รายงาน เร่ือง ความฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ : Digital Intelligence Quotient) รายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการส่อื สารการศึกษา (PC62506) เสนอ อ. สธุ ิดา ปรชี านนท์ จดั ทำโดย นางสาวอุบลรัตน์ บุญธรรม รหัส 634110032 ชั้นปที ่ี 2 สังคมศกึ ษา หมู่ 1 รายงานนี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่อื การสื่อสารการศกึ ษา (PC62506) คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบงึ
ก คำนำ รายงานเล่มนี้จดั ทำขึ้นเพื่อการศึกษาค้นควา้ เรื่องความฉลาดทางดิจิทัล และความเป็นพลเมืองดิจิทัล วา่ มีความหมาย ความสำคญั และทักษะดา้ นใดบ้าง ซึ่งในรายงานเลม่ นีจ้ ะมีเน้ือหาในเรอ่ื งของความหมาย และ ทักษะที่สำคัญดังนี้ ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของตนเอง ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั ทักษะในการ คิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลก ออนไลน์ ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งานทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ ทักษะในการรักษาความปลอดภัย ของตนเองในโลกออนไลน์ ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีจรยิ ธรรม ผจู้ ัดทำหวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ รายงานเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์กับผู้ท่ีสนใจ หรือนกั ศกึ ษา ท่ีกำลังศึกษาหา ขอ้ มลู เรื่องความฉลาดทางดจิ ิทลั หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด ผู้จดั ทำขอน้อมรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่นี ้ดี ว้ ย ผจู้ ดั ทำ นางสาวอุบลรัตน์ บญุ ธรรม
สารบญั ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบญั ข ความฉลาดทางดจิ ิทลั คืออะไร 1 ความเป็นพลเมืองดิจิทลั คืออะไร 2 ทกั ษะในการรักษาอตั ลักษณ์ท่ดี ีของตนเอง 2 ทักษะในการรกั ษาข้อมลู สว่ นตัว 3 ทักษะในการคิดวิเคราะหม์ ีวจิ ารณญาณท่ดี ี 4 ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ 5 ทักษะในการรับมือกบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ 6 ทักษะในการบริหารจัดการขอ้ มูลทผ่ี ้ใู ชง้ านท้งิ ไว้บนโลกออนไลน์ 7 ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ 7-8 ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจรยิ ธรรม 8-9 บรรณานกุ รม 10
1 ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลุ่มของความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรับรู้ ที่จะทำให้คนคนหนึ่งสามารถเผชิญกับความท้าทายบนเส้นทางของชีวิตในยุคดิจิทัล และ สามารถปรับตัวให้เข้ากับชีวิตดิจิทัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยมที่ จำเปน็ ต่อการใช้ชีวติ ในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอกี นยั หนึ่งคือ ทักษะการใช้สอื่ และการเข้าสังคมในโลก ออนไลน์ ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานที่เกิดจากความ ร่วมมือ กันของภาครัฐและเอกชนทั่วโลกประสานงานรว่ มกับ เวิลด์อีโคโนมิกฟอรั่ม (World Economic Forum) ที่มุ่งมนั่ ให้เด็กๆ ทุกประเทศได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพและใช้ชีวิต บนโลกออนไลน์อย่าง ปลอดภัยด้วยความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีสมยั ใหม่ ดังนั้น ทักษะความฉลาดทางดิจิทัลจึงควรที่ จะถูกนำมาใช้ใน การพัฒนาคณุ ภาพและความสามารถของเยาวชนไทย
2 ความเปน็ พลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship) คืออะไร พลเมอื งดจิ ิทลั หมายถงึ สมาชกิ บนโลกออนไลน์ ท่ใี ชเ้ ครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต ซง่ึ มคี วามหลากหลายทางเชื้อ ชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม ดังนั้น พลเมืองดิจิทัลทุกคนจึงต้องมี ‘ความเป็นพลเมืองดิจิทัล’ ที่มีความฉลาด ทางดิจิทัลบนพื้นฐานของความรับผิดชอบ การมีจริยธรรม การมีส่วนร่วม ความเห็นอกเห็นใจและเคารพผู้อืน่ โดย มุ่งเน้นความเป็นธรรมในสังคม ปฏิบัติและรักษาไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างความสมดุลของการอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข การเป็นพลเมอื งดิจิทัลนน้ั มีทักษะสำคัญ 8 ประการ ท่คี วรบม่ เพาะให้เกิดขึ้นกับพลเมอื งดจิ ิทลั ทุกคนในศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี 1.ทักษะในการรกั ษาอตั ลักษณท์ ่ดี ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) อตั ลกั ษณ์ คือ ลกั ษณะเฉพาะบุคลทบ่ี ่งบอกความเป็นตัวตนของคนๆ นัน้ ซงึ่ ไม่ว่าจะอยู่ในโลกออนไลน์หรือใน ชีวิตจริง ก็ควรมีอัตลักษณ์เชิงบวก มีวิจารณญานในการรับส่งข่าวสารและแสดงความคิดเห็น รับผิดชอบต่อการ กระทำ ไม่ละเมดิ คุกคามผใู้ ช้งานออนไลน์คนอ่นื ๆ พ่อแมช่ ่วยลกู สร้างอตั ลักษณท์ ีด่ ไี ด้โดย - สร้างความมั่นคงทางอารมณ์ให้ลูก ให้เขาเห็นคุณค่าในตนเอง เพราะการเห็นคุณค่าในตนเองจะช่วย พฒั นาอตั ลักษณท์ ี่ดแี ละมน่ั คงได้ - สนับสนุนให้ลูกเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในชีวิตจริง เพื่อให้เขาเรียนรู้การรับผิดชอบตามบทบาท หน้าท่ขี องตน ซึง่ จะสง่ ผลตอ่ อัตลักษณ์ท่ดี ีในโลกออนไลนไ์ ด้ - ไม่เปรียบเทียบหรือทำให้ลูกสญู เสียความมั่นใจ เด็กๆ ท่ถี กู เปรยี บเทยี บ ไมม่ ่นั ใจในตนเอง มีแนวโน้มท่ีจะ สรา้ งอัตลักษณ์ปลอมในโลกออนไลนไ์ ด้ นอกจากน้ียงั ตอ้ งมีความสามารถในการสร้างสมดุล บรหิ ารจัดการ รักษาอัตลกั ษณ์ทด่ี ีของตนเองไว้ให้ได้ ทั้งใน ส่วนของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนนี้ประเด็นเรื่องการสร้างอัตลักษณ์ออนไลน์ถือเป็นปรากฏการณ์ ใหม่ ที่ทำให้บุคคลสามารถแสดงออกถึงความเป็นตัวตนต่อสังคมภายนอก โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารผ่าน เว็บไซต์เครือข่ายสังคมในการอธิบายรูปแบบใหม่ของการสื่อสารแบบมีปฏิสัมพันธ์ทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการ แสดงออกเกยี่ วกบั ตัวตนผา่ นเว็บไซต์เครือขา่ ยสังคมตา่ งๆ
3 2.ทกั ษะในการรักษาขอ้ มลู ส่วนตวั (Privacy Management) ดุลพนิ จิ ในการบริหารจัดการข้อมลู สว่ นตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่อปอ้ งกันความเป็นส่วนตัว ท้ังของตนเองและผู้อื่นเป็นส่ิงสำคัญท่ีต้องประกอบอยู่ในพลเมืองดิจิทัลทุกคน และพวกเขาจะต้องมีความตระหนัก ในความเท่าเทียมกันทางดิจิทัล เคารพในสิทธิของคนทุกคน รวมถึงต้องมีวิจารณญาณในการรักษาความปลอดภัย ของข้อมูลตนเองในสังคมดิจิทัล รู้ว่าข้อมูลใดควรเผยแพร่ ข้อมูลใดไม่ควรเผยแพร่ และต้องจัดการความเสี่ยงของ ขอ้ มูลของตนในสอ่ื สงั คมดจิ ทิ ลั ไดด้ ว้ ย เด็กๆ ควรเข้าใจว่า โซเชียล มีเดีย ต่างๆ เป็นพื้นที่ส่วนตัว ที่อยู่บนแพลตฟอร์มสาธารณะ ถึงแม้จะตั้งค่า ให้เห็นแค่เพื่อนและคนรู้จัก แต่ก็มีโอกาสที่ภาพ ข้อมูล หรือข้อความที่เราแชร์อาจหลุดออกไปสู่สาธารณะได้ การ ใช้โซเชียล มีเดีย จึงจำเป็นต้องระวังรักษาข้อมูลของตนเองตลอดเวลา พ่อแม่สอนเด็กๆ ให้รักษาข้อมูลส่วนตัวได้ ดงั น้ี - สอนลกู ใหเ้ ข้าใจเรือ่ งนโยบายความเปน็ ส่วนตวั ของแต่ละแพลตฟอรม์ ออนไลน์ และช้ีให้ลูกตระหนกั เรื่อง Digital footprint วา่ สง่ิ ใดท่ีหลดุ เขา้ สโู่ ลกออนไลนแ์ ล้วจะคงอยู่ตลอดไป แม้วา่ เราจะลบออกไปแล้วก็ตาม กอ่ นนำข้อมูล รูปภาพ คลปิ ต่างๆ เขา้ สโู่ ลกดจิ ทิ ลั เดก็ ๆ จงึ ควรพจิ ารณาให้ดีถึงผลในระยะยาว - สอนใหล้ ูกร้วู า่ ข้อมูลอะไรท่ไี ม่ควรแบง่ ปันในโลกออนไลน์ เช่น ท่ีอยู่ หมายเลขบตั รสำคัญต่างๆ หรือ กระท่ังการแชรโ์ ลเคช่นั หรือเชค็ อินแบบเรียลไทม์ ก็อาจเป็นเร่ืองที่ไมป่ ลอดภัย - ทำให้ลกู เข้าใจว่าการตง้ั รหสั ผ่านต่างๆ เปน็ เรื่องสำคญั รหสั ผ่านท่ีดคี วรคาดเดายาก และไมค่ วรแบง่ ปนั รหัสผ่านตา่ งๆ กบั ใคร
4 3.ทักษะในการคิดวเิ คราะหม์ วี ิจารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งข้อมูลที่ถกู ต้องและข้อมูลทีผ่ ดิ ข้อมูลทม่ี ีเนื้อหาดแี ละข้อมูล ที่เข้าข่ายอันตราย รู้ว่าข้อมูลลักษณะใดที่ถูกส่งผ่านมาทางออนไลน์แล้วควรตั้งข้อสงสัย หาคำตอบให้ชัดเจนก่อน เชื่อและนำไปแชร์ ด้วยเหตุนี้ พลเมืองดิจิทัล จึงต้องมีความรู้ความสามารถในการเข้าถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สงั เคราะห์ และส่ือสารข้อมลู ข่าวสารผา่ นเคร่ืองมือดิจิทัล ซ่งึ จำเป็นตอ้ งมีความรู้ด้านเทคนิคเพ่ือใช้เคร่ืองมือดิจิทัล เชน่ คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต ได้อยา่ งเชี่ยวชาญ รวมถึงมีทกั ษะในการรู้คดิ ขนั้ สงู เช่น ทกั ษะการคดิ อย่าง มีวจิ ารณญาณ ทจ่ี ำเป็นตอ่ การเลอื ก จัดประเภท วเิ คราะห์ ตีความ และเขา้ ใจข้อมูลขา่ วสาร มีความรแู้ ละทักษะใน สภาพแวดล้อมดิจิทลั การรู้ดิจิทัลโดยมุ่งให้เป็นผู้ใช้ที่ดี เป็นผู้เข้าใจบรบิ ทที่ดี และเป็นผู้สรา้ งเน้ือหาทางดิจทิ ัลท่ดี ี ในสภาพแวดล้อมสงั คมดิจิทัล การคิดวิเคราะห์เป็นทักษะที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งในการเป็นพลเมืองดิจิทัล เพราะในโลกออนไลน์มีข้อมูล ขา่ วสารมากมายที่จำเปน็ ตอ้ งได้รับการวเิ คราะห์กล่นั กรองก่อนวา่ เปน็ ข้อมูลท่ีถูกต้องหรือไม่ รวมท้งั ยงั ต้องสามารถ แยกแยะข้อมูลที่เป็นประโยชน์ออกจากข้อมูลที่เป็นอันตราย รู้เท่าทันไม่ตกเป็นเครื่องมือของปฏิบัติการโฆษณา ชวนเชื่อตา่ งๆ พอ่ แมช่ ว่ ยใหล้ กู มีทักษะการคดิ วเิ คราะหไ์ ด้ ดงั นี้ - ฝกึ ใหล้ กู หมั่นต้งั คำถาม ไม่เชือ่ อะไรง่ายๆ แต่ควรตรวจสอบแหลง่ ทีม่ า และหาข้อมูลเพิ่มเติมจนม่ันใจก่อน ปกั ใจเชอ่ื - สอนวิธีการหาข้อมูลที่ถูกต้อง เว็บไซต์แบบใดเชื่อถือได้ เว็บไซต์แบบใดไม่น่าไว้วางใจ รวมทั้งสอนลูกใช้ Search engine การคีย์คำค้นหาที่เหมาะสม
5 4. ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) ทักษะในการบริหารเวลากับการใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างโลก ออนไลน์และโลกภายนอก นบั เปน็ อีกหนง่ึ ความสามารถท่ีบ่งบอกถึง ความเปน็ พลเมืองดิจทิ ัล ได้เป็นอยา่ งดี เพราะ เป็นที่รู้กันอยู่แล้วว่าการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม ท้ัง ความเครียดต่อสุขภาพจิตและเป็นสาเหตุก่อให้เกิดความเจ็บป่วยทางกาย ซึ่งนำไปสู่การสูญเสียทรัพย์สินเพื่อใช้ รักษา และเสียสขุ ภาพในระยะยาวโดยรเู้ ทา่ ไม่ถงึ การณ์ ทุกวันนี้เราแทบจะทำทุกอย่างได้ออนไลน์ แต่เด็กๆ ก็จำเป็นต้องเรียนรู้การจัดสรรเวลาให้สมดุลระหว่าง โลกออนไลน์ และโลกภายนอก พอ่ แม่ช่วยสนบั สนุนใหล้ กู จัดสรรเวลาอย่างเหมาะสมได้ โดย - จัดให้มีกิจวัตรประจำวนั ตามเวลา เช่น เมื่อเลิกเรียนกลับมาบ้าน ควรอาบน้ำ กินข้าว ทำการบ้าน แล้วจงึ ใช้สมารท์ โฟนเพื่อผ่อนคลายได้ และจำกดั เวลาการใช้ในแตล่ ะวนั รวมท้ังควรมีเวลาที่ทุกคนในบ้านละจาก หนา้ จอ เพื่อพูดคุยและใช้เวลาร่วมกันดว้ ย - เป็นตัวอย่างทดี่ ใี นการจัดสรรเวลาใหส้ มดลุ ระหวา่ งออนไลน์และโลกภายนอก ไมใ่ หค้ วามสำคัญกับหน้าจอ มากกว่าการมองหนา้ สบตาคนทม่ี ีชวี ติ จรงิ ๆ ตรงหน้า ควรละสายตาจากหนา้ จอ เมื่อลกู พูดคยุ ด้วยทุกครั้ง - ครอบครัวควรชวนกันทำกิจกรรมอื่นๆ นอกเหนือจากการเฝ้าดูหน้าจอของแต่ละคน เช่น ชวนกันออกไป ปั่นจกั รยาน เดนิ เล่นในสวนสาธารณะ ปลูกต้นไม้ ฯลฯ
6 5.ทกั ษะในการรับมอื กบั การคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) Cyberbullying คือ ปัญหาที่มาพร้อมกับการใช้โซเชียล มีเดียอย่างแพร่หลาย เมื่ออินเทอร์เน็ตกลายเป็น เครื่องมือให้เกิดการคุกคามกลั่นแกล้งกันได้ง่ายขึ้น ทั้งจากคนรู้จักหรือจากคนแปลกหน้า โดยการ กลั่นแกล้ง ออนไลน์มีหลายรูปแบบ เช่น ใช้ข้อความว่าร้าย ดูหมิ่น ใช้ถ้อยคำหยาบคาย การคุกคามทางเพศ การหลอกลวง การแบล็กเมล์ การสร้างกลุ่มในโซเชียล มีเดีย เพื่อโจมตี ไปจนถึงการแอบอ้างตัวตน พ่อแม่สามารถสอนให้ลูก รับมอื กบั การกล่ันแกล้งออนไลนไ์ ดโ้ ดย - หมัน่ สังเกตพฤตกิ รรมของลูก หากลูกมพี ฤตกิ รรมเปลย่ี นไป เชน่ ซึมเศรา้ หวาดระแวง วติ กกงั วล ควรถาม หาสาเหตุ และเป็นผู้รับฟังที่ดี ให้คำแนะนำที่เหมาะสม - ทำให้ลูกรู้ว่า พ่อแม่พร้อมที่จะรับฟังและช่วยเหลือ หากลูกมีปัญหาถูกกลั่นแกล้งออนไลน์ ควรแจ้งให้ ผูใ้ หญร่ ับรู้ และลูกควรปดิ กัน้ การสื่อสารจากผูท้ กี่ ลั่นแกล้งทนั ที - หากถูกกลั่นแกล้งออนไลน์ ไม่ควรตอบโต้ แต่อาจแคปข้อความเก็บไว้ เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการ ดำเนินการทางกฏหมาย จากข้อมูลทางสถิติล่าสุด สถานการณ์ในเรื่อง Cyber bullying ในไทย มีค่าเฉลี่ยการกลั่นแกล้งบนโลก ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลกอยู่ท่ี 47% และเกิดในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ การด่าทอกันด้วย ข้อความหยาบคาย การตัดต่อภาพ สร้างข้อมูลเท็จ รวมไปถึงการตั้งกลุ่มออนไลน์กีดกันเพื่อนออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดังนั้น ว่าที่พลเมืองดิจิทัลทุกคน จึงควรมีความสามารถในการรับรู้และรับมือการคุกคามข่มขู่ บนโลกออนไลน์ได้ อยา่ งชาญฉลาด เพอ่ื ปอ้ งกนั ตนเองและคนรอบขา้ งจากการคุกคามทางโลกออนไลน์ให้ได้
7 6.ทักษะในการบริหารจัดการขอ้ มูลที่ผูใ้ ชง้ านทงิ้ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) Digital Footprints คือ ร่องรอยการกระทำต่างๆ ที่ผู้ใช้งานทิ้งไว้ในโลกออนไลน์ โซเชียล มีเดีย เว็บไซต์ หรือโปรแกรมสนทนา เด็กๆ ในฐานะที่เป็นพลเมืองดิจทิ ัล จึงจำเป็นต้องเข้าใจว่าทุกครั้งที่มีการเขา้ สู่โลกออนไลน์ เราจะท้ิงร่องรอยไวเ้ สมอ ก่อนจะโพสต์ข้อความ แชรข์ อ้ มลู คลิปรูปภาพ หรือลงทะเบยี นออนไลน์ต่างๆ จึงต้องทำ อยา่ งรอบคอบและพิจารณาใหถ้ ถ่ี ว้ น มีรายงานการศึกษาวิจัยยืนยันว่า คนรุ่น Baby Boomer คือ กลุ่ม Aging ที่เกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2487 – 2505 มักจะใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอรห์ รือโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผูอ้ ื่น และเปิดใช้งาน WiFi สาธารณะ เสร็จแล้ว มักจะละเลย ไม่ลบรหัสผ่านหรือประวัติการใช้งานถึง 47% ซึ่งเสี่ยงมากที่จะถูกผู้อื่นสวมสิทธิ ขโมยตัวตนบนโลก ออนไลน์ และเขา้ ถงึ ข้อมูลสว่ นบุคคลได้อย่างง่ายดาย ดงั นนั้ ความเป็นพลเมืองดจิ ทิ ลั จงึ ตอ้ งมที กั ษะความสามารถ ทจ่ี ะเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใชช้ ีวิตในโลกดจิ ิทลั วา่ จะหลงเหลอื รอยเท้าดิจิทัลไวเ้ สมอ รวมไปถึงต้องเข้าใจผลลัพธ์ ทีอ่ าจเกดิ ข้นึ เพื่อการดูแลสงิ่ เหลา่ น้อี ย่างมีความรับผดิ ชอบ 7.ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) การเป็นพลเมืองดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องรู้จักขอบเขตการใช้งาน รู้ความสามารถในการป้องกัน ข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยที่เข้มแข็งและป้องกันการโจรกรรมข้อมูลไม่ให้เกิดขึ้นได้ ถ้าต้องทำ ธุรกรรมกับธนาคารหรือซื้อสินค้าออนไลน์ เช่น ซื้อเสื้อผ้า ชุดเดรส เป็นต้น ควรเปลี่ยนรหัสบ่อยๆ และควร หลีกเลีย่ งการใช้คอมพวิ เตอร์สาธารณะ และหากสงสัยวา่ ขอ้ มลู ถกู นำไปใชห้ รอื สูญหาย ควรรีบแจ้งความและแจง้
8 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทันที และรู้วิธีป้องกันความเสียหายของข้อมูล และอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ จากไวรัส และมัลแวร์ทีอ่ าจส่งผลต่อระบบปฏบิ ัตกิ ารณ์ พอ่ แมส่ อนให้ลกู มีทกั ษะรกั ษาความปลอดภยั ในโลกไซเบอร์ได้ ดงั นี้ - ชวนให้เด็กๆ ศึกษาเรื่องการดูแลอุปกรณ์และโปรแกรมต่างๆ เบื้องต้น รู้ว่าเว็บไซต์แบบใดที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้ระบบปฏบิ ัตกิ ารณ์ของเคร่อื งเสียหาย ควรหลกี เล่ียง - บอกให้ลูกเข้าใจว่า ข้อมูลส่วนตัวของเราสามารถถูกโจรกรรมได้ ดังนั้น นอกจากระวังไม่เผยแพร่ข้อมูล ของตนเองแล้ว ก็ต้องดูแลอุปกรณ์ดิจิทัลของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน สมาร์ทวอช ฯ ควรถอื ว่าเปน็ ของใช้สว่ นตัว ไม่ควรแชรก์ บั ใคร 8.ทักษะในการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทัลที่ดี จะต้องรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใช้เทคโนโลยี ต้องตระหนักถึงผลพวงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรม ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต การกดไลก์ กดแชร์ ข้อมูล ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถึงรู้จักสิทธิและความ รับผิดชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพูด การเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น และการปกป้องตนเองและ ชมุ ชนจากความเสยี่ งออนไลน์ เช่น การกลัน่ แกล้งออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เปน็ ตน้ ถงึ แมห้ ลายคนที่เราพบในโลกออนไลน์ อาจเป็นคนที่ไมเ่ คยรู้จกั กนั มากอ่ น แตก่ ค็ วรปฏบิ ัติต่อกันดว้ ยการ ให้เกยี รติ และเคารพซง่ึ กนั และกนั สอนลูกใหร้ ้จู กั เอาใจเขาใสใ่ จเราไม่วา่ จะในสงั คมภายนอกหรือสังคมออนไลน์ เพราะทุกคนต่างมีความเปน็ มนุษย์ทีเ่ ท่าเทยี มกัน แมบ้ างครั้งเราอาจพบความคิดเหน็ ท่ตี ่างไปจากเรา แต่ก็ไม่ได้ หมายความวา่ เราจะใช้ถ้อยคำรนุ แรงต่อว่าพวกเขาได้ รวมทั้ง ไม่ด่วนตดั สินผู้อนื่ จากข้อมูลออนไลน์แตเ่ พยี งอยา่ ง เดียว ก่อนที่ลกู จะโพสอะไร เด็กๆ ควรสอนใหใ้ ชห้ ลัก T.H.I.N.K ดังน้ี T - is it true? แนใ่ จหรอื ไม่ว่าสงิ่ ทโ่ี พสต์เปน็ เรือ่ งจริง? H - is it hurtful? สิง่ ท่ีเราโพสตจ์ ะทำใหใ้ ครเจ็บปวดหรือเปล่า ทำร้ายใครหรอื ไม่?
9 I - is it illegal? ส่งิ ที่เราโพสตผ์ ิดกฏหมายหรือเปลา่ ? N - is it necessary? เรอื่ งที่เราโพสต์มปี ระโยชน์ และจำเป็นหรือไม่? K - is it kind? สิ่งทีเ่ ราโพสต์ เกิดจากเจตนาท่ดี ใี ช่หรือเปล่า? เป็นต้น กล่าวโดยสรปุ การจะเปน็ พลเมืองดจิ ิทัลที่ดีนน้ั ต้องมีความฉลาดทางดจิ ิทัล ซ่ึงประกอบขึ้นด้วยชุดทักษะ และความรู้ทง้ั ในเชิงเทคโนโลยีและการคดิ ข้นั สงู หรอื ที่เรียกวา่ “ความรู้ดจิ ิทัล” (Digital Literacy) เพอ่ื ใหส้ ามารถ ใช้ประโยชนจ์ ากข้อมลู ข่าวสารในโลกไซเบอร์ รวู้ ิธีป้องกันตนเองจากความเสี่ยงต่างๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความรับผิดชอบ และจริยธรรมที่สำคัญในยุคดิจิทัล และใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการ เมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ท่เี กย่ี วกบั ตนเอง ชมุ ชน ประเทศ และพลเมอื งบนโลก ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
10 บรรณานุกรม สำนักงานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม. ทักษะดิจทิ ลั ก้าวสู่ พลเมืองในศตวรรษ ท่ี 21 [ออนไลน์].แหล่งท่ีมา https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-base/article-pr/1355- goto-citizens21st [24 สงิ หาคม 2564] Starfish Academy. Digital Intelligence เมื่อโลกดจิ ิทัลคือส่ิงจำเปน็ ในอนาคต [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า https://www.starfishlabz.com › blog › 336-digital-intelli... [24 สิงหาคม 2564]
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: