ ายน 2566) มงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว., พระบาทสมเดจ็ พระ. เพลงสยามมานสุ ติ. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: https://www.baanjomyut.com (9 มถิ ุนายน 2566) วิเชียร ตันติพิมลพันธ์, และวริ ชั อยู่ถาวร. (2561) เพลง สดุดจี อมราชา. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า: https://th.wikipedia.org (9 มถิ นุ ายน 2566) สรุ นิ ทร์ ปยิ านนั ท์. (2520). เพลงอยธุ ยาราลกึ . [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: https://www.museum-press.com (21 มิถุนายน 2566) . (มปป). เพลงบางระจัน. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: https://www. youtube.com (21 มถิ นุ ายน 2566) 40
หน่วยท่ี 6 กิจกรรมเตรยี มความพร้อม ความหมายของกิจกรรมเตรียมความพร้อม กิจกรรมเตรยี มความพร้อมเป็นกิจกรรมเพื่อดึงดูดความสนใจใหท้ ุกคนเข้าร่วมกิจกรรม เป็นกิจกรรม ง่าย ๆ ท่ีทุกคนทาได้ ทาให้เกิดความกระตือรือร้นสนกุ สนานคร้ืนเครง เปน็ การเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของสมาชิกทีจ่ ะเข้าร่วมกจิ กรรมหลักต่อไป ความสาคัญของกจิ กรรมเตรยี มความพร้อม ในชว่ งแรกของการเรยี นรู้หรือการฝึกอบรม ควรจัดให้มีกิจกรรมท่ีใช้เวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 5 นาที ทีร่ วม ความสนใจของทกุ ๆ คนให้มาอยทู่ ี่วทิ ยากร โดยหยุดพฤติกรรมสว่ นตัวมาทากิจกรรมกลุ่มตามที่วิทยากรเลือก นามาใช้กับผู้ร่วมกิจกรรมเพ่ือกระตุ้นสร้างความครึกครื้นทาให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่า และพร้อมท่ีจะเรียนรู้ หรือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ กิจกรรมเตรียมความพร้อมหรือกิจกรรมสร้างบรรยากาศก่อนเรียนตองเลือกหรือ นาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับเพศ วัย สถานภาพ สถานที่ระยะเวลา รวมทั้งต้องเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับ ผู้นากิจกรรมเองด้วยกิจกรรมสร้างความสนใจนี้ ซึ่งกิจกรรมเหล่าน้ีอาจใช้เมื่อผู้ร่วมกิจกรรมเริ่มขาดความ สนใจหรือง่วงเหงาหาวนอนกไ็ ด้ 41
ตัวอย่างกจิ กรรมเตรียมความพรอ้ ม กจิ กรรมท่ี 1 ตบมอื รวมพลัง การตบมือเปน็ ชดุ และออกเสียงพรอ้ ม ๆ กนั เป็นอกี กิจกรรมหน่งึ ท่ใี ชใ้ นการรวมความสนใจอย่างมีพลงั กระตุ้นให้เกิดความตืน่ ตัวไดเ้ ป็นอย่างดี และยังสามารถใชแ้ ขง่ ขันกันระหว่างกลุ่มได้อีกด้วย วธิ ีการจัดกจิ กรรม 1. ผนู้ าเลอื กรปู แบบการตบมือให้เหมาะสมกับผู้เล่น สอนให้นบั ก่อนแลว้ จึงพาตบมอื ตัวอย่างเชน่ แบบที่ 1 ตบมอื 2-5/2-5 ใหน้ ับ 1-2/3-4-5/1-2/3-4-5 แบบท่ี 2 ตบมือ 2-5/1-2 ใหน้ บั 1-2/3-4-5/1-2/1-2/1 แบบที่ 3 ตบมอื 1-3/1-2 ใหน้ ับ 1-2-3/1-2-3/1-2/1-2/1 แบบท่ี 4 ตบมือ 1-3/1-7 ให้นับ 1-2-3/1-2-3/1-2-3-4-5-6-7 แบบท่ี 5 ตบมอื 1-5/1-5 ใหน้ บั 1-2-3-4-5/1-2-3-4-5 /1-2-3-4-5 2. ผู้นาทาความตกลงกับผู้เล่นว่าถ้าผู้นาพูด “ศูนย์วิทย์ฯ รวมพลัง” (กรณีผู้เข้ารับการอบรมเป็น บุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา) ให้ผู้เล่นตบมือ 1 ชุด ด้วยความพร้อมเพรียงและเสียงดังโดยทาท่า ประกอบ เช่น ชูมอื ขึน้ และพูดวา่ “ศนู ย์วทิ ยฯ์ สู้ สู้” 3. แบ่งกลุ่มแข่งขันเริ่มจาก 2 กลุ่ม โดยสังเกตจากความพร้อมเพรียงและความร่วมมือในการเปล่งเสียง เร่มิ จากกลุ่มละ 1 ชุด แล้วเพ่มิ จานวนเปน็ 2-3 ชดุ หลังจากนั้นแบง่ กลุม่ เพ่ิมเป็น 4 กลมุ่ หรือ 8 กลมุ่ ยอ่ ย ตาม การให้สัญญาณเร่ิมจากผู้นา ผู้นาจะให้สัญญาณเรียงไปท่ีละกลุ่มซึ่งจะเริ่มต้นและสิ้นสุดไม่พร้อมกัน โดยแต่ ละกลุ่มจะต้องรักษาจังหวะต้ังแต่เริ่มต้นจนส้ินสุด กลุ่มใดทาไม่พร้อมเพรียงหรือผิดจังหวะให้รับรางวัลพิเศษ ทั้งกล่มุ เพ่อื แสดงความสามารถใหก้ ลุ่มอ่ืน ๆ ชม 5. ผู้นาสรุปเร่ืองความมีสติ ความตั้งใจ ความสามัคคี เป็นหนึ่งเดียว ความพร้อมเพรยี ง การไม่สับสน ไขวเ้ ขวกบั ส่งิ แวดล้อมทมี่ ารบกวนการร่วมมือชว่ ยกนั อยา่ งเต็มที่ เปน็ ตน้ กจิ กรรมท่ี 2 ตบมือรวมความสนใจ การตบมือเป็นอีกกิจกรรมหน่ึงที่ผู้เรียนสามารถตอบสนองได้โดยง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อนไม่ต้องใช้ อุปกรณ์อืน่ มาช่วย เป็นกิจกรรมที่ก่อใหเ้ กิดความสนใจ กระตุ้น ปลุกเร้าให้ทราบว่ากิจกรรมในชั้นเรียนได้ เร่ิมตน้ ขนึ้ แลว้ วธิ ีการจดั กิจกรรม 1. ผู้นาบอกว่า “ทุกคนตบมือ 1 คร้ัง” แล้วพูดซ้า ๆ สัก 2-3 รอบ ผู้เล่นที่ได้ยินจะเริ่มทาตามและทา ตาม ๆ กัน ผู้นาสังเกตว่าผู้เล่นส่วนใหญ่หรือทุกคนเร่ิมปฏิบัติตามแล้วให้พูดว่า “ผู้ชายตบมือ 1 ครั้ง” “ผู้หญิงตบมือ 1 ครั้ง” หรือใช้คาพูดอ่ืน เช่น “คนหล่อตบมือ 1 คร้ัง” “คนสวยตบมือ 1 คร้ัง” ผู้นาคอย สงั เกตและคอยบอกคนท่ตี บมือผิดประเภทวา่ ใหต้ ้ังใจฟงั ให้ดอี ยา่ เผลอลมื ตัว 2. ผู้นาเพมิ่ กจิ กรรมอื่น ๆ เชน่ “ทกุ คนตบมือ 1 คร้งั ตบมอื 2 ครั้ง แล้วยกมือ เฮ”้ “ทกุ คนตบมือ 2 คร้งั แลว้ เอามือป้องหู” “ทุกคนยนื ขนึ้ กระโดด 1 คร้ัง กระโดดตบ 2 ครัง้ ” 42
กจิ กรรมที่ 3 ตบมือมหาสนุก กิจกรรมตบมือมหาสนุกเป็นการตบมือเป็นชุดที่ต้องใช้สติ สมาธิ และทักษะในการปฏิบัติผู้นาต้อง เริ่มจากช้าไปหาเร็ว เร่มิ จากรูปธรรมไปหานามธรรม เริม่ จากงา่ ยไปหายาก และปริมาณนอ้ ย ๆ ไปหาการทา กิจกรรมทม่ี ปี รมิ าณมากข้ึน วธิ ีการจดั กจิ กรรม 1. ผู้นาสมมตใิ ห้มีกลองขนาดเล็ก และกลองใหญอ่ ยดู่ า้ นหน้าลาตัว 2. เสียงท่ีตีกลองเล็ก จะดัง “แต๊ก” เสียงท่ตี ีกลองใหญ่ จะดัง “ต๊มึ ” 3. ผนู้ าให้ผูเ้ ล่นใช้มอื ทาทา่ ตกี ลองสลับกนั และออกเสยี งว่า “แต๊ก ตึม๊ /แตก๊ ตึม๊ ” เปน็ จังหวะที่ 1 4. จังหวะท่ี 2 ให้ทาท่าตกี ลองและออกเสยี งว่า “แตก๊ แต๊ก ตม๊ึ /ต๊มึ แต๊ก แต๊ก ต๊มึ ” 5. เปลีย่ นจากการทาท่าตกี ลองโดยจงั หวะทอ่ี อกเสียง “แตก๊ ” ให้ใช้มอื ทัง้ 2 ตบหน้าขา จงั หวะท่อี อก เสยี ง “ตม๊ึ ” ใหต้ บมอื และเปลยี่ นเป็น “ตกั ” และ “มอื ” แทน รวมทงั้ 2 จังหวะเปน็ 1 ชุด ชุดที่ 1 “ตัก มอื ตัก มอื /ตัก ตัก มือ/มือ ตัก ตกั มือ” ชดุ ท่ี 2 “ตกั ตัก มอื /มอื หมุน หมุน มอื /” คาว่าหมนุ ใหก้ ามือทั้งสองแลว้ หมันรอบกนั ชุดที่ 3 “ตัก ตัก มือ/มือ ศอก ศอก มอื /” คาว่าศอก ให้ยกมือขวาตั้งฉากกับพน้ื แล้วใช้มอื ซ้ายตบ บรเิ วณศอกของมือขวา ชุดที่ 4 “ตัก ตัก มือ/มอื เพ่ือน เพื่อน มือ/” คาว่าเพื่อน ให้ใช้ซา้ ยตบมือกับเพอื่ นให้ใช้มือซ้ายตบ มอื กับเพื่อนทีน่ ่ังอยดู่ ้านซา้ ย และตบมือกบั เพื่อนทีน่ ่ังอย่ดู ้านขวา กจิ กรรมท่ี 4 ตบมอื เห็นด้วย กิจกรรมตบมอื เห็นดว้ ยเป็นการให้ผเู้ รยี นตั้งใจฟงั และตอบสนองโดยการตบมือตามข้อตกลงท่ีกาหนดขึ้น วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 1. ผู้นาทาความตกลงกับผู้เล่นว่าต่อไปน้ีผู้นาจะบอกชื่อที่เป็นสัตว์ ถ้าผู้เล่นเห็นด้วยให้ตบมือ 2 คร้ัง ถ้าผู้นาพูดช่ืออย่างอื่นท่ีไม่ใช่สัตว์ไม่ต้องตบมือ ถ้าใครเผลอตบมือ แสดงว่าคิดช้า คิดไม่ถูก จะให้แสดง ความสามารถพิเศษ ตัวอย่างเชน่ ผนู้ าพูดว่า “ช้าง” ผู้เล่นตบมือ 2 ครง้ั ผู้นาพดู วา่ “ลงิ ” ผเู้ ลน่ ตบมือ 2 ครั้ง ผู้นาพดู ว่า “สม้ ” ผู้เลน่ ไมต่ อ้ งตบมือ ผู้นาพูดว่า “แมว” ผเู้ ล่นตบมือ 2 ครงั้ ผู้นาพดู วา่ “กล้วย” ผูเ้ ลน่ ไม่ต้องตบมือ ผูน้ าพูดว่า “ช้าง” ผูเ้ ลน่ ตบมอื 2 ครง้ั 2. ผ้นู าทาความตกลงกบั ผ้เู ลน่ วา่ ตอ่ ไปน้ผี ู้นาจะบอกเลขท่เี ปน็ เลขค่ี คือ 1-3-5-7-9 ให้ตบมอื 2 ครงั้ ถ้าผนู้ าจะบอกเลขคู่ คือ 2-4-6-8-10 ไมต่ ้องตบมอื ใครท่เี ผลอใจลอยไม่ค่อยฟัง อาจตบมือผดิ จงั หวะท่ีควรตบ ใหท้ ากจิ กรรมแสดงความสามารถพิเศษ 43
เอกสารอา้ งอิง ชยั วัฒน์ เล่าสบื สกลุ ไทย. (2553). เอกสารคาสอนรายวิชาดนตรีและกจิ กรรมการเคล่ือนไหวสาหรบั เด็ก. ลาปาง : สถาบนั พลศกึ ษาวทิ ยาเขตลาปาง. พลศึกษา, กรม. (2557). คู่มอื ผ้นู านนั ทนาการ. กรุงเทพฯ : สานักงานกิจการโรงพมิ พ์ องค์การสงเคราะห์ ทหารผา่ นศกึ . 44
บรรณานุกรม กุลศักด์ิ เรืองคงเกียรติ. (2523). เพลงรกั นอ้ ง. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า: https://www.dek-d. com (19 มิถนุ ายน 2566) . (2523). เพลงรักน้อง. [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า: https://www. youtube.com (19 มถิ นุ ายน 2566) จรนิ ทร์ ธานรี ัตน์. (2524). เกม. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ จนั ทร์ ผ่องศรี. (2537). นนั ทนาการ. กรุงเทพฯ : สานกั งานหา้ งหนุ้ สว่ น เอส ดี เพรส. จินดา ปัน้ บรรจง และสุวรรณา แตงอ่อน. (2547). การจดั กจิ กรรมนันทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ระสานมติ ร. ชาลี อินทรวจิ ิตร, อาจินต์ ปัญจพรรค์, สุรพล โทณะวณกิ , เนาวรตั น์ พงษไ์ พบลู ย์, กลุ ทรัพย์ เกษแม่นกิจ, สงา่ อารัมภีร, นคร ถนอมทรพั ย์, แมนรตั น์ ศรีกรานนท,์ และประสทิ ธ์ิ พะยอมยงค์. (2542). เพลงภมู แิ ผน่ ดิน นวมนิ ทร์มหาราชา. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: https://www.bloggang.com (9 มิถนุ ายน 2566) ชยั วัฒน์ เล่าสบื สกุลไทย. (2553). เอกสารคาสอนรายวิชาดนตรีและกิจกรรมการเคลื่อนไหวสาหรบั เดก็ . ลาปาง : สถาบนั พลศกึ ษาวิทยาเขตลาปาง. ณัชชา เบญจกลุ และส.ต.อ.วชิ า แกว้ คง. (2564). เพลงศูนย์วทิ ยาศาสตร์. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษาปตั ตานี. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: https://www.youtube.com (20 มิถุนายน 2566) เทพประสิทธ์ิ กุลธวัชวิชยั . (2551). เอกสารคาสอนรายวชิ า 3906303 การเปน็ ผนู้ านันทนาการ. กรงุ เทพฯ : กล่มุ วชิ านนั ทนาการศาสตรแ์ ละการจัดการกีฬา สานักวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. (อัดสาเนา) นวล ปาจิณพยัคฆ์., พันเอกหลวงสารานุประพันธ์, และปิติ วาทยะกร., พระเจนดุริยางค์. (2482). เพลงชาต.ิ [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://drupal.in.th (20 มิถนุ ายน 2566) ประภาส ชลศรานนท์, และจกั รพัฒน์ เอีย่ มหนนุ . (2558). เพลงพระพุทธเจา้ . [ออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า: https://www.dmc.tv (20 มถิ ุนายน 2566) ปัญญา สมบตั ินมิ ิต. (2552). การใชเ้ กมในการฝกึ อบรม. ปทุมธานี : สถาบนั การพลศึกษา วิทยาเขตกรงุ เทพ. พงศ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2560). เพลงดุจดังสายฟา้ .[ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: https://www.springnews.co.th (9 มถิ นุ ายน 2566) พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2525). กรุงเทพ : บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั . พลศกึ ษา, กรม. (2557). คู่มือผนู้ านนั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : สานกั งานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ . . (2552). คมู่ ือการจัดกจิ กรรมนนั ทนาการ “การเล่นของเด็ก”. กรุงเทพฯ : กลุ่มนันทนาการ สานักงานนนั ทนาการ กรมพลศึกษา. . (2544). เอกสารประกอบการเรยี นการสอน เร่อื ง นนั ทนาการเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสนิ ค้าและพสั ดุภัณฑ.์ พฒั นาการกฬี าและนันทนาการ, สานกั งาน. (2550). คู่มือการจดั กิจกรรมนนั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. . (2547). เทคนิคการเป็นผ้นู านนั ทนาการ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การรบั สง่ สินคา้ และพสั ดภุ ัณฑ์. 45
บรรณานุกรม (ตอ่ ) ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร., พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหา, และสมภพ จันทรประภา. เพลงเราสู้. [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า: https://web.ku.ac.th (9 มถิ นุ ายน 2566) มงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ วั ., พระบาทสมเดจ็ พระ. เพลงสยามมานสุ ติ. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: https://www.baanjomyut.com (9 มถิ นุ ายน 2566) วเิ ชยี ร ตันตพิ มิ ลพนั ธ์, และวริ ชั อยู่ถาวร. (2561) เพลง สดุดีจอมราชา. [ออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า: https://th.wikipedia.org (9 มิถนุ ายน 2566) สมบัติ กาญจนกจิ และอุไรวรรณ ขมวฒั นา. (2541). นันทนาการขัน้ นา. กรงุ เทพฯ : เอกสารคาสอน คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สกลุ โสรจั น.์ เกม. มหาสารคาม : วิทยาลยั พลศึกษา จงั หวัดมหาสารคาม. สุรนิ ทร์ ปิยานันท์. (2520). เพลงอยธุ ยาราลกึ . [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.museum-press.com (21 มิถุนายน 2566) . (มปป). เพลงบางระจนั . [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า: https://www. youtube.com (21 มิถุนายน 2566) Donald C Weiskopt. (1982). Recreation and Leisure : Improving the Quality of Life, 2d ed. Boston : Allyn and Bacon. 46
Search