Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 200264 การเรียนรู้เชิงรุกเสริมสมรรถนะด้วยวิธีและเทคนิคการสอนหลากหลาย 20 ก.พ.

200264 การเรียนรู้เชิงรุกเสริมสมรรถนะด้วยวิธีและเทคนิคการสอนหลากหลาย 20 ก.พ.

Published by อรอุมา บวรศักดิ์, 2021-03-21 08:39:31

Description: 200264 การเรียนรู้เชิงรุกเสริมสมรรถนะด้วยวิธีและเทคนิคการสอนหลากหลาย 20 ก.พ.

Search

Read the Text Version

การเรียนร้เู ชิงรกุ เสริมสมรรถนะด้วยวธิ แี ละเทคนิคการสอนหลากหลาย | 46 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยินดสี ุข ใบกจิ กรรม เรื่อง ศึกษาสว่ นประกอบของตน้ ถ่วั (สือ่ การเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 3 การรวมพลงั อภิปรายและสรา้ งความรู)้ กจิ กรรม สว่ นประกอบของต้นถว่ั วัสดอุ ปุ กรณ์ ตน้ ถัว่ ท่ีมองเหน็ รากไดช้ ดั เจน วธิ ีทา 1. ใหเ้ ดก็ แต่ละกลมุ่ สงั เกตส่วนประกอบสาคัญของต้นถว่ั 2. แยกแยะและเปรียบเทยี บความเหมอื นและความต่างของส่วนประกอบของต้นถวั่ กบั สว่ นประกอบของตน้ ไมอ้ นื่ ที่ได้ศึกษา 3. วาดภาพต้นถัว่ ที่สงั เกต บันทกึ ผลการสังเกตตน้ ถ่วั คาถามหลงั ทากิจกรรม ต้นไม้มีส่วนประกอบสาคญั อะไรบ้าง จงมีความสอื่ สัตย์

การเรยี นรเู้ ชิงรุกเสริมสมรรถนะดว้ ยวิธีและเทคนิคการสอนหลากหลาย | 47 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดีสขุ แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั กิ จิ กรรม ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ังหรือน้อยครง้ั รายการประเมนิ ระดับคะแนน 321 1. การแสดงความคิดเห็น 2. การยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื ผลการประเมนิ 3. การทางานตามหน้าท่ีทไี่ ดร้ ับมอบหมาย  4. ความมนี า้ ใจ  2. แบบประเมนิ ชิ้นงานภาพวาดตน้ ไม้  รายการประเมนิ 1. ส่วนประกอบของต้นไมถ้ ูกตอ้ ง ครบถว้ น 2. มคี วามประณีต สะอาด สสี ันสวยงาม 3. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 3. แบบประเมินความใฝ่เรียนรู้ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ดีมาก ดี พอใช้ 1. การสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการ เด็กสนใจเขา้ รว่ มกิจกรรม เด็กสนใจเข้าร่วม เด็กสนใจเข้ารว่ มกิจกรรม เรียนรู้ การเรียนรดู้ ว้ ยความต้ังใจ กจิ กรรมการเรียนรู้ด้วย การเรียนร้ดู ว้ ยความต้ังใจ ได้ด้วยตนเอง และชกั ชวน ความตง้ั ใจได้ด้วย โดยมีครูชี้แนะ ผอู้ ื่นปฏิบัติ ตนเอง 2. การซกั ถามในสิ่งทตี่ นอยากรู้ ซักถามในส่งิ ท่ีตนอยากรไู้ ด้ ซกั ถามในสงิ่ ที่ตนอยาก ซักถามในสิ่งที่ตนอยากรู้ ดว้ ยตนเอง และชักชวน รู้ไดด้ ้วยตนเอง โดยมคี รูชี้แนะ ผูอ้ นื่ ปฏิบตั ิ 3. ความม่งุ มั่นที่จะเรียนรู้ดว้ ย ความมุง่ ม่นั ที่จะเรยี นรดู้ ้วย ความมงุ่ ม่ันท่จี ะเรียนรู้ ความมุ่งม่นั ท่จี ะเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆ วธิ ีการตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสม ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ที่ วธิ กี ารตา่ ง ๆ ที่เหมาะสม กับวยั ได้ด้วยตนเอง และ เหมาะสมกบั วยั ไดด้ ้วย กับวยั โดยมคี รูช้ีแนะ ชักชวนผูอ้ ื่นปฏิบัติ ตนเอง

การเรยี นรเู้ ชิงรุกเสรมิ สมรรถนะดว้ ยวธิ ีและเทคนิคการสอนหลากหลาย | 48 รศ.ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดสี ุข 4. แบบประเมินความซอื่ สัตย์ ระดับคะแนน 321 รายการประเมนิ 1. การขออนญุ าตกอ่ นยืมของผ้อู น่ื 2. การบันทึกข้อมูลตามความจรงิ 3. การบันทึกข้อมูลหรือทากจิ กรรมต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง กลยุทธ์การปรับแผนการจัดการเรียนรู้เน้นครูเป็นศูนยก์ ลางให้เป็นการเรียนรู้เชิงรุกแบบ รวม พลัง  ปรับจากครูสอนแบบรายงาน หรือบรรยายประกอบสื่อ เป็นการเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ กิจกรรม หรือทดลอง โดยตอ้ งมี 1. กิจกรรมวเิ คราะห์ 2. กจิ กรรมให้เดก็ สรา้ งความรู้ 3. กิจกรรมใหเ้ ดก็ สร้างช้นิ งาน  ข้อสังเกตแม้ว่ามใี บกจิ กรรม และใบความรกู้ ็ตามตอ้ ง 1. ปรบั ใบกจิ กรรมใหม้ กี ารวเิ คราะห์ และเสนอผลการวเิ คราะห์ 2. ปรับใบความรู้/แหล่งเรียนรู้จากการอ่านแล้งได้คาตอบตามที่ครูเตรียม มาเป็นใบ ความรู้ท่ีประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้หลากหลายที่เด็กต้องมีการวิเคราะห์ก่อนมีการ สรปุ หรือสร้างความรู้ ตัวอยา่ ง ใบกจิ กรรม แตเ่ ป็นการเรียนรู้เนน้ ครูเป็นศูนย์กลาง ตวั อยา่ ง สื่อการเรียนรูเ้ นน้ ครูเป็นศูนยก์ ลาง 1. ใบกจิ กรรม 2. ใบความรู้ อา่ น / สังเกต ใหค้ วามรู้ ตอบคาถาม มโนทัศนแ์ บบสาเรจ็ คอื ไม่มีการวิเคราะห์

การเรียนรู้เชิงรกุ เสริมสมรรถนะด้วยวธิ แี ละเทคนิคการสอนหลากหลาย | 49 รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดีสุข ใบความรู้* ประเภทใหม้ โนทศั นแ์ บบสาเรจ็ ผเู้ รยี นขาดการวิเคราะห์ หงิ่ หอ้ ย คือ แมลงปีกแขง็ จาพวกดว้ ง สามารถผลติ แสงได้ในตวั ออกหากินตอนกลางคืน ลกั ษณะ ลาตัวยาวรี มหี นวดแบบฟันเล่อื ยเป็นเอกลกั ษณ์ ลักษณะสาคัญของหง่ิ หอ้ ย คือ เป็นแมลงทีส่ ามารถผลติ แสงไดใ้ นตวั และสามารถทาแสงได้ทั้งเวลา กลางวันและกลางคนื การดารงชีวติ ของหิง่ ห้อย มดี งั น้ี 1. การกินอาหาร หากินเวลากลางคืน ช่วงตัวอ่อนจะกินแมลง และหนอนขนาดเล็ก เม่ือเป็น หิ่งหอ้ ยจะกินเกสรดอกไม้แทน 2. แหล่งทอี่ ยู่ ตัวออ่ นของหง่ิ ห้อยจะอยใู่ ต้ดนิ และตามซอกผขุ องกอหญ้า ตัวเตม็ วยั จะอยใู่ นป่า ใกล้ ๆ ริมน้า เนือ่ งจากหิ่งหอ้ ยจะวางไข่ตามดินที่คอ่ นขา้ งแฉะ 3. การสืบพันุธ์ สืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ โดยเพศผู้และเพศเมียจะกะพริบแสงในตัว ทาสัญญาณ เรียกรอ้ งให้มาผสมพนั ุธ์ซง่ึ กันและกนั ประโยชน์ของหงิ่ ห้อยตอ่ สง่ิ แวดล้อม แสดงถงึ ความสมบรู ณข์ องบรเิ วณทีห่ ง่ิ ห้อยอยู่ และทาให้เกิด ความสมดลุ ในระบบนเิ วศ สาเหตุของการลดลงหรือการสูญพันุธ์ของหิ่งห้อย คือ สิ่งแวดล้อม ถูกทาลาย โดยเฉพาะน้า ซึ่ง เป็นแหล่งที่อยู่ หรือเกิดมลพิษของน้า ทาให้แหล่งที่อยู่ไม่เหมาะสมกบั การดารงชีวิต ท้ังเร่ืองอาหาร ที่อยู่ และการสบื พันุธ์ วธิ ปี ้องกนั และอนรุ ักษ์การสญู พันุธ์ของหิ่งหอ้ ย 1. ไม่ตดั ไม้ทาลายป่า หรอื ทาลายแหลง่ ท่ีอยู่ของห่งิ หอ้ ย 2. รณรงค์ให้ทกุ คนชว่ ยกนั อนรุ ักษ์หงิ่ ห้อย 3. รณรงคใ์ ห้ทกุ คนอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม * ใบความรู้ข้างตน้ ถ้าจะนาไปใช้เป็นสื่อควรปรับช่ือเป็น ใบสรุปความรู้ ไว้แจกผู้เรียนหลังจากมกี าร สรา้ งความรู้โดยนักเรยี น

การเรยี นรู้เชิงรกุ เสริมสมรรถนะดว้ ยวธิ ีและเทคนิคการสอนหลากหลาย | 50 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดีสุข แบบประเมนิ พฤติกรรมการสอนและพฤติกรรมการเรียนของเดก็ ประเมินอาจารย์ชือ่ ………………………………….. กลุ่มสาระการเรียนรู้………….……………… สอนชั้น………………………………………………….. หน่วยที/่ เรอื่ ง…………………………………… โรงเรียน…………………………………………………. วนั ท…่ี ……………………………………………… ผู้ประเมนิ เพือ่ นรว่ มคดิ รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ผอู้ านวยการสถานศึกษา หัวหนา้ สายช้ัน ศึกษานเิ ทศก์ หวั หนา้ งานวิชาการ ผเู้ ชี่ยวชาญภายนอก 1) แบบประเมนิ พฤติกรรมการสอน ลาดบั ที่ กจิ กรรม ไมป่ ฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ ข้อสงั เกตและ ขอ้ เสนอแนะ 1 เนือ้ หาแก่นความรู้ตรงกบั ท่ีกาหนด 2 เขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้รายชวั่ โมง 2.1 สอนบรรลวุ ัตถุประสงค์มคี วามรอบคลมุ ผลการเรยี นรู้ด้าน 1) ความร้แู ละความเข้าใจ (K) 2) ทักษะการคดิ และการปฏิบตั ิ (P) 3) มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) 2.2 จัดกิจกรรมเรยี นรู้ ดังน้ี 1) ให้โอกาสนักเรยี นมีสว่ นร่วมแบบรวมพลงั 2) ให้นกั เรยี นมปี ฏิสมั พนั ธก์ บั เพ่อื น ๆ และแหลง่ เรยี นรู้ ต่าง ๆ 3) ใหน้ กั เรยี นใช้การคิดและทักษะกระบวนการคิด 4) ให้นกั เรียนทางานเป็นกล่มุ แบบรวมพลงั 5) ใหน้ กั เรยี นสร้างความรู้ด้วยตนเอง 6) ใหน้ กั เรียนทากจิ กรรมนาความรไู้ ปประยุกตห์ รือมี การเช่ือมโยงความรกู้ ับชีวิตประจาวนั 7) ให้นักเรียนมีการสะท้อนคดิ หรอื ประเมนิ ตนเอง 8) ประเมนิ การเรียนตามสภาพจรงิ กับวธิ หี ลากหลาย ครอบคลุมความรู้ ทกั ษะ และนสิ ยั

การเรียนร้เู ชงิ รกุ เสริมสมรรถนะดว้ ยวธิ ีและเทคนิคการสอนหลากหลาย | 51 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยินดสี ขุ ลาดับท่ี กิจกรรม ไมป่ ฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ ขอ้ สังเกตและ ขอ้ เสนอแนะ 3 ได้จดั บรรยากาศช้ันเรียน ดังน้ี 3.1 จัดโต๊ะท่ีน่ังของนักเรียนแบบคละความสามารถ/ความถนัด/ คละเพศ 3.2 กาหนดบทบาทของสมาชกิ กลมุ่ ชัดเจน 3.3 ใช้กระดานตามแผนท่กี าหนด 3.4 มีการบม่ เพาะความมีวนิ ยั ของเด็ก 3.5 มกี ารเตรยี มตัวความเป็นผมู้ ีบคุ ลิกภาพความเปน็ ครู 3.6 มกี ารเสริมแรงและสร้างแรงจูงใจ 3.7 มีกลยุทธ์การสรา้ งการจดั การเรียนการสอนและมีความสุข 2) พฤติกรรมการเรียนของเดก็ ขอ้ เสนอแนะ 1.พฤติกรรมเชงิ บวกท่ีสงั เกตได้ 2.พฤติกรรมทรี่ อการแกไ้ ข ขอ้ เสนอแนะ 4.9 ตวั อยา่ งสมุดบนั ทกึ การปฏบิ ตั ิงาน (Log Book) 1) สง่ิ ทีท่ า (Cause) ข้าพเจา้ ได้รับทาการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study) ผา่ นชุมชนแหลง่ การเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) รอบท่ี 1 เดือน พฤศจิกายน ปี2561 ในรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ลมพัดไป ทางใด โดยกลุ่ม PLC ประกอบด้วย ผู้วางแผน ผู้ร่วมคิด และพี่เล้ียงคือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มขี ้นั ตอนดังน้ี

การเรียนรูเ้ ชงิ รุกเสริมสมรรถนะด้วยวธิ ีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 52 รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดสี ขุ 1. มีการวิเคราะหต์ วั ชีวดั และมาตรฐานการเรียนรู้ และสาระทส่ี อน 2. ออกแบบ และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เน้นการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังโดยใช้ CO- 5STEPs ดว้ ยตัวขา้ พเจ้าเอง 3. จากนน้ั กล่มุ PLC รว่ มสะท้อนคิดแผนฯ ได้ข้อคดิ นาไปปรบั แผนฯตอ่ อกี รอบ 4. ไดน้ าแผนฯไปปฏิบัตกิ ารสอนในห้องเรียนเป็นเวลา 1 ช่วั โมง โดยมคี ณะ PLC สงั เกตการณ์ 5. จากนี้กลุ่ม PLC ไดม้ ีการสะท้อนคดิ ไดป้ ระเด็นจดุ เด่น 1) การสอนเน้น Active Learning แต่ควรใช้เด็กเก่งดูแลเด็กเรียนช้าอย่างชัดเจน และ ควรดแู ลอย่างสม่าเสมอ 2) ควรเพ่ิมเติมเทคนคิ การใชผ้ ังกราฟิก และระบคุ าถามหลังการทดลองเป็นลาดบั จนเด็ก สามารถสรุปการใชเ้ ครอ่ื งมือวดั ทิศทางลม (wind vane) ดว้ ยตนเอง 3) เสนอให้ลองทดลองสอนอีก 3 คร้ังโดยใช้เทคนิค ใบทดลองร่วมกับผังกราฟิกซึ่งเป็น การทาวิจัยพัฒนาการเรยี นรู้หรอื วิจัยปฏิบัตกิ ารในช้นั เรยี น (CAR) 2) ผลท่ีเกดิ (Effect) ขา้ พเจ้าได้ประสบการณจ์ ากการทา PLC ดังนี้ 1) ได้ความรู้เร่ืองการออกแบบและเขียนแผนฯ ตามตัวชี้วัดด้วยการกาหนดเวลาในแต่ละ ขนั้ ตอนให้ชัดเจน 2) ร้แู ละเข้าใจการจดั ใหเ้ ด็กมกี ารทางานแบบรวมพลงั เพื่อไม่ทง้ิ เดก็ แมค้ นเดยี ว 3) ไดว้ ธิ ีการจดั การเร่อื งการใช้กระดานในการเขียน และติดผลงานของกลุม่ 3) บทเรียนท่ีได้ (Lesson) PLC ดีจริง ๆ เหมือนมีกระจก 6 ด้าน สะท้อนพฤติกรรมการสอนของของข้าพเจ้า และ พฤติกรรมของเด็ก อย่างเชิงประจักษ์มีหลักฐานชัดเจนเป็นการพัฒนาให้มีศิลปะในการสอน จากคาแนะนา และจากการทาวิจัย CAR อันจะเป็นการพัฒนาตนเองสู่การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของ นักเรยี น 4) นาไปใช้อยา่ งไรในอนาคต (Application) ข้าพเจ้าจะขอรับการพัฒนาตนเองให้สามารถจัดการเรียนรแู้ บบรวมพลังเชิงรุกในเทอมนี้อีก 2 ครั้ง คือ เดือนธันวาคมและมกราคม ปี 2561 ต่อปี 2562 อันจะทาให้ข้าพเจ้าพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง และผลพลอยได้ข้าพเจ้าจะได้เก็บภาระงาน PLC รวม 3 ครง้ั คร้ังละ 8 ชั่วโมง รวมเป็น 24-25 ชั่วโมงต่อภาค เรียน

การเรียนรู้เชิงรกุ เสรมิ สมรรถนะดว้ ยวธิ ีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 53 รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดีสุข 6. วธิ ีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย วธิ ีสอน (teaching method) วิธีสอน คือ ขั้นตอนท่ีผู้สอนดาเนินการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงค์ด้วยวธิ ีการต่าง ๆ ที่ แตกต่างกันไปตามองค์ประกอบ และข้ันตอนสาคัญอันเปน็ ลักษณะเด่น หรือลักษณะเฉพาะท่ีขาดไม่ได้ของวิธี น้ัน ๆ เช่น วิธีการสอนโดยใช้บรรยายองค์ประกอบสาคัญของการบรรยาย คือ เน้ือหาสาระท่จี ะบรรยาย และ การบรรยาย และขั้นตอนสาคัญ คือ การเตรียมเน้ือหา การบรรยาย (พูด บอก เล่า อธิบาย) และการ ประเมินผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนทเี่ กดิ จากการบรรยาย รปู แบบการเรียนการสอน (instructional model) รูปแบบการเรียนการสอน/รูปแบบการสอน คือ รูปแบบแผนการดาเนินการสอนท่ีได้รับการจัดเป็น ระบบ อยา่ งสมั พันธ์สอดคล้องกบั ทฤษฎี/หลักการเรยี นรู้ หรอื การสอนที่รปู แบบนั้นยึดถอื และไดร้ บั การพิสูจน์ ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะรูปแบบนั้นๆ โดยท่ัวไป แบบแผนการดาเนินการสอนดังกล่าวมักประกอบด้วย ทฤษฎี/หลักการท่ีรูปแบบนั้นยึดถือ และกระบวนการ สอนท่ีมีลักษณะเฉพาะอันจะนาผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมายเฉพาะท่ีรูปแบบน้ันกาหนด ซ่ึงผู้สอนสามารถนาไปใช้ เปน็ แบบแผน หรอื แบบอย่างในการจัด และดาเนินการสอนอน่ื ๆ ทมี่ ีจดุ มงุ่ หมายเฉพาะเช่นเดียวกนั ได้ (ทิศนา แขมมณ,ี 2552) แนวการสอน (teaching approach) แนวการสอน หมายถึง กลวิธี หรือยุทธศาสตร์การสอนเป็นแนวทางกว้างๆ โดยมีทฤษฎี หลักการ แนวคิดสนับสนนุ เพื่อการจัดการเรียนการสอน แนวการสอนอาจแบ่งเป็นแนวการสอนทางตรง แนวการสอน ทางอ้อม และแนวการสอนแบบผสมผสาน เทคนคิ การสอน (teaching techniques) เทคนิค คือ กลวิธีต่าง ๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการ ข้ันตอน วิธีการ หรือการกระทาใด ๆ เพื่อช่วยให้ กระบวนการ ขนั้ ตอน วธิ กี าร หรอื การกระทาน้ัน มีคณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพมากข้นึ ดงั น้นั เทคนิคการสอน จงึ หมายถึง กลวธิ ีต่าง ๆ ท่ีใช้เสริมกระบวนการสอน ขน้ั ตอนการสอน วธิ ีการสอน หรอื การดาเนินการทางการ สอนใด ๆ เพ่ือชว่ ยใหก้ ารสอนมีคุณภาพ และประสทิ ธิภาพมากขึน้ เชน่ ในการบรรยายผู้สอนใช้เทคนิคต่าง ๆ ท่ีสามารถช่วยให้การบรรยายมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากข้ึน เช่น การยกตัวอย่าง การใช้ส่ือ การใช้ คาถามเปน็ ต้น (ทิศนา แขมมณี, 2552)

การเรียนร้เู ชิงรกุ เสรมิ สมรรถนะด้วยวิธีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 54 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดสี ุข

การเรยี นรู้เชงิ รกุ เสริมสมรรถนะด้วยวิธแี ละเทคนิคการสอนหลากหลาย | 55 รศ.ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดสี ุข 7. กรณีตวั อยา่ งการออกแบบการเรยี นการสอนแนว LOE 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

การเรยี นรู้เชงิ รุกเสริมสมรรถนะด้วยวิธแี ละเทคนิคการสอนหลากหลาย | 56 รศ.ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดสี ขุ 2) การออกแบบการเรียนการสอนตามแนว LOE กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เขียนวตั ถุเรียงลาดบั การปฏิบัติเพ่ือการเรียนร)ู้

การเรยี นร้เู ชิงรกุ เสรมิ สมรรถนะดว้ ยวธิ ีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 57 รศ.ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดสี ขุ 3) กรณีตวั อย่างใบกิจกรรม 3.1 คณติ ศาสตร์ ใบกจิ กรรมเสรมิ สมรรถนะ ศึกษาวธิ ีการของเส้นรอบรูปสเี่ หล่ยี ม (2มิติ)  วสั ด/ุ อปุ กรณ์ 1. กระดาษ 4 แผน่ (A4) 2. กระดาษสรปุ 1 แผ่น (การด์ ส)ี 3. ไมบ้ รรทัด 4. ไมโ้ ปรแทค็ เตอร์ 5. เชือก 6. กรรไกร 7. กลอ่ งนม 7 กล่อง  วธิ ีทา ขนั้ 2 (สว) 1. ให้กล่มุ 4 คน (คละความสามารถ) ประชุมกลมุ่ ทางาน เพอื่ รู้เปา้ หมาย และแบ่งงาน 2. ให้สมาชิกแต่ละคน หาวิธีอย่างหลากหลาย ลองปฏิบัติหาเส้นรอบรูปสี่เหล่ียม (A4) ที่ กาหนด พร้อมเขียนระบุในกระดาษแผน่ สน้ั (8 นาที) 3. ให้หัวหน้านากลุ่มรวมวิธีหาเส้นรอบรูปดังกล่าว พร้อมอภิปรายสรุปวิธีหาเส้นรอบรูป สี่เหลี่ยม เขยี นลงในกระดาษการด์ สี 4. กลุ่มเตรียมเสนอผลการศึกษา (ใชเ้ วลา 30 นาที) ข้ัน 5 (ปตท) 1. ให้กลุ่มร่วมกนั ออกแบบ และปฏบิ ตั ิใหห้ าเส้นรอบกล่องนมสดที่กาหนด 2. เขียนระบุวิธหี า/ศึกษาดังกล่าวในข้อ 1 3. บนั ทึกผลลงในกระดาษที่เตรยี มให้ (ใช้เวลา 20 นาที) จงมานะอดทนและ ใช้ทกั ษะกระบวนการคณิตศาสตร์

การเรียนรูเ้ ชงิ รกุ เสริมสมรรถนะด้วยวธิ ีและเทคนิคการสอนหลากหลาย | 58 รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดสี ุข 3.2 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ใบกิจกรรม ศกึ ษาความหมายของเมี่ยง 1. ใหศ้ ึกษาชนดิ ของเมย่ี ง 5 ชนดิ คอื 1) เม่ียงหมัก 2) เมีย่ งคา 3) เมี่ยงคะน้า 4) เม่ียงปลาเผา 5) เมยี่ งปลาทู จากของจริง / วิดีทศั น์ / ภาพ เพื่อศึกษาองคป์ ระกอบของเมยี่ งแตล่ ะชนดิ 2. จากนั้นให้วิเคราะห์องค์ประกอบสาคัญท่ีขาดไม่ได้ของเม่ียงแต่ละชนิด และชนิดของอาหารประเภทเม่ียง แล้วบนั ทกึ ลงตารางทกี่ าหนด ตาราง ชนิดของอาหารและลกั ษณะรว่ มทขี่ สดไม่ไดข้ องเมีย่ ง ชนดิ ของเม่ียง ลกั ษณะรว่ มท่ีขาดไม่ได้ ชนดิ ของอาหาร เปน็ อาหารหลกั ของกินเลน่ 1. เมย่ี งหมัก 2. เมีย่ งคา 3. เม่ยี งคะน้า 4. เมีย่ งปลาเผา 5. เม่ียงปลาทู จากน้ันให้สรปุ ความหมายของเมยี่ ง และชนิดของเม่ียง 3. ให้เขียนนาเสนอผลสรุปดว้ ยผงั กราฟิกทเ่ี หมาะสม (20 นาท)ี จงเปน็ ผู้รอบคอบและตรงเวลา

การเรียนรู้เชงิ รกุ เสริมสมรรถนะดว้ ยวิธีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 59 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดสี ุข 3.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ: ภาษาองั กฤษ ใบกจิ กรรม ศกึ ษาโครงสรา้ งของ The Simple Past Form 1. ให้กลุ่ม 4 คนคละเพศ และคละความสามารถศึกษาการใช้ Simple Past Verb จากข้อมูล ตัวอยา่ งในตารางตอ่ ไปนี้ The Simple Past Form Explanation Example Regular simple past verbs end in -ed Base Form Simple Past start started They started a bicycle business. Repair repaired They repaired bicycle. Irregular simple past verbs do not end in -ed Base Form Simple Past make made They made four short flights in 1903. sell sold They sold the fly to the U.S. Army. The verb be is irregular. It has two forms in Wilbur Wright was born in 1867. the past: was and were. Thy Wright brothers were inventors. จากน้ันให้วิเคราะห์องค์ประกอบของประโยคท่ีแสดงอดีต (The simple past tense) ในแต่ละ ประโยคแลว้ จงสรปุ โครงสรา้ งของ The simple past form ในการศึกษาของกลุ่มให้ใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ Think-Pair-Share โดยใช้เวลา 4-3-5 นาที ตามลาดับ 2. กลุ่มจงเขียนโครงสร้างของ The Simple Past Form ท่สี รุปได้ ลงในกระดาษท่ีกาหนด (ใช้เวลารวม 12 นาที) จงเปน็ นกั วเิ คราะห์ ด้วยความรับผดิ ชอบ

การเรยี นรู้เชงิ รกุ เสรมิ สมรรถนะดว้ ยวธิ แี ละเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 60 รศ.ดร.พมิ พันธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดสี ุข แบบฟอร์มเพ่อื การออกแบบการเรยี นการสอนตามแนว LOE (BwD) ของแผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวัน

การเรียนร้เู ชิงรกุ เสริมสมรรถนะดว้ ยวธิ ีและเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 61 รศ.ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดสี ุข 8. การวเิ คราะห์ และการนาเสนอ เมือ่ พิจารณาระดบั การคิด 6 ระดับในพุทธพสิ ัย หรือ Cognitive Domain ตามแนวคดิ ของ Benjamin Bloom ในแนวใหม่ หรอื New Version การวเิ คราะหจ์ ดั เปน็ การคิดระดับที่ 4 จาก 1. การจา 2. การเข้าใจ 3. การนาไปใช้ จากนั้นจะเป็นการพัฒนาการคิดข้ันสูง คือ การประเมินค่า และการริเริ่ม ดังผัง ต่อไปนี้ ผัง ระดบั การคดิ 6 ระดับของพทุ ธิพสิ ัยตามแนวคิดของ Benjamin Bloom ทักษะการวเิ คราะห์ หมายถงึ ความชานาญการคดิ จาแนก และหาความสมั พนั ธ์ขององคป์ ระกอบของ ส่งิ ใดสิง่ หนึ่ง หรือเรื่องใดเร่อื งหนึง่ ตามเกณฑท์ กี่ าหนด เพ่อื ก่อใหเ้ กิดความรู้ และความเขา้ ใจในส่งิ นน้ั หรือเรื่อง น้นั

การเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ เสริมสมรรถนะด้วยวธิ แี ละเทคนคิ การสอนหลากหลาย | 62 รศ.ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์รศ.พเยาว์ ยนิ ดีสุข ตาราง ประเภทของการวิเคราะห์กบั ชนิดผังกราฟกิ ทใี่ ช้ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ ประเภทของการวิเคราะห์ ชนิดผังกราฟิกทใ่ี ช้ ให้ (คาส่ัง) ผงั คาสาคญั (Word Web) 1. ระบคุ าสาคญั ทเี่ กีย่ วข้องกบั เรื่อง/เหตุการณ์ ผัง Time Line 2. เรยี งลาดับเหตกุ ารณ์ ภาพการ์ตูน ผงั Step Chart เรยี งลาดบั เรือ่ ง จัดกลุม่ จดั ประเภท (grouping) เรียงลาดับขั้นตอน ผังจาแนกประเภท (Classifying) จดั กล่มุ /จัดประเภท/จัดหมวดหมู่ เวนน์ไดอะแกรม จาแนกประเภท ผังแสดงความสัมพันธ์ 3. เปรยี บเทียบความเหมือนความตา่ ง เหตุและผล ตารางการประเมิน ปจั จยั และผล 4. ระบุข้อดี ข้อเสีย ขอ้ น่าสนใจ ผงั มโนทัศน์ ขอ้ เด่น ข้อด้อย 5. สรุปความคิดรวบยอด (มโนทศั น)์ ผงั ผสมผสาน 5.1 ขอ้ เทจ็ จริง 5.2 ความหมาย 5.3 ความคดิ สาคัญ  ประโยชน์  ประเภท  ความเปน็ มา 5.4 หลักการ 5.5 กฎ ตัวอยา่ ง การวิเคราะห์ และการส่ือความหมายข้อมูล ตาราง เปรียบเทยี บลักษณะสาคัญวิธีสอนแบบสบื สอบ และวิธกี ารสอนแบบโครงงาน ลักษณะ วิธีสอนแบบสืบสอบ วิธีสอนแบบโครงงาน กระบวนการที่ใช้ วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ เปน็ กระบวนการสืบสอบ เป็นกระบวนการวจิ ัย บทบาทครู ผอู้ านวยความสะดวก ทปี่ รกึ ษา บทบาทผเู้ รยี น ผสู้ ืบสอบ และสรา้ งความรู้ใหม่ ผู้แก้ปญั หา และสรา้ งความรู้ใหม่ และผลผลติ / ชนิ้ งานใหม่ ความรทู้ ่ีค้นพบ ความรใู้ หมท่ ี่ผเู้ รียนไมเ่ คยรมู้ าก่อน ความร้ใู หม่ และผลผลติ /ช้ินงานใหม่ทท่ี ้ังผู้เรยี น ส่วนครเู คยรู้มาแลว้ และครไู ม่เคยรู้มาก่อน (unknown by some) (unknown by all)

การเรยี นรู้เชงิ รุกเสรมิ สมรรถนะด้วยวธิ แี ละเทคนิคการสอนหลากหลาย | 63 รศ.ดร.พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดีสุข ข้ันตอนของวิธีสอนแบบสืบสอบ และวิธีสอนแบบโครงงานมีท้ังความเหมือน และความแตกต่าง ดัง ตารางข้างต้น จึงเรียกได้ว่า วิธีสอนท้ังสองเป็นความเหมือนท่ีมีความแตกต่างกันปรากฏดัง ผังเวนท์ (Venn Diagram) ต่อไปน้ี ผงั เปรยี บเทยี บลกั ษณะสาคัญระหว่างวธิ สี อนแบบสบื สอบกบั วิธีสอนแบบโครงงาน 9. ประวตั ิวทิ ยากร รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ ประวัตกิ ารศกึ ษา  ครุศาสตร์บัณฑติ (เกยี รตินยิ มเหรียญทอง) (การมธั ยมศกึ ษา)  ครุศาสตร์มหาบณั ฑติ (การศกึ ษาวิทยาศาสตร)์  ครุศาสตร์ดุษฎีบณั ฑิต (หลักสูตรและการสอน) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั  Certification Science Education, Hiroshima University, Japan  ศึกษา ดูงาน ประชุม สัมมนาในนานาประเทศ เร่ือง การเรียนรู้แบบรว่ มมือ การเรียนรู้แบบรวมพลัง พหุปัญญา การพัฒนาการคิดระดับสูง การเป็นพี่เล้ียง ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การจัดการ เรียนรู้ และการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study)

การเรียนรเู้ ชงิ รกุ เสริมสมรรถนะด้วยวิธีและเทคนิคการสอนหลากหลาย | 64 รศ.ดร.พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์รศ.พเยาว์ ยินดีสุข ตาแหน่งหน้าท่ีปัจจบุ ัน  ผู้เช่ียวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย ประสบการณ์และความเชีย่ วชาญพเิ ศษ  การพฒั นาหลกั สตู ร รายวิชา และหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ  การจัดการเรยี นรู้เนน้ เด็กเป็นสาคญั  การจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ แบบรวมพลังเสรมิ ทกั ษะการคิด  การประเมนิ การเรยี นรู้ด้วยเคร่อื งมอื หลากหลาย  การสร้างนวตั กรรมการเรียนรบู้ นฐานการวจิ ัย  การจดั การชน้ั เรียนเพื่อสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรเู้ ชิงบวก  การสอนงานดว้ ยชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ท้ังการสบื สอบ โครงงาน และงานวจิ ยั และ การแก้ปัญหา  การจัดการเรยี นรู้พัฒนาสมรรถนะ รองศาสตราจารยพ์ เยาว์ ยินดีสขุ ประวตั ิการศกึ ษา  ครุศาสตรบ์ ัณฑิต (การสอนชีววิทยา-คณติ ศาสตร)์  ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตร์) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย  ศึกษา ดูงาน ประชุม สัมมนาในต่างประเทศ เรื่อง หลักสูตรและการสอนชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ การพัฒนาบทเรยี นร่วมกนั (Lesson Study) ตาแหน่งหน้าทปี่ ัจจุบัน  ผ้เู ช่ียวชาญสาขาวชิ าการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประสบการณแ์ ละความเช่ยี วชาญพิเศษ  พัฒนาแบบเรยี นและคู่มอื การสอนวิทยาศาสตร์  การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์บูรณาการทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง  การสอนเพื่อพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์  การสอนโครงงานวทิ ยาศาสตร์  การวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ ารในชน้ั เรียน  การทาแบบสอบเน้นการคิด  ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี