Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลูกอ๊อดกบ

Description: ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม เกี่ยวกับ "ลูกอ๊อดกบ"

Search

Read the Text Version

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๓ การแปรรูป การรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนแปรรูปลูกอ๊อด และกบช่วยทำให้ชาวบ้านในหมู่บ้านมีงานทำเพิ่มขึ้น จากปัญหาการตลาดที่พึ่งพ่อค้าแม่ค้าคนกลาง นั่นคือการรับจ้างชำแหละไส้ลูกอ๊อดออกทำความสะอาด อย่างเดียว ทำให้มีความเสี่ยงสูงจึงได้หารือหาทางออก ก่อนจะบรรจุถุงแช่แข็ง สร้างรายได้เสริมให้แต่ละครัว โดยรวมกลุ่มตั้งวิสาหกิจชุมชนแปรรูปลูกอ๊อดและกบ เรือน วันละ ๔๐๐-๕๐๐ บาท ไม่ต้องไปทำงานต่างถิ่น เพื่อแปรรูปทำการตลาดรูปแบบใหม่ คือ การนำลูกอ๊อด ให้เสี่ยงติดเชื้อโควิด-๑๙ ขายทั้งตัวสด และนำมาแปรรูป ด้วยการควักเครื่องใน ออกก่อนจะนำไปบรรจุถุงสูญญากาศแช่แข็ง ลูกอ๊อด แช่แข็งจะขายในกิโลกรัมละ ๒๒๐ บาท นอกจากนี้ยังมีกบตัวใหญ่อายุประมาณ ๒ - ๓ เดือน ชำแหละแช่แข็ง ขายกิโลกรัมละประมาณ ๑๕๐ บาท กลุ่มฯจะรับซื้อกบและลูกอ๊อดจากเกษตรกรในราคา กิโลกรัมละ ๘๐ บาท นอกจากนี้ได้เพิ่มช่องทางการตลาดออนไลน์ส่งขาย ทั่วประเทศ รวมถึงต่างประเทศ กลายเป็นสินค้าที่ตลาด ต้องการมากขึ้น และสามารถขายได้ตลอดปี จากเดิมที่มี เวลาขายได้แค่ช่วง ๒ - ๓ เดือน \"หากลูกกบโตเกินขนาดจะขายยากและ แบกต้นทุน จึงใช้วิธีการแช่แข็งส่งขาย สามารถ เก็บไว้ได้นาน ๙ - ๑๐ เดือน ทำให้เราขายได้ ตลอดปีจนถึงรอบปีฤดูกาลผลิตพอดี ล่าสุดมี ออเดอร์จากเมืองนอก คือ ประเทศออสเตรเลีย เมื่อส่งถึงเมืองนอก ลูกอ๊อดแช่แข็งจะมีราคาสูง ถึงกิโลกรัมละกว่า ๒,๐๐๐ บาท เพราะต้องบวก ค่าขนส่ง ซึ่งมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อถึงที่” สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

เมนูอาหบาทรทจี่าก8ลูกอ๊อด

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๔ หมกฮวก “หมกฮวก” นั้นใช้ลูกอ๊อดของกบ มาคลุกเคล้ากับเครื่องหมก และนำไปทำให้สุก โดยการใช้หม้อปิดฝา หรือที่เรียกกันว่า หมกหม้อ ซึ่งง่ายกว่าการห่อด้วยใบตอง วั ต ถุ ดิ บ ๒ : ตำเครื่องหมก + หมก ๑. ฮวก ๑/๒ กิโลกรัม - นำตะไคร้ใส่ลงในครก ตามด้วยหอมแดง และพริกแดง ๒. ตะไคร้ ๕ ต้น จินดา แล้วโขลกให้พอหยาบ ๆ จากนั้นตักเครื่องหมก ๓. หอมแดง ๖ หัว ใส่ลงในหม้อ แล้วใส่ฮวกลงไป จากนั้นปรุงรสด้วยน้ำปลา ๔. พริกแดงจินดา ๑๐ เม็ด และน้ำปลาร้า คลุกเคล้าให้เข้ากัน ๕. น้ำปลาร้า ๑ ทัพพี - ใส่ต้นหอมหั่นท่อน ผักชีหั่นท่อน และใบแมงลัก ๖. น้ำปลา ๑/๒ ทัพพี ลงไปคลุกเคล้าให้เข้ากันอีกครั้ง ๗. ต้นหอมหั่นท่อน ๓ ต้น - ยกหม้อขึ้นตั้งบนเตาแก๊ส เปิดไฟโดยใช้ไฟปานกลาง ๘. ผักชีหั่นท่อน ๒ ต้น จากนั้นใช้ฝาปิดปิดหม้อเอาไว้รอให้สุก โดยไม่ต้องคน ๙. ใบแมงลัก ๒ กำมือ เมื่อน้ำเริ่มแห้งแล้วยกลงจากเตาได้เลย วิ ธี ทำ ห ม ก ฮ ว ก ๓ : จัดเสิร์ฟ ๑ : ทำความสะอาดฮวก - ตัก “หมกฮวก” ใส่ลงในจานที่ต้องการจัดเสิร์ฟ - นำฮวกมาควักไส้ออกเพราะจะได้ไม่ขมเวลาเอาไป ทำหมก จากนั้นนำไปล้างน้ำให้สะอาด ๒-๓ ครั้ง แล้วนำไปพักให้สะเด็ดน้ำก่อนนำมาประกอบอาหาร สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๓๕ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ แกงฮวกใส่หน่อไม้ส้ม หน่อไม้ส้มก็คือหน่อไม้ดอง วิธีการทำก็ไม่ยุ่งยาก เพียงแค่นำหน่อไม้มาสับ เป็นชิ้นยาว ๆ เล็ก ๆ และนำไปคั้นกับเกลือ และเก็บไว้ในภาชนะปิดฝาให้มิดชิด เพียงแค่ ๒ สัปดาห์ ก็นำมาทานได้ TIPS: เคล็ดลับความอร่อย! ๑. การร่อนเอาขี้ลูกอ๊อดออกต้องใช้น้ำร้อนและจะ ต้องร่อนโดยการใช้ภาชนะที่มีรู เช่น สวิง เพื่อให้การร่อน สะดวกและล้างขี้ออกได้ดี จะช่วยให้ไม่ขม ซึ่งสามารถ นำวิธีนี้ไปใช้กับลูกอ๊อดทั้งของอึ่งอ่าง หรือเขียดได้ ทั้งหมด ๒. ต้องต้มน้ำให้เดือดก่อนใส่หน่อไม้ดองลงไป ๓. การใส่ลูกอ๊อดต้องใส่ในตอนท้ายของทุกขั้นตอน เพราะจะทำให้ไม่กระด้างไฟหรือหน่อไม้ดองอาจจะแข็ง เพราะถ้ายังไม่เสร็จอาจจะใช้ทัพพีคนจนเละหรือ และนอกจากนี้การเลือกหน่อไม้ดองก็เป็นสิ่งสำคัญ อาจทำให้มีกลิ่นคาวหากน้ำยังไม่เดือด ควรชิมรสชาติก่อนนำมาทำเมนูนี้ ถ้าหากเปรี้ยวมาก ก็อาจจะนำไปล้างน้ำสะอาดแล้วบีบน้ำออกค่อยนำมา ทำเมนูนี้ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๖ เ ค รื่ อ ง ป รุ ง แ ล ะ วั ต ถุ ดิ บ วิ ธี ก า ร ทำ ๑. ฮวก (ลูกอ๊อด) ๑. นำลูกอ๊อดไปล้างน้ำให้สะอาด และเอาขี้ที่อยู่ใน ๒. หน่อไม้ส้ม (หน่อไม้ดอง) ๓. น้ำปลา ท้องออก โดยการบีบลงตรงท้องของลูกอ๊อด จึงนำไปร่อน ๔. เกลือ ในน้ำร้อนเพื่อล้างเอาขี้ออก เนื่องจากขี้ลูกอ๊อดจะมีรสขม ๕. ผงชูรส ๖. ใบมะกรูด ๒. โขลกพริก หอมแดง ให้ละเอียด ๗. ใบแมงลัก ๓. ต้มน้ำ รอให้น้ำเดือดแล้วนำพริก หอมแดงที่โขลก ๘. หอมแดง ไว้ใส่ลงไป ตะไคร้ทุบ ใบมะกรูดตามและนำหน่อไม้ดองใส่ ๙. น้ำสะอาด ลงไป ๑๐. ตะไคร้ ๔. เมื่อผ่านไปสัก ๓ นาที ก็ปรุงรสด้วย น้ำปลา เกลือ ๑๑. พริก ผงชูรส ๕. ชิมรสชาติ ถ้าอร่อยแล้วจึงใส่ลูกอ๊อดลงไป ๖. ยกลงพร้อมเสิร์ฟและใส่ใบแมงลักลงไป สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๓๗ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ ฮ่อมฮวก (ลูกอ๊อด) ฮวก หรือ ลูกอ๊อด คือ ลูกกบลูกเขียด ตอนยังเล็ก คนอีสานนิยมกินเพราะมีรสชาติอร่อย คนอีสานนิยมนำมารับประทาน ทำเป็นอาหาร ได้หลายประเภท เช่น แกง อ่อม หรือว่าหมก ถือเป็นอาหารพื้นบ้าน ตั้งแต่ดั่งเดิมของคนอีสาน อาหารที่นำมาเสนอเป็นสูตรเด็ด สูตรแท้ ๆ ของคนอิสานที่ทำกินกันในครัวเรือน อ่อมฮวก เป็นเมนูที่หาทานยากและราคาแพง รสชาติอร่อย เป็นที่ถูกปากจึงเป็นที่ต้องการของคนทั่วไป วิธีการทำ เครื่องปรุง ๑. ล้างฮวกด้วยน้ำสะอาดพักใส่ตะแกงไว้ ๑. พริก (ตามชอบเผ็ดมากเผ็ดน้อย) ๒. ตำเครื่องแกง ประกอบด้วย พริกสด ๒. หัวหอม ๖ หัว หัวหอม ตะไคร้ ให้เข้ากันไม่ต้องละเอียดมาก ๓. ตะไคร้ ๓ ต้น ๓. นำเครื่องปรุงเครื่องแกง ตามข้อ ๒. ละลายน้ำ ๔. น้ำปลาร้า ๒ ซ้อนโต๊ะ เล็กน้อย ตั้งไฟให้เดือด จึงใส่ผักที่เตรียมไว้ลงไป ๕. เกลือ ๑ หยิบมือ เมื่อผักสุกปรุงรสด้วยน้ำปลาร้า ๖. น้ำปลา ๑ ซ้อนชา ๔. นำฮวกลงปิดฝา แล้วกะให้ฮวกสุกใส่ใบแมงลัก ๗. ผงชูรส (ตามชอบ) ยกลง ๘. ใบชะพู (ตามชอบ) ๙. ใบแมงลัก (ยิ่งใส่เยอะยิ่งหอม) สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



เกี่ยงบวากทนับทวีิ่ลจูั9กยอ๊อด

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๘ ผลของการใช้สมุนไพรชนิดต่าง ๆ ร่วมกับน้ำสกัดชีวภาพในการยับยั้งการเกิดโรค ในลูกอ๊อดกบ โดย ทาริกา โกฏสันเทียะ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาองค์ความรู้ บทคัดย่อ ในการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อดกบ สาเหตุของการเกิดโรค การศึกษาองค์ความรู้ ในการเพาะเลี้ยง และศึกษาผลของการใช้สมุนไพรชนิดต่าง ๆ ลูกอ๊อดกบ ในจังหวัดสกลนคร โดยได้ทำการ ได้แก่ ใบมะระขี้นก ใบฝรั่ง ใบกระเพรา และใบมะยม สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) ร่วมกับน้ำสกัดชีวภาพ ในการยับยั้งการเกิดโรคในลูกอ๊อดกบ และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในชุมชนบ้านน้อย จอมศรีและบ้านดอนตาลโง๊ะ อำเภอเมือง จังหวัด จากการศึกษาวิจัยทั้งหมด สรุปได้ดังนี้ สกลนคร พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะทำการเพาะ เลี้ยงลูกอ๊อดกบเป็นอาชีพหลัก บางครัวเรือนทำ อาชีพนี้มีมานานถึง ๑๐ ปี ฤดูกาลในการเลี้ยงจะเริ่ม ในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปีโดยคัดพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ อัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมียเท่ากับ ๑:๑ จำนวน ๒๐ คู่ มาเพาะในกระชังขนาด ๓x๓ ตารางเมตร ระดับน้ำ ๑๐ เซนติเมตร โดยปล่อยพ่อแม่พันธุ์ในช่วงเวลา ๑๘.๐๐ น. เมื่อเวลา ๐๖.๐๐ น.จึงนำพ่อแม่พันธุ์ออกไปพักไว้ใน บ่อดินส่วนไข่กบที่ได้รับการผสมแล้วจะเจริญเติบโตเป็นลูกอ๊อด ทำการอนุบาลด้วยอาหารเม็ดขนาดเล็กจนลูกอ๊อด อายุ ๒๑ วัน หลังจากนั้นลูกอ๊อดจะเจริญเติบโตเป็นลูกกบ บางตัวจะเกาะตามขอบกระชังจึงทำการคัดเลือกไว้เลี้ยง ในบ่อดิน เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อไป ไม่พบปัญหาด้านการตลาด เนื่องจากจะมีลูกค้าทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัดมา รับซื้อถึงหน้าฟาร์มตั้งแต่ลูกอ๊อดมีอายุ ๑๓ - ๒๑ วัน โดยจะมีราคากิโลกรัมละ ๒๐๐ - ๒๕๐ บาท สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๓๙ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ การหาสาเหตุของการเกิดโรค ในลูกอ๊อดกบโดยทำการตรวจในห้องปฏิบัติการ เริ่มตั้งแต่การตรวจวิเคราะห์น้ำจากบ่อเลี้ยง พบว่า มีปริมาณของแอมโมเนียไนโตรเจน (NH๓-N) อยู่ในระดับที่ไม่ปลอดภัยต่อลูกอ๊อด คือมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๒.๘ มิลลิกรัม/ลิตร ซึ่งสูงเกินกว่าที่สัตว์น้ำจะทนได้ ซึ่งระดับที่สัตว์น้ำ ทนได้คือไม่ เกิน ๐.๐๒ มิลลิกรัม/ลิตร (สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ, ๒๕๓๐) นอกจากนี้การตรวจตัวอย่างสัตว์น้ำที่มี อาการป่วย โดยเก็บจากพ่อพันธุ์แม่พันธุ์และ จากลูกอ๊อดกบ ซึ่งผลการตรวจภายนอกพบ อาการผิดปกติของสัตว์น้ำ คือ มีแผลสีแดง บริเวณขา แผลหลุมลึกที่ผิวหนัง ท้องบวม การตรวจภายในพบว่าในช่องท้องกบมีของเหลวสะสม และเมื่อตรวจวิเคราะห์โดยนำมาเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ TSA (Tryptic Soy Agar) และย้อมสีแกรมพบว่าเป็นกลุ่มของ แบคทีเรียแกรมลบ การทดสอบเชื้อกับสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ใบมะระขี้นก ใบฝรั่ง ใบกระเพรา และใบมะยม ในห้องปฏิบัติการ พบว่าใบฝรั่งทำให้แบคทีเรียที่ทดสอบไม่สามารถเจริญเติบโตบนอาหารเลี้ยงเชื้อได้ เมื่อทำการทดลองเลี้ยงในฟาร์ม โดยปล่อยลูกอ๊อดกบอายุ ๓ วัน ในบ่อซีเมนต์กลม อัตราความหนาแน่น ๑๐๐ ตัว/ตารางเมตร ให้อาหารผสม สมุนไพรชนิดต่าง ๆ ร่วมกับน้ำสกัดชีวภาพ โดยใช้น้ำสกัดชีวภาพสเปรย์ทั่วบ่อทุกสัปดาห์ ผลปรากฏว่า บ่อที่เลี้ยง โดยใช้ใบฝรั่งร่วมกับน้ำสกัดชีวภาพ มีอัตรารอดและอัตราการเจริญเติบโตดีที่สุด และไม่พบว่ามีแผลหรืออาการ ผิดปกติของลูกอ๊อดกบ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔๐ ผลของอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการ เพาะขยายพั นธุ์กบนาลูกผสมในฤดูหนาว วุธเมธี วรเสริม, เหล็กไหล จันทะบุตร และสำราญ พิ มราช สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ๔๔๐๐๐ บทคัดย่อ จากการศึกษาพบว่าการเลี้ยงกบนาลูกผสมที่ใช้ เป็นพ่อแม่พันธุ์ในบ่อซีเมนต์ในช่วงฤดูหนาว ในสภาพ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ ที่ไม่มีการควบคุมอุณหภูมิ และในสภาพที่มีการควบคุม อุณหภูมิต่อการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของ อุณหภูมิที่ ๓๐, ๓๒, ๓๔ และ ๓๖ องศาเซลเซียส พ่อพันธุ์แม่พันธุ์กบนาลูกผสม และเพื่อศึกษาผลของ ไม่มีผลทำให้การเจริญเติบโตในด้านน้ำหนัก และอัตรา อุณหภูมิต่ออัตราการปฏิสนธิและอัตราการเพาะฟักไข่ การรอดตายของกบพ่อพันธุ์แม่พันธุ์แตกต่างกัน กบแม่ กบนาลูกผสม โดยการเลี้ยงกบพ่อแม่พันธุ์ในบ่อซีเมนต์ พันธุ์เพศเมียที่เลี้ยงในสภาพที่ไม่ได้ควบคุมอุณหภูมิใน ในช่วงฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐ ถึง ช่วงฤดูหนาวจะไม่มีการออกไข่ ในขณะที่กบแม่พันธุ์ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ วางแผนการทดลองแบบ เพศเมียที่เลี้ยงในสภาพที่มีการควบคุมอุณหภูมิที่ ๓๐, ๓๒, สุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) ๓๔ และ ๓๖ องศาเซลเซียส มีการออกไข่ทั้งหมด จำนวน ๓ ซ้ำ ประกอบด้วย ๕ ชุดการทดลอง ได้แก่ จำนวนไข่กบของแม่พันธุ์ที่เลี้ยงในสภาพควบคุมอุณหภูมิ ๑) ไม่ควบคุมอุณหภูมิ ที่ ๓๔ องศาเซลเซียส มีแนวโน้มได้รับการปฏิสนธิมาก ๒) ควบคุมอุณหภูมิที่ ๓๐ องศาเซลเซียส ที่สุด การเลี้ยงกบพ่อแม่พันธุ์ที่มีการควบคุมอุณหภูมิที่ ๓) ควบคุมอุณหภูมิที่ ๓๒ องศาเซลเซียส ๓๐ - ๓๖ องศาเซลเซียส มีอัตราการฟักอยู่ในช่วง ๔) ควบคุมอุณหภูมิที่ ๓๔ องศาเซลเซียส ระหว่าง ๔๕.๙-๙๕.๙ เปอร์เซ็นต์ ๕) ควบคุมอุณหภูมิที่ ๓๖ องศาเซลเซียส จากการศึกษาในครั้งนี้ ชี้ให้เห็นว่าการเลี้ยงพ่อแม่ พันธุ์กบนาลูกผสมในช่วงฤดูหนาวเพื่อการเพาะพันธุ์ กบนาลูกผสมสามารถทำได้ และการควบคุมอุณหภูมิ ที่มา : วารสารเกษตรพระวรุณ ที่เหมาะสมต่อการเพาะขยายพันธุ์กบนาลูกผสมควร ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม ธันวาคม ๒๕๖๒ อยู่ในช่วงระหว่าง ๓๐-๓๖ องศาเซลเซียส สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๔๑ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ Frog raising condition and diseases finding in Sakon Nakhonand Nakhon Phanom Provinces สภาพการเลี้ยงกบและโรคที่พบในเขตจังหวัดสกลนคร และนครพนม โดย ทาริกา ทิพอุเทน, ทรงทรัพย์ อรุณกมล สาริณี บุตรดาวงศ์ และสุวิทย์ ทิพอุเทน สาขาวิชาการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จังหวัดสกลนคร ๔๗๐๐๐ และสาขา วิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยี การเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร สกลนคร ๔๗๐๐๐ บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการเลี้ยงกบและโรคที่พบในเขตจังหวัดสกลนครและนครพนม ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๕๖ ถึง กันยายน ๒๕๕๗ โดยศึกษาสภาพการเลี้ยงจากฟาร์มเกษตรกร และสุ่มเก็บตัวอย่าง มาตรวจในห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาสภาพการเลี้ยงจากฟาร์มเกษตรกร พบว่าผู้เลี้ยงส่วนใหญ่ เป็นวัยผู้ใหญ่ที่ มีอายุระหว่าง ๔๑ - ๕๐ ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ ๖ พื้นที่ถือครองอยู่ ระหว่าง ๑-๑๐ ไร่ มีรายได้ เฉลี่ย ๑๐,๐๐๐ – ๕๐,๐๐๐ บาท ต่อครอบครัวต่อปี ผู้เลี้ยงกบทั้ง ๒ จังหวัด ใช้พ่อแม่พันธุ์ส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์ กบนา (Rana tigerina) รองลงมาเป็นพันธุ์บูลฟร็อก (Lithobates catesbeianus) ซึ่งมากกว่าร้อยละ ๖๐ ของผู้ เลี้ยง ได้รับองค์ความรู้ในการเลี้ยงกบจากเพื่อนบ้านเป็นหลัก ตลาดในการจำหน่ายที่ ๖ เพื่อศึกษาสภาพการเลี้ยง กบและลูกอ๊อดกบ พบว่าส่วนมากจะมีพ่อค้าคนกลางจากตลาดเข้ามารับซื้อที่ฟาร์ม สถานที่เลี้ยงหรือที่ตั้งบ่อเลี้ยง ส่วนใหญ่ ร้อยละ ๙๐ เลี้ยงในบ่อดิน รองลงมาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ และกระชัง คิดเป็นร้อยละ ๕ ตามลำดับ อาหารที่เกษตรกรใช้ พบว่าใช้อาหารสำเร็จรูปเป็นหลัก ทำให้มีต้นทุนค่าอาหาร อยู่ระหว่าง ๓,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ บาท ต่อรอบการเลี้ยง ในด้านเทคโนโลยีการจัดการเลี้ยง มากกว่าร้อยละ ๖๐ มีการจัดการคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยง แต่ไม่ค่อยมีการรักษาโรค สาเหตุการตายของกบในรอบปีที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงพบว่ากบท้องบวม ขาแดง ขาบวม ว่ายน้ำควงสว่าน ตาโปน ผลการตรวจในห้องปฏิบัติการพบว่าในจังหวัดสกลนคร พบโรคแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila มากที่สุด รองลงมาคือ Flavobacterium meningosepticum และ Pseudomonas aeruginosa ตามลำดับ ส่วนเชื้อรา ตรวจไม่พบ ขณะที่ในจังหวัดนครพนม พบปรสิตมากที่สุดชนิดที่พบคือ Opalina sp. Balantidium sp. และ Trichodina sp. ตามลำดับ ส่วนเชื้อแบคทีเรียพบส่วนน้อย คุณภาพน้ำของทั้งสองจังหวัด พบว่าปริมาณ แอมโมเนีย และออกซิเจนที่ละลายในน้ำมีค่าไม่เหมาะสำหรับการเลี้ยงกบ เนื่องจากมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งส่งผลให้สัตว์น้ำอ่อนแอเกิดความเครียดและติดโรคได้ง่าย สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



ขอกงากราวริเเบคพรทาาะทะีเ่หล ี์้1ย0SงWลูกOอT๊อด

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔๒ SWOT การวิเคราะห์ SWOT ของการเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด จุดแข็ง (Strengths) ๑) การเพาะเลี้ยงลูกอ๊อด ไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่ในการ เลี้ยงมากนัก ใช้น้ำน้อย ๒) ระยะเวลาการเลี้ยงไม่นาน ต้นทุนไม่สูงมากนัก ให้ผล ตอบแทนเร็ว คุ้มค่าทางการลงทุน ๓) สามารถจำหน่ายผลผลิตได้ทุกระยะ ทั้งลูกอ๊อด ลูกกบ กบเนื้อหรือพ่อแม่พันธุ์มีรายได้ตลอดช่วงระยะเวลาการเลี้ยง จุดอ่อน (Weaknesses) ๑) เกษตรกรยังขาดความรู้ความชำนาญในการเลี้ยงลูกอ๊อด การป้องกันโรค และการตลาด ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรเผชิญ โอกาส (Opportunities) กับปัญหาต่าง ๆ ในระหว่างการเลี้ยง และทำให้ต้นทุนสูง ๑) มีเจ้าหน้าที่/นักวิชาการประมงจากศูนย์วิจัยและพัฒนา ขึ้นตามไปด้วย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดนครพนม ลงพื้นที่ให้ความรู้และ การบริการด้านการรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์น้ำ (Good ๒) ต้นทุนในแปรรูปลูกอ๊อด ยังมีต้นทุนที่สูง ส่วนมาก Aquaculture Practice: GAP) ซึ่งเป็นมาตรฐานการปฏิบัติ เกษตรกรจึงขายในลักษณะลูกอ๊อดสด ไม่ได้แปรรูปเพื่อ ทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นส่วนหนึ่ง เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตของตน ของมาตรฐานและหลักเกณฑ์สำหรับกระบวนการผลิต ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ประมง อุปสรรค (Threats) ๑) ไม่สามารถเพาะพันธุ์ลูกอ๊อด ได้ในช่วงฤดูหนาวระหว่าง ๒) ในปัจจุบันนี้เป็นยุคแห่งเทคโนโลยีและการสื่อสาร ทำให้ เดือนตุลาคม - กุมภาพันธุ์ เนื่องจากมีอุณหภูมิที่ค่อนข้างต่ำ เกษตรกรผู้เลี้ยงสามารถหาข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการเลี้ยง กบจะจำศีลเกษตรกรจำเป็นต้องหยุดการเลี้ยง ลูกอ๊อด ได้สะดวก ลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เพื่อไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสามารถเพิ่มช่องทางใน ๒) ราคาขายที่ไม่คงที่เนื่องจากในปัจจุบันมีเกษตรหันมา การขายได้ ทำให้เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพการผลิต เลี้ยงลูกอ๊อด เพิ่มมากขึ้นทำให้ผลผลิตลูกอ๊อดออกสู่ตลาด หรือด้านการตลาดได้สะดวกมากขึ้น เพิ่มขึ้น เกิดปัญหาล้นตลาดในบางช่วงเวลา ส่งผลให้ราคาตก ตามไปด้วยและยังมีมีเนื้อสัตว์ชนิดอื่น ๆ ที่ราคาถูกกว่า สามารถทดแทนได้ ๓) ผู้บริโภคส่วนหนึ่งที่ไม่นิยมบริโภคลูกอ๊อด เนื่องจากมี ทัศนคติที่เห็นว่าเป็นสัตว์ที่ไม่น่าสัมผัส ไม่น่ารับประทาน หรือส่วนหนึ่งไม่ชอบในรสชาติที่คาว และค่อนข้างเหนียว ไม่ถูกปากผู้บริโภค สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

กาขรอวิงเกคารราเะบพห์ทาะTทเี่ลO ี้1ยW1งSลูกMอ๊อaดtrix

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔๓ การกำหนดกลยุทธ์ด้วยเทคนิคTOWS Matrix เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดของธุรกิจ ได้ดังนี้ กลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST) กลยุทธ์เชิงรับ (WT) เป็นแนวทางที่ใช้จุดแข็งหลีกเลี่ยงหรือลดผลกระทบ เป็นกลยุทธ์ที่เน้นแนวทางการป้องกันที่มุ่งไปที่ ของอุปสรรค ได้แก่ การลดจุดอ่อนและหลีกเลี่ยงอุปสรรค ได้แก่ กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO) กลยุทธ์เชิงรุก (SO) เป็นแนวทางเพื่ อปรับปรุงจุดอ่อนภายใน เป็นการใช้จุดแข็งภายในเพื่ อหาโอกาสจากปัจจัย โดยใช้โอกาสจากภายนอก ได้แก่ ภายนอก ได้แก่ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ปัญใหนากแาแบลรละทเเะลีลแท้ีีย้น่ยง1วง2ลทกูกาบงอ๊แอกด้ไข

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔๔ ปัญหาและแนวทางแก้ไข ในการเลี้ยงลูกอ๊อด และเลี้ยงกบ ปัญหา แนวทางแก้ไข อาหารสำเร็จรูปมีราคาแพง หาแหล่งและเชื่อมเครือข่ายผู้ผลิตอาหาร และมีตัวเลือกน้อย สำเร็จรูป ด้านปัจจัยการ การเข้าถึงแหล่งผลิตอาหารเข้าถึงยาก ซื้อขายผ่านสหกรณ์การเกษตร ผลิต ไม่มีเครือข่าย เกษตรกรควรมีผลิตอาหาร หรือผู้ส่งเสริมปัจจัยการผลิต เพื่อลดต้นทุนการผลิต ขาดมาตรฐาน GAP ให้ความรู้แก่เกษตรกรในเรื่องมาตรฐาน GAP และส่งเสริมให้ปฏิบัติตามาตรฐานเพื่อให้ผ่าน การตรวจรับรองมาตรฐาน สถานที่เลี้ยงไม่เอื้ออำนวย สนับสนุนการจัดตั้งโรงเรือนแปรรูป ไม่มีมาตรฐาน GMP ให้ได้มาตรฐาน GMP ขาดวัสดุ อุปกรณ์ เงินทุน ระดมทุนจากสมาชิกกู้ยืมเงิน ด้านการแปรรูป ในการแปรรูป จากสถาบันการเงิน หรือขอรับสนับสนุนจาก หน่วยงานราชการ ขาดมาตรฐานรองรับผลิตภัณฑ์ ควรมีการให้ความรู้ในเรื่องมาตรฐานอาหาร แปรรูป และยา เพื่อที่จะได้ผลิตตามมาตรฐานและ ผ่านการรับรองมาตรฐาน อย. สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๔๕ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ ปัญหาและแนวทางแก้ไข ในการเลี้ยงลูกอ๊อด และเลี้ยงกบ ปัญหา แนวทางแก้ไข ด้านการแปรรูป ขาดกระบวนการด้านการวิจัย ประสานองค์ความรู้กับสถาบันการศึกษาที่มี (ต่อ) และเทคโนโลยี ผลงานวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อนำ บรรจุภัณฑ์ไม่มีมาตรฐาน มาพัฒนาการเลี้ยง การแปรรูป และการตลาด ขอความรู้จากหน่วยงานราชการในการพัฒนา บรรจุภัณฑ์ และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความ ทันสมัยและน่าสนใจ ไม่มีสถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจำหน่ายควรที่มีทั้ง online และ offline สินค้ายังไม่เป็นที่รู้จัก ประชาสัมพันธ์ถึงประโยชน์ คุณค่าทางอาหาร และการบริโภคสินค้า ด้านการตลาด ราคาสินค้าตกต่ำตามฤดูกาล ในช่วงที่ราคาตกต่ำ ควรนำสินค้ามาแปรรูป ซึ่งสามารถเก็บไว้บริโภค และเป็นการเพิ่ม มูลค่าของสินค้า ขาดการรวมกันจำหน่ายอย่างจริงจัง ควรให้ความรู้กับเกษตรกรในประโยชน์ของ การรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย การขนส่งสินค้าเกิดความเสียหาย ควรมีการปรับปรุงกระบวนการขนส่ง รวมถึงบรรจุภัณฑ์ให้สามารถป้องกัน ความเสียหายจากการขนส่ง สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔๖ บรรณานุกรม กรมประมง. (๒๕๖๑). ปลุกวิถีเศรษฐกิจชุมชน ปั้น “ลูกอ๊อดกบ” จ.นครพนม เข้าโครงการระบบส่งเสริม เกษตรแบบแปลงใหญ่ด้านการประมงแห่งแรกของไทย. เข้าถึงได้จาก. https://www4.fisheries.go.th/index.php/dof/activity_item/1708 สืบค้นเมื่อ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕. จิ๋วหิวโซ. (๒๕๖๑). วิธีทำ “หมกฮวก” เมนูอาหารอีสานสุดแซ่บ ทำแล้วเอาไปฝากป้า!. เข้าถึงได้จาก. https://www.wongnai.com/recipes/mok-huak?ref=ct สืบค้นเมื่อ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕. สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. (๒๕๖๑). ลูกอ๊อด/ลูกฮวก, ดิบ (Tadpole, raw). เข้าถึงได้จาก. https://thaifcd.anamai.moph.go.th/nss/view.php?fID=๐๖๐๓๐ สืบค้นเมื่อ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๕. อรวรรณ คงอภิรักษ และคณะ. (๒๐๖๓). การถอดบทเรียน “เกษตรปลอดภัย”. เข้าถึงได้จาก. http://alc.doae.go.th/wp- content/uploads/2020/10/%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%9A%E0%B8%97%E 0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99_%E0%B8%99%E0%B8%84%E0% B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%A163.pdf สืบค้นเมื่อ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๕. สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔๗ คณะผู้จัดทำ ผู้จัดทำ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

face web book! site! จั ดทำโดย: กลุ่มสารสนเ ทศการ เ กษตร สำนั กงานเ กษตรและ สหกรณ์จั งห วั ดนครพนม โทร. ๐-๔๒๕๑-๕๕๕๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook