Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2 ปีการศึกษา 2563

คู่มือวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2 ปีการศึกษา 2563

Published by jubjang104, 2021-06-24 09:08:40

Description: คู่มือวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2 ปีการศึกษา 2563
อาจารย์ณัฐนิชา ศรีละมัย และอาจารย์สุนทรี รักความสุข
สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี

Search

Read the Text Version

คู่มือ วชิ าปฏิบัติการพยาบาลเดก็ และวัยร่นุ 2 (พย.1311) Children and Adolescents Nursing Practicum 2 สาหรับนักศึกษาช้นั ปีท่ี 3 รุ่นท่ี 41 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ปกี ารศึกษา 2563 สาขาวชิ าการพยาบาลเด็ก และวยั ร่นุ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี

2 คานา คู่มือวชิ าวิชาปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวัยร่นุ 2(พย.1311)น้สี าหรบั นักศึกษาหลักสตู รพยาบาล ศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 รนุ่ 41 ภาคการศึกษาท่ี 2 ฝึกปฏิบตั ิระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ถึง 28 กุมภาพนั ธ์ 2564 จานวน 4 กลมุ่ ๆ ละ 3 สัปดาห์ คูม่ อื น้จี ะแสดงคาอธิบายรายวชิ า ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเดก็ และ วัยร่นุ การประเมนิ และส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโต พฒั นาการและโภชนาการ การสรา้ งเสริม ภมู คิ ุม้ กนั โรคปฏกิ ิรยิ าตอบสนองต่อความเจบ็ ปว่ ยโดยใชก้ ระบวนการพยาบาลแบบองคร์ วมในการแกไ้ ข ปญั หาสขุ ภาพของเด็กและวัยรุ่นทงั้ ดา้ นอายุรกรรม และศัลยกรรม ทีม่ ีปญั หาสุขภาพในระยะวิกฤต เรอื้ รัง และระยะสุดทา้ ย โดยคานึงถึงสิทธเิ ดก็ ความปลอดภยั การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล ด้วยหัวใจความเปน็ มนุษย์ บนพ้ืนฐานของความเอื้ออาทร ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ และหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยมุ่งเสริมสร้างศกั ยภาพ ของบุคคล และครอบครัวในการดแู ลเด็กทง้ั นน้ี ักศกึ ษาไดเ้ รียนสาระเนื้อหาดังกล่าวแลว้ ในวชิ าการพยาบาล เด็กและวัยรนุ่ และไดผ้ า่ นการฝึกภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ 1 มาแล้ว ดงั นั้นนกั ศึกษาสามารถ นาความรู้ท่ีทง้ั ทฤษฎแี ละปฏิบัติมาใช้สาหรบั การฝกึ วชิ าปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ 2 ไดท้ หี่ อผู้ปว่ ย กุมารเวชกรรม รพ.ชลบรุ ี นอกจากนีภ้ ายในคู่มือยงั มีแบบประเมนิ ทั้งหมดทเี่ กย่ี วข้องกับนักศกึ ษาท่ีใช้ในการประเมนิ ผลการ เรยี นร้ขู องนักศกึ ษาตลอดจนทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอนไดแ้ ก่ ตาราและเอกสารหลัก เอกสาร และข้อมูลสาคญั รวมถึงข้อมูลสาคญั ทีใ่ ช้สาหรับการเรียนการสอนวชิ าปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั ร่นุ 2 น้ี ซึง่ หวังวา่ เป็นอยา่ งย่ิงว่าคู่มือเล่มน้ีจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ นักศึกษา คณาจารย์และอาจารย์พเี่ ลย้ี งทเี่ กีย่ วขอ้ ง กับต่อไป สาขาวชิ าการพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น พฤศจกิ ายน 2563

สารบัญ 3 เนือ้ หา หน้า คานา 2 สารบัญ 3 รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม 4 4 หลกั สูตรและประเภทของรายวชิ า 4 อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบ 4 อาจารย์ท่ปี รึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 5 จดุ มุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม 6 คาอธบิ ายโดยท่วั ไปของประสบการณภ์ าคสนามหรอื คาอธิบายรายวิชา 6 กจิ กรรมของนักศึกษา 8 รายงานหรืองานทน่ี กั ศึกษาได้รับมอบหมาย 9 หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผล 9 การติดตามผลการเรยี นร้กู ารฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนกั ศึกษา 10 หน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของอาจารย์พเิ ศษสอนภาคปฏบิ ัติ 10 หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบรายวชิ า/อาจารย์ผูส้ อนภาคปฏิบตั ิ 10 การเตรียมการในการแนะแนวและชว่ ยเหลือนักศกึ ษา 10 สง่ิ อานวยความสะดวกและการสนบั สนุนทต่ี ้องการจากสถานทท่ี ่ีจัดประสบการณ์ 11 ภาคสนาม 12 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน ตาราและเอกสารหลัก 13 เอกสารและข้อมูลแนะนา 14 16 ภาคผนวก 17 การจัดการความเสยี่ งที่อาจเกิดขึ้นกบั นักศกึ ษาในการฝึกปฏิบัตกิ ารพยาบาล 18 แผนการฝกึ ภาคปฏิบตั ินักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ช้นั ปีที่ 3 ร่นุ 41 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 25 แบบสรุปรปู แบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ลในหลกั สตู รพยาบาลศาสตร 26 บณั ฑติ 27 แบบประเมินพฤติกรรมการฝึกภาคปฏิบัติ 28 แบบประเมนิ ประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล 29 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 30 แบบประเมนิ การพยาบาลผู้ป่วยรายบุคคล (Nursing Care Study) 31 แบบประเมินแผนผังความคิด แบบประเมนิ สะท้อนคดิ แบบประเมินการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย (Nursing Case Study)

4 รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม ชื่อสถาบันอดุ มศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี สาขาวิชา การพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น หมวดท่ี 1. ข้อมลู ทว่ั ไป 1.1 รหัสและช่ือรายวิชา พย.1311 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 2 Nu.1311 Children and Adolescents Nursing Practicum 2 1.2. จานวนหนว่ ยกติ หรือจานวนชั่วโมง 2 (0-6-0) 1.3. หลักสูตรและประเภทของรายวชิ า หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสตู รปรับปรุง) พ.ศ. 2561 ประเภทของรายวิชา วชิ าบงั คับ หมวดวชิ าเฉพาะ กลุ่มวิชาชพี 1.4 อาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบ/อาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏบิ ัติ 1.4.1 ผู้รับผิดชอบรายวิชา 1.4.1.1 อาจารย์ณัฐนชิ า ศรลี ะมัย พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) 1.4.1.2 อาจารยส์ ุนทรี รกั ความสุข การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวทิ ยาการศึกษา) 1.4.2 อาจารยผ์ ูส้ อนภาคปฏิบตั ิ 1.4.2.1 อาจารย์ดร.สมปรารถนา สดุ ใจนาค ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พยาบาลศาสตร์) พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) 1.4.2.2 อาจารย์ณัฐนิชา ศรีละมยั พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลเด็ก) พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต 1.4.2.3 อาจารย์อมรรัตน์ การะมี (การพยาบาลแม่และเด็ก) พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต 1.4.2.4 อาจารย์พัชราภา กาญจนอุดม (การพยาบาลครอบครัว) วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต (โภชนวิทยา) 1.4.2.5 อาจารย์ณัฏฐา วรรธนะวโิ รจน์ การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวยิ าการศกึ ษา) 1.4.2.6 อาจารย์จไุ รรตั น์ วัชรอาสน์ 1.4.2.7 อาจารย์สนุ ทรี รักความสขุ 1.5 ภาคการศึกษา/ชน้ั ปที ีเรียน ภาคการศกึ ษาที่ 2 ชน้ั ปีที่ 3 จานวน 154 คน 2 จุดมุง่ หมายของประสบการณภ์ าคสนาม วัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือใหน้ ักศกึ ษาเกิดผลลัพธ์การเรยี นรู้ ดงั น้ี 2.1.1. มีความซ่ือสัตย์ มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา (1.1) 2.1.2 มคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (1.2)

5 2.1.3 แสดงออกถึงการเคารพสิทธิ คุณค่า ความแตกต่าง และศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ของ ผู้อ่นื และตนเอง (1.4) 2.1.4 แสดงออกถึงการมีทัศนคติท่ีดีต่อวิชาชีพการพยาบาล ตระหนักในคุณค่าวิชาชีพ และสิทธิ ของพยาบาล (1.6) 2.1.5 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์อย่างกวา้ งขวางและเป็นระบบ (2.2) 2.1.6 สามารถสบื คน้ ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมูลท่หี ลากหลาย วเิ คราะห์ และเลอื กใช้ขอ้ มูลในการอ้างอิง เพือ่ พัฒนาความร้แู ละแกไ้ ขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (3.1) 2.1.7 สามารถคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เพ่ือหาแนวทางใหม่ใน การแก้ปัญหาการปฏบิ ตั ิงาน และบอกถึงผลกระทบจากการแก้ไขปัญหาได้ (3.2) 2.1.8 มีปฏสิ มั พันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผูร้ ับบริการ ผู้รว่ มงาน และผทู้ เี่ กยี่ วข้อง (4.1) 2.1.9 สามารถทางานเป็นทีมในบทบาทผู้นาและสมาชิกทีม ในบริบทหรือสถานการณ์ท่ี หลากหลาย (4.2) 2.1.10 สามารถแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล และเคารพในความคิดเห็นของ ผู้อ่ืน (4.3) 2.1.11 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และมจี รยิ ธรรม (5.3) 2.1.12 สามารถสอื่ สารเพอื่ ใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารได้รบั บริการสุขภาพอย่างปลอดภยั (5.4) 2.1.13 สามารถปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์อย่างเป็นองค์รวมเพ่ือความปลอดภยั ของ ผู้รบั บริการ ภายใตห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ กฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชีพ (6.1) 2.1.14 สามารถใช้กระบวนการพยาบาล ในการปฏบิ ตั ิการพยาบาล และการผดุงครรภ์ (6.2) 2.1.15 ปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ด้วยความเมตตา กรุณา และเอื้ออาทร โดย คานึงถงึ สิทธิผปู้ ว่ ย และความหลากหลายทางวัฒนธรรม (6.3) 2.1.16 สามารถปฏิบัติทักษะการพยาบาลได้ทั้งในสถานการณ์จาลอง และในสถานการณ์จริง (6.4)

6 3. คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา ฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น การประเมิน และส่งเสริมการเจริญเติบโต พัฒนาการ และ โภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเจ็บป่วย โดยใช้กระบวนการพยาบาล แบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของเด็ก และวัยรุ่นท้ังด้านอายุรกรรม และศัลยกรรม ที่มีปัญหา สุขภาพในระยะวิกฤต เร้ือรัง และระยะสุดท้าย โดยคานึงถึงสิทธิเด็ก ความปลอดภัย การใช้ยาอย่างสม เหตุผล ด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์บนพ้ืนฐานของความเอื้ออาทร ภูมิปัญญาท้องถิ่น และหลักฐานเชิง ประจกั ษ์ มงุ่ เสรมิ สร้างศักยภาพของบุคคล และครอบครวั ในการดูแลเด็ก 4. กจิ กรรมของนกั ศึกษา ในแหล่งฝกึ และกจิ กรรมดงั ตอ่ ไปนี้ หอผู้ป่วย/ จานวนวันฝึก จาวนวนผปู้ ว่ ย/ ลาดบั ท่ี แหล่งฝกึ ประสบการณ์การพยาบาล ผรู้ ับบรกิ ารท่ี 1. ต้องการดูแล 2. กุมารเวชกรรม 1 กุมารเวชกรรม 1 1.ประเมิน และส่งเสริมการเจริญเติบโต พัฒนาการ 1 ราย สลบั กันกับ (9 /4.5วนั ) และโภชนาการ หอผปู้ ่วยหนัก . 2. ให้การพยาบาลเด็กเก่ยี วกับ การสรา้ งเสริม 1 ราย ทารกแรกเกิด ภูมคิ ุ้มกนั โรค ปฏิกริ ยิ าตอบสนองตอ่ ความเจบ็ ปว่ ย (NICU) 3 ใช้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม ในการแก้ไข 1 ราย ปัญหาสุขภาพของเด็ก และวัยรุ่นด้านอายุรกรรม และศัลยกรรม 4.ประชุมปรึกษาทางการพยาบาลก่อนและหลังการ ปฏิบตั ิ 5.ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนในคลนิ ิกเรื่อง - การพยาบาลผู้ป่วยเดก็ ทภี่ าวะปอดอักเสบ - การพยาบาลผปู้ ่วยเด็กท่ภี าวะหวั ใจวาย หอผปู้ ่วยหนัก 1.ใช้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม ในการแก้ไข 1 ราย ทารกแรกเกดิ ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยหนกั ทารกแรกเกดิ (NICU) ดา้ นอายุรกรรม และศัลยกรรม (9 /4.5วัน ) 2.ประชุมปรึกษาทางการพยาบาลก่อนและหลังการ ปฏิบัติ 3.รว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนในคลินกิ เรือ่ ง -การพยาบาลทารกแรกเกิดวิกฤติทมี่ ภี าวะตวั เหลอื ง -การพยาบาลทารกแรกเกิดทอ่ี ยู่ในตู้อบ กุมารเวชกรรม 4 กมุ ารเวชกรรม 4 1.ประเมิน และส่งเสริมการเจริญเติบโต พัฒนาการ 1 ราย สลับกนั กบั (9 /4.5วนั ) และโภชนาการ หอผูป้ ่วยทารก 2. ให้การพยาบาลเด็กเกี่ยวกับ การสร้างเสริม 1 ราย แรกเกิดปว่ ย ภูมิคุม้ กันโรคปฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อความเจ็บปว่ ย (SNB) 3.. ใช้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม ในการ 1 ราย แก้ไขปญั หาสุขภาพของเด็ก และวยั รนุ่ ดา้ น อายุ รกรรม และศลั ยกรรม

7 หอผปู้ ่วย/ จานวนวันฝกึ จาวนวนผู้ปว่ ย/ ลาดับที่ แหลง่ ฝกึ หอผ้ปู ว่ ยทารก ประสบการณก์ ารพยาบาล ผรู้ บั บรกิ ารท่ี แรกเกิดปว่ ย ต้องการดแู ล (SNB) (9 /4.5วัน ) 4.ประชุมปรึกษาทางการพยาบาลก่อนและหลังการ ปฏิบตั ิ 5.ร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอนในคลนิ กิ เรอื่ ง - การพยาบาลผูป้ ่วยเด็กที่ภาวะปอดอกั เสบ - การพยาบาลผู้ป่วยเดก็ ทีภ่ าวะหัวใจวาย 1.ใช้กระบวนการพยาบาลแบบองค์รวม ในการแก้ไข 1 ราย ปัญหาสุขภาพของทารกแรกเกิดป่วยด้านอายุรกรรม และศลั ยกรรม 2.ประชุมปรึกษาทางการพยาบาลก่อนและหลังการ ปฏบิ ัติ 3.รว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนในคลินิกเรื่อง -การพยาบาลทารกแรกเกิดวกิ ฤติทมี่ ีภาวะตวั เหลอื ง -การพยาบาลทารกแรกเกิดทอี่ ยู่ในตอู้ บ

8 5.รายงานหรอื งานที่นกั ศึกษาไดร้ บั มอบหมาย กาหนดสง่ รายงานหรืองานท่มี อบหมาย 1. ส่งแผนการพยาบาลในวันปฏิบตั งิ าน และ ตึกกมุ ารเวชกรรม 1 สลบั กนั กับหอผปู้ ่วยหนกั ทารกแรกเกดิ (NICU) สง่ ผลการศึกษาพยาบาลรายบคุ คล (Nursing รายเดยี่ ว care study ภายหลงั การใหก้ ารพยาบาล 1. แผนการพยาบาลผ้ปู ่วย (Nursing Care Study) 1 ฉบบั 1 วนั (2.2,3.1,3.2,4.1,5.4) 2.ส่งแผนผงั ความคิด 1 ในวนั ปฏบิ ตั งิ าน 3.สง่ รายงานการสะท้อนคดิ ในวันทีอ่ าจารย์ 2. แผนผงั ความคดิ 1 ฉบับ (2.2,3.1,3.2,5.4) กาหนด 3. รายงานการสะท้อนคิด จานวน 1 ฉบับ (2.2,3.1,3.2,4.1,4.3,5.2,5.3) 1. ก่อนการนาเสนอ 2 วันและส่งฉบับปรับแก้ รายกลุ่ม ที่สมบรู ณห์ ลงั นาเสนอแลว้ 3 วนั 1.รายงานการศึกษาผูป้ ว่ ยเฉพาะราย (Nursing Case study) (นาเสนอในสัปดาห์ท่สี องของการฝึกปฏบิ ัต)ิ (2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.3,5.4) **โดยมปี ระเด็นการใช้ยาสมเหตุผล การใช้ภมู ิปัญญาไทย และการทา Evidence Based Practice จากการ 1. สง่ แผนการพยาบาลในวนั ปฏิบัตงิ าน และ คน้ ควา้ ขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ภาษาองั กฤษ มีการสืบคน้ ความรู้ในฐานขอ้ มลู สง่ ผลการศึกษาพยาบาลรายบคุ คล (Nursing CINAHL Complete พร้อมแนบมากบั รายงานด้วย** care study ภายหลังการให้การพยาบาล ตึกกุมารเวชกรรม 4 สลบั กนั กับหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดป่วย (SNB) 1 วนั รายเดีย่ ว 2.ส่งแผนผงั ความคดิ 1 ในวนั ปฏิบตั งิ าน 1. แผนการพยาบาลผ้ปู ว่ ย (Nursing Care Study) 1 ฉบบั 3.ส่งรายงานการสะท้อนคดิ ในวนั ทอ่ี าจารย์ (2.2,3.1,3.2,4.1,5.4) กาหนด 2. แผนผงั ความคิด 1 ฉบบั (2.2,3.1,3.2,5.4) 1. ก่อนการนาเสนอ 2 วันและส่งฉบับปรับแก้ 3. รายงานการสะท้อนคิด จานวน 1 ฉบับ(2.2,3.1,3.2,4.1,4.3,5.2,5.3) ท่สี มบูรณ์หลงั นาเสนอแล้ว 3 วัน (นาเสนอในสปั ดาหท์ ่ีสองของการฝกึ ปฏิบตั )ิ รายกลุ่ม 1.รายงานการศึกษาผูป้ ว่ ยเฉพาะราย (Nursing Case study) (2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.3,5.4) **โดยมีประเด็นการใช้ยาสมเหตุผล การใช้ภมู ิปัญญาไทย และการทา Evidence Based Practice จากการ ค้นคว้าขอ้ มลู ท่เี ปน็ ภาษาอังกฤษ มีการสืบค้นความรู้ในฐานข้อมลู CINAHL Complete พรอ้ มแนบมากบั รายงานด้วย**

9 6.หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผล พฤติกรรม/งานทใี่ ช้ประเมนิ ผลผู้เรียน สัดส่วนการ แหลง่ ฝกึ การประเมิน ประเมินผล โรงพยาบาลชลบุรี 1. ทกั ษะ - พฤติกรรมการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ 40% 10% ตกึ กุมารเวช การปฏิบตั ิ (2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.3,5.4,6.1,6.2,6.3,6.4) 10% 60% กรรม 1 สลับกนั - พฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 10% กบั หอผปู้ ่วยหนกั (1.1,1.2,1.4,1.6) 10% ทารกแรกเกดิ - การประชุมปรกึ ษาทางการพยาบาล 10% (NICU) (2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.3,5.4) 5% 5% ตึกกุมารเวช รวม 40% กรรม 4 สลับกัน 2. ชน้ิ งาน - รายงานการศกึ ษาผปู้ ว่ ยเฉพาะราย (Nursing กบั หอผู้ปว่ ย และการสอบ Case study) (งานกลุ่ม1 ฉบับ) ทารกแรกเกดิ (2.2,3.1,3.2,4.1,4.2,4.3,5.3,5.4) ปว่ ย (SNB) - รายงานการสะท้อนคดิ จานวน 1 ฉบับ (2.2,3.1,3.2,4.1,4.3,5.2,5.3) (รายบุคคล 1 ฉบบั ) - รายงานการศึกษาพยาบาลรายบคุ คล (Nursing Care Study) (รายบคุ คล 1 ฉบับ) (2.2,3.1,3.2,4.1,5.4) - แผนผังความคดิ (รายบุคคล 1 ฉบับ) (2.2,3.1,3.2,5.4) - แบบทดสอบ MCQ และอัตนยั (Post-test) (2.2) รวม 7. การติดตามผลการเรยี นรู้การฝกึ ประสบการณ์ภาคสนามของนกั ศึกษา 7.1ผู้สอนประชุมปรึกษาก่อนการปฏิบัติงาน และติดตามผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากน้ันมี การประชุมปรึกษาหลังการปฏิบัติงานเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานและเป็นแนวทางการพัฒนาและการ ปฏบิ ัติงานในวนั ต่อไป 7.2 ผู้สอนตรวจแผนการพยาบาล พร้อมท้ังสะท้อนให้นักศึกษารับทราบข้อบกพร่องและนาไปแก้ไข ส่งภายในวันรงุ่ ขึ้น 7.3 ผู้สอนตรวจแผนผังความคิด พร้อมท้ังสะท้อนให้นักศึกษารับทราบข้อบกพร่องและนาไปแก้ไข และส่งภายหลังเสรจ็ ส้ินการนาเสนอรายงานหน้าช้นั เรียน 7.4 ผ้สู อนตรวจรายงานกรณีศึกษา พรอ้ มท้ังสะท้อนใหน้ ักศึกษารับทราบข้อบกพร่อง และนาไปแก้ไข ส่งงานภายใน 3 วนั 8 หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของอาจารย์พิเศษสอนภาคปฏบิ ัติ 8.1 ปฐมนิเทศเกีย่ วกับสถานทฝ่ี ึกปฏิบัตงิ าน กฎ ระเบยี บและแนวปฏิบตั ติ า่ งๆท่เี กยี่ วข้องกับการ ฝกึ ปฏิบัตงิ าน 8.2 ทาการสอนในคลนิ กิ ในหัวข้อที่สาคัญสาหรบั การฝกึ ปฏิบตั งิ านในสถานการณจ์ ริง

10 8.3 ใหค้ าแนะนาและคาปรึกษา ในขณะท่ีนักศึกษาฝึกปฏบิ ตั งิ าน 8.4 รว่ มกจิ กรรมการฝึกปฏบิ ัตงิ านของนักศกึ ษา ไดแ้ ก่ การประชุมปรกึ ษาก่อนและหลงั การปฏิบตั งิ าน 8.5 ให้ขอ้ มลู ป้อนกลบั แกน่ ักศกึ ษาทีฝ่ ึกปฏบิ ัติงาน และร่วมประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของนกั ศึกษา 9. หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบรายวิชา/อาจารยผ์ ูส้ อนภาคปฏบิ ัติ 9.1 รว่ มปฐมนิเทศการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิกับแหล่งฝกึ 9.2 มอบหมายงานนกั ศึกษาตามขอ้ กาหนดของรายวิชา 9.3 สอนในคลนิ ิกในหวั ข้อทสี่ าคญั สาหรับการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านในสถานการณจ์ ริง 9.4 สอน แนะนา ใหค้ าปรึกษา รว่ มกิจกรรมการปฏบิ ตั งิ านกบั นักศึกษา 9.5 ประสานงานกับแหล่งฝึก เก่ียวกับความต้องการพัฒนานักศึกษาของรายวิชา ปัญหาจากการ ฝกึ ปฏิบัติงาน ปญั หาของนักศกึ ษา และอืน่ ๆ 9.6 ประเมินผลและใหข้ ้อมลู ป้อนกลบั เพ่อื ใหน้ ักศึกษาได้พฒั นา 10. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนกั ศึกษา 10.1 จดั เตรียมแหลง่ ฝึก ให้เหมาะสมกบั การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร 10..2 ปฐมนิเทศรายวชิ า และเตรยี มความพรอ้ มในดา้ นตา่ งๆ แก่นกั ศึกษา กอ่ นฝกึ ประสบการณ์ ภาคสนาม เตรยี มคมู่ ือการเรยี นภาคปฏิบตั ิ และแบบประเมินต่างๆ 11. สงิ่ อานวยความสะดวกและการสนบั สนุนท่ตี ้องการจากสถานที่ทีจ่ ัดประสบการณภ์ าคสนาม 11.1 มหี ้องสาหรับนักศึกษาทางานกลุ่มและประชุมปรึกษา 11.2 มีหนังสือ/วารสารทางการพยาบาล การแพทย์และการสาธารณสุขในสถานบริการสุขภาพท่ี เปน็ แหล่งฝึก สาหรับการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 11.3 จัดทาแผนบริหารความเสยี่ ง และความปลอดภัยในการฝกึ ภาคปฏิบัติสาหรับนกั ศกึ ษา

11 12. ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอน 12.1 ตาราและเอกสารหลกั ชลดา จันทรข์ าว. (2558). การพยาบาลทารกแรกเกิด. กรุงเทพฯ : วทิ ยาลยั พยาบาลสภากาชาดไทย. เนตรทอง นามพรม, และฐิติมา สุขเลศิ ตระกลู (บรรณาธกิ าร). (2563). การพยาบาลทารกแรกเกดิ และเดก็ ทีม่ ีปัญหาสุขภาพเฉพาะ. เชียงใหม:่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. พมิ พาภรณ์ กลน่ั กล่นิ (บรรณาธกิ าร). (2563). การพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ . เชยี งใหม่: คณะพยาบาล ศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ พรทิพย์ ศริ บิ รู ณ์พิพัฒนา (บรรณาธิการ). (2555). การพยาบาลเดก็ เลม่ 1. (ฉบับปรับปรุง) : หลักและ แนวคิดเก่ยี วกับการพยาบาลเด็กและครอบครวั การพยาบาลทารกแรกเกดิ . นนทบรุ ี : โครงการ สวัสดิการวิชาการ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. . (2561). การพยาบาลเด็ก เลม่ 2 (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) : การพยาบาลผู้ปว่ ยเดก็ ที่มคี วามผิดปกติ ทางอายุรกรรมในระบบตา่ งๆ. (พิมพค์ รั้งท่ี 4). นนทบุรี : โครงการสวสั ดิการวิชาการ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. . (2556). การพยาบาลเด็ก เลม่ 3 (ฉบบั ปรับปรุง) : โรคติดเชอื้ ความผิดปกติทีเ่ กีย่ วกบั การ เจรญิ ของเซลล์ความผดิ ปกติทางศลั ยกรรม อบุ ัติเหตุ และการประเมนิ ผลการตรวจทาง หอ้ งปฏิบัติการ. (พิมพค์ รั้งท่ี 2). นนทบรุ ี : โครงการสวสั ดิการวิชาการ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ . วารุณี มหี ลาย และอมรรัตน์ การะม.ี (2559). การพยาบาลเด็กโรคหัวใจ. ชลบุรี : วิทยาลยั พยาบาล บรมราชชนนี ชลบรุ .ี รงุ้ ตวรรณ์ ช้อยจอหอ และปรียาวรรณ วบิ ูลยว์ งศ์. (2560). ทารกแรกเกิด: การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสรมิ และการป้องกนั ปัญหาสุขภาพ. นนทบุรี : โครงการสวสั ดกิ ารวิชาการ สถาบัน-พระ บรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ . ศรีสมบูรณ์ มุสกิ สคุ นธ์ และคณะ, บรรณาธิการ. (2558). ตาราการพยาบาลเด็ก เลม่ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ ครัง้ ท่ี 2). (พมิ พค์ ร้งั ที่ 4). กรงุ เทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. อมรรัชช์ งามสวย, และวรรณิตา สอนกองแดง (บรรณาธิการ). (2563). การพยาบาลเด็กทีม่ ีปัญหา สุข ภาพ.เชยี งใหม่: โครงการตารา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. 12..2 เอกสารและข้อมลู สาคัญ - หนงั สือด้านการพยาบาล / หนงั สือมาตรฐานวิชาชพี เก่ยี วกับการพยาบาล - ฐานข้อมูลและระบบสบื ค้นอเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ CINAHL Complete, IG Library/Clinicalkey for Nursing 12.3 เอกสารและข้อมูลแนะนา 12.3.1 หนังสอื ไดแ้ ก่ กนกวรรณ จันธนะมงคล. (2555). การพยาบาลทารกแรกเกดิ . (พิมพ์คร้งั ที่ 7). สมทุ รปราการ : โครงการสานักพิมพ์มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกียรต.ิ จารวุ รรณ สนองญาต,ิ บรรณาธิการ. (2556). การพยาบาลโรคเลือดในเดก็ . นนทบุรี : โครงการ สวัสดกิ ารวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ . ทัศนยี า วงั สะจันทานนท์. (2555). การพยาบาลผู้ปว่ ยเด็ก ที่มีความผดิ ปกติระบบประสาท. นครนายก: มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. พัชรี วรกิจพนู ผล. (2555). คมู่ ือฝึกปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทารกแรกเกิด. ขอนแกน่ : โรงพมิ พ์คลังนานา.

12 ยพุ ยงค์ ทังสบุ ตุ ร และคณะ. (2554). หลกั และเทคนิคปฏิบัติการทางการพยาบาลเดก็ . (พมิ พ์คร้ังที่ 3). นนทบรุ ี : โครงการสวสั ดกิ ารวชิ าการ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ . รุจา ภไู่ พบลู ย.์ (2556). การวางแผนการพยาบาลเด็กสขุ ภาพดีและเด็กป่วย. กรงุ เทพฯ : โครงการตารา โรงเรยี นรามาธบิ ดี คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล. วทิ ยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย. (2559). หตั ถการเบือ้ งตน้ ทางพยาบาลเดก็ . (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. A., Bond (2020). Nursing in childhood. DIGITAL MEDIA LEARNING. Hockenberry, Marilyn J. & David Wilson. (2015). Wong's nursing care of infants and children. 10th ed. St. Louis, Mo. : Mosby/Elsevier. Morton, P. G. & Fontaine, D. K. (2009). Critical Care Nursing: A Holistic Approach. 9th ed. New York: Lippincott Williams & Wilkins. Woods, S. L. et al. (2010). Cardiac Nursing. 6th ed. New York: Lippincott Williams & Wilkins. 12.3.2 วารสาร ไดแ้ ก่ Journal of Pediatric Nursing/ Nursing Research 12.3.3 ข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์และเวบ็ ไซต์ ไดแ้ ก่ ฐานข้อมูล CINAHL Complete/ www.thalassemia.or.th/ www.tsh.or.th/ http://ebn.bmj.com/ http://www.thaiheart.org/ http://www.thaicvtnurse.org/ http://ajcc.aacnjournals.org/ http://www.tci-thaijo.org/ (Thai Journals Online (ThaiJO)

13 ภาคผนวก

14 การจดั การความเสย่ี งท่อี าจเกดิ ขึ้นกบั นักศึกษา ในการฝึกปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล

15 ขนั้ ตอนปฏิบัติเบื้องต้นในกรณีที่นกั ศึกษาไดร้ ับอบุ ตั เิ หตุขณะฝกึ ปฏบิ ัติการพยาบาล ณ โรงพยาบาลชลบุรี อุบตั เิ หตทุ างการแพทย์ หมายถึง : การสัมผัสโดยตรงกบั เลือด สารคัดหลัง่ ของผู้ป่วย : การถูกของมีคมจากอปุ กรณ์ทางการแพทย์ทเ่ี ปรอะเป้ือนเลอื ด หรือสารคดั หล่งั ของผ้ปู ่วยแล้วมา ถูกบคุ ลากรทางการแพทย์ ข้นั ตอนการปฏิบัติ 1. ปฐมพยาบาลบริเวณท่ีสัมผสั หรือถกู ของมคี ม ทันทีโดยเร็วที่สดุ ดว้ ยน้าสะอาดหรอื สบู่ หรือ Chlohexidine หรือแอลกอฮอล์ โดยไมก่ ดหรือบบี บริเวณที่สมั ผัสหรอื ถูกของมีคม 2. รายงานอาจารยน์ เิ ทศประจาตึกพยาบาลหัวหน้าเวรพยาบาลหวั หนา้ ตึกรบั ทราบจากนนั้ ปฏบิ ัตติ าม ขนั้ ตอนของโรงพยาบาลชลบรุ ี ดงั นี้ 2.1 ประเมินสถานการณ์การติดเชื้อ HIV,Hepatitis ของผ้ปู ่วย 2.1.1 ถ้าผูป้ ว่ ยมผี ลเลือดแสดงการติดเช้อื HIV Positive ให้กินยา Post exposure Prophylaxis (PEP) ท่ีเตรยี มไว้ดังน้ี ไมค่ วรช้ากว่า 2 ช่วั โมง - AZT (100 g) 2 เมด็ ทนั ที และ 2 เม็ดทุก 12 ชว่ั โมง หลังเกดิ เหตุ - 3TC ( 150 mg) 1 เมด็ ทันที และ 1 เม็ดทุก 12 ชั่วโมง มยี าเตรียมใหท้ ่ี ER - Kaletra (200/50 mg) 2 เมด็ ทุก 12 ชั่วโมง (เบกิ จากห้องยาใช้ใบสั่งยา และเขียน กากับอุบัติเหตุจากการทางาน หรือ PEP) 2.1.2 ถา้ ผูป้ ่วยยังไมม่ ีผลเลอื ด ใหท้ าการเจาะตรวจ HIV ELISA Test ,HBsAg, anti HCV และใหก้ นิ ยา PEP คก3AรือTZณCTีท(เี่(ล11ือ05ด00ผgู้ปm)่วย2gเ)ปเ1ม็น็ดบเมทวก็ดนั ยททังันไี มแทต่ลี ้อะแงลบ2ะอเก1มผด็ ูป้เมทว่ ็ดยุกทแ1ุกต2่ข1อช2ใ่ัวหโชแ้มัว่จงโ้งมทงางแพทย์เจ้าขไอมงค่ไขมว้ ยีรเพาชอ่ืเ้าตกรวเยี ห่ามต2ใุหช้ทว่ั ี่ โEมRงหลงั เกิด - - - พิจารณาสง่ Counseling และประเมนิ การแจง้ ผลตอ่ ไปเพ่ือมใิ หเ้ กิดปัญหา 2.2 ใหน้ กั ศึกษาเขยี นใบรายงานการไดร้ บั อุบัตเิ หตขุ ณะฝกึ ปฏิบัติงานในแฟม้ (หลังกรอกเสรจ็ ให้เก็บไว้ในแฟ้มไม่ ตอ้ งนาออก จะมีเจา้ หนา้ ทีเ่ กบ็ ในภายหลงั ) 2.3 ไปที่คลินิกนริ นามหลงั จากทราบผลเลือด เพื่อทาการลงทะเบยี นและส่งปรกึ ษาแพทย์ผดู้ ูแล เพือ่ ประเมิน ความรุนแรง และการใหย้ า Full PEP evaluation ต่อไป โดยเตรยี ม - ประวตั ทิ ้ังหมดของ Source patient - ผลเลอื ด anti- HIV, HBsAg, antiHBs และ anti HCV ของนักศกึ ษา(ถา้ มีแลว้ )ไปด้วย หมายเหตุ - นักศึกษาเจาะเลอื ด anti- HIV, HBsAg, antiHBs และ anti HCV (ค่าใช้จ่ายจากสิทธขิ อง นักศึกษา) - ผู้ปว่ ยเจาะเลือด anti- HIV, HBsAg และ anti HCV (ถ้ามีผลเลอื ดแล้วไม่ตอ้ งเจาะซา้ คา่ ใชจ่ ่าย โรงพยาบาลเป็นผจู้ ่ายโดย Key ใบLab จากใบ Lab สีเขียวชอ่ งอบุ ัติเหตุจากการปฏบิ ัติงาน) คลนิ ิกนริ นามและงานปอ้ งกันการตดิ เชื้อในโรงพยาบาลชลบุรี ร่วมกับอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบรายวิชา

16 วิทยำลัยพยำบำลบรมรำชชนนี ชลบุรี แผนกำรฝึกภำคปฏิบัตินักศึกษำพยำบำลศำสตร์ ช้ันปีที่ 3 รุ่น 41 ภำคกำรศึกษำที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2563 ลำดับ ชื่อ-สกุล 23-29 พ.ย. 63 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 30 พ.ย.-6 ธ.ค. 63 สก.6 อ. ุศภกร 7-13 ธ.ค. 63 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 14-20 ธ.ค. 63 สก.6 อ. ัวล ์ยพร ชลา ิทศ 4 อ.เจษฎา ชลา ิทศ 2 อ. ิจดาภา ชลา ิทศ 1 อ. ัพท ินนท ์ร 21-27 ธ.ค. 63 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 30 ธ.ค.63 - 3 ม.ค.64 สก.5 อ.เจษฎา ชลา ิทศ 2 อ. ิวป ัรชญา ชลา ิทศ 1 อ.วรพ ินต ชลา ิทศ 1 อ. ัพท ินนท ์ร TICU+ICU Neuro อ. ิจราภร ์ณ SICU+ccu อ. ินศา ัรต ์น MICU+Stroke อ. ุค ัณสปกร ์ณ 4-10 ม.ค.64 11-17 ม.ค.64 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 18--24 ม.ค.64 ุกมาร 4 อ.ณฏฐา ุกมาร 1 อ. ุสนท ีร 25-31 ม.ค.64 ุกมาร 1 อ. ุสนท ีร ุกมาร 4 อ. ุจไร ัรต ์น ุกมาร 4 อ. ัณฏฐา SNB อ.อมรรต ์น NICU อ. ัณฐ ินชา 1-7 ก.พ.64 8-14 ก.พ.64 15-21 ก.พ.64 22-28 ก.พ.64 ลำดับ ชื่อ-สกุล 23-29 พ.ย. 63 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 30 พ.ย.-6 ธ.ค. 63 ุกมาร 4 อ.ณฏฐา ุกมาร 1 อ. ุสนท ีร 7-13 ธ.ค. 63 ุกมาร 1 อ. ุสนท ีร ุกมาร 4 อ. ุจไร ัรต ์น ุกมาร 4 อ. ัณฏฐา SNB อ.อมรรต ์น NICU อ.สมปรารถนา 14-20 ธ.ค. 63 21-27 ธ.ค. 63 30 ธ.ค.63 - 3 ม.ค.64 4-10 ม.ค.64 11-17 ม.ค.64 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 18--24 ม.ค.64 สก.6 อ. ัวล ์ยพร 25-31 ม.ค.64 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 1-7 ก.พ.64 สก.6 อ. ัวล ์ยพร ชลา ิทศ 4 อ.เจษฎา ชลา ิทศ 2 อ. ิวป ัรชญา ชลา ิทศ 1 อ. ัพท ินนท ์ร 8-14 ก.พ.64 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 ป. ู้ผให ่ญและ ู้ผ ูสงอา ุย 2 15-21 ก.พ.64 สก.5 อ. ัวล ์ยพร สก.4 อ.ดร. ุยพาวรรณ สก.6 อ.เจษฎา สก.5 อ. ัพท ์ธ ีธรา ชลา ิทศ 2 อ. ัพท ์ธ ีธรา ชลา ิทศ 1 อ. ิวป ัรชญา ชลา ิทศ 1 อ. ัพท ินนท ์ร TICU+ICU Neuro อ. ิจราภร ์ณ SICU+ccu อ. ินศา ัรต ์นMICU+Stroke อ. ุค ัณสปกร 2์ณ2-28 ก.พ.64 1 นางสาว กชกร บุตรวงษ์ 81 นางสาว พนิตนันท์ นวลจันทร์ 2 นางสาว กนกวรรณ กีรติโชติกุลพร 82 นางสาว พัชรพร เพ็ชรโรทัย 3 นางสาว กนกวรรณ รตั นวจิ ิตร 83 นางสาว พัชรวลัย ลอยนอก 4 นางสาว กนกวรรณ หาญสกลุ สิทธผิ ล 84 นางสาว พัชริดา เจริญฤทธ์ิ 5 นางสาว กรรณิกา บุญระมี 85 นางสาว พิชญานิน กอเซม็ 6 นางสาว กฤติยาภรณ์ วรรณวจิ ิตร 86 นางสาว พิทยาภรณ์ สดี า 7 นางสาว กฤษดาพรรณ แซต่ ๊ัน 87 นางสาว พิยะดา พินิจ 8 นางสาว กลั ยรตั น์ บุญทอง 88 นางสาว พิรดา มีรัตนะ 9 นางสาว กัลยาณี บามา 89 นางสาว พิศุทธ์ิ ใจสอาด 10 นางสาว กานต์ธดิ า อินจรญั 90 นางสาว พิสชา อยเู่ ยน็ 11 นางสาว กานต์พิชชา จันโท สก.4 Precepter 91 นางสาว พีรยา แสนสบาย ชลา ิทศ 4 อ.เจษฎา ชลา ิทศ 2 อ. ินศา ัรต ์น ชลา ิทศ 1 อ. ิวป ัรชญา ชลา ิทศ 1 อ. ัพท ินนท ์ร TICU+ICU Neuro อ. ิจราภร ์ณSICU+CCU อ.ดร. ัลดดาMICU+Stroke อ. ุค ัณสปกร ์ณ สก.4 อ.ดร. ุยพาวรรณ สก.4 อ. ุศภกร 12 นางสาว กานต์พิชชา บัวแก้ว 92 นางสาว ภัทรภา สมใจ 13 นางสาว กิตติยา สอนศิลป์ 93 นางสาว มนทิรา ตู้บรรเทิง 14 นางสาว เกศินี จันทร์มี 94 นางสาว มารยี ์ แซจ่ าง 15 นางสาว ขนิษฐา คาเงิน 95 นางสาว รชั พร กล่อมเกลยี้ ง 16 นางสาว ขวญั เเกว้ ตรึกหากจิ 96 นางสาว รตั นาภรณ์ สมหวงั 17 นางสาว ขวญั จิรา บุญมา 97 นางสาว รตั นาภรณ์ สุริยวงษ์ 18 นางสาว ครองขัวญ พันธุ์ฉลาด 98 นางสาว ลักขณา วงศ์ชัยยะ 19 นางสาว จันจิรา ขจรงาม ชลา ิทศ 2 อ. ิวป ัรชญา ชลา ิทศ 4 อ.เจษฎา ชลา ิทศ 1 อ.วรพ ินต ชลา ิทศ 1 อ. ัพท ินนท ์ร TICU+ICU Neuro อ. ิจราภร ์ณ SICU+ccu อ. ินศา ัรต ์น MICU+Stroke อ. ุค ัณสปกร ์ณ สก.6 อ. ัวล ์ยพร SNB อ.อมรรต ์น 99 นางสาว วรรณพร หน่อคาหลา้ SNB อ.อมรรต ์น 20 นางสาว จามจุรี คลา้ ยเกตุ 100 นางสาว วรัญญา วรจิตร 21 นางสาว จารวี ต้นพุฒ 101 นางสาว วริศรา จินดามรกต 22 นางสาว จิณณพัต อฐิ ชู 102 นางสาว วริสรา สวา่ ง 23 นางสาว จิตตินันท์ สนิ ธุ 103 นางสาว วาณติ า พุฒเจรญิ 24 นางสาว จิราพร สดี า 104 นางสาว วกิ านต์ดา รัตนพันธ์ 25 นางสาว จิราภรณ์ ทองโต 105 นางสาว วภิ าวี ววิ ฒั น์ 26 นางสาว จีรวรรณ เดชกลุ รมั ย์ 106 นางสาว วมิ ลศิริ สรอ้ ยจิตร 27 นางสาว จุฑารัตน์ แสงสวุ รรณ SNB อ. ัพชราภา 107 นางสาว วลิ าวลั ย์ ชุมแสงพันธ์ NICU อ.สมปรารถนา SNB อ. ัพชราภา 28 นางสาว เจนจิรา กิ่งเมือง 108 นางสาว วลิ าวลั ย์ แสงสวา่ ง 29 นางสาว ชนรดี พันธค์ า 109 นางสาว ศรัญยา บารอเฮม 30 นางสาว ชนาภา แสนเลิศ 110 นางสาว ศศิวมิ ล เจริญวงษ์ เต ีรยมความพ ้รอม ่กอน ึฝกป ิกบั ิตการพยาบาลผู้ให ่ญและผุ้ ุสงอายุ 2 31 นางสาว ชมพู เอย่ี มแสง 111 นางสาว ศิรภัสสร ศรสี ขุ 32 นางสาว ชมพูนุท คงนิสัย 112 นางสาว สภัทรพ์ ร มยุรา 33 นางสาว ชลธดิ า ปักษี เต ีรยมความพ ้รอม ่กอน ึฝกป ิกบั ิตการพยาบาลผู้ให ่ญและผุ้ ุสงอายุ 2 113 นางสาว สโรชา เอกอัจฉริยกลุ 34 นางสาว ชลลดา เสนาะน้อย 114 นางสาว สาธติ า พันธพ์ ิจิตร 35 นางสาว ช่อผกา ไชยสบื stroke+ccu อ. ิวป ัรชญา TICU+ICU Neuro อ. ิจราภร ์ณ SICU+ccu อ. ินศา ัรต ์น MICU+Stroke อ. ุค ัณสปกร ์ณ สก.4 อ.ดร. ุยพาวรรณ สก.4 อ. ุศภกร NICU อ. ัณฐ ินชา 115 นางสาว สายสวรรค์ ชลกจิ stroke+ccu อ. ุค ัณสปกร ์ณ TICU+ICU Neuro อ. ิจราภร ์ณ SICU+ccu อ.ดร. ัลดดา MICU+Stroke อ. ินศา ัรต ์น สก.4 อ.ดร. ุยพาวรรณ สก.4 อ. ุศภกร 36 นาย ชัยรตั น์ ขาวทวี 116 นางสาว สริ าวรรณ ถึงสุข 37 นางสาว ชุติกาญจน์ วารีทวโี ชค 117 นางสาว สริ นิ ทรา แกว้ ประสิทธ์ิ 38 นางสาว โชติกา กหุ ลาบ 118 นางสาว สิริรตั น์ บุญผลงาม 39 นางสาว โชติกา ประยูรญาติ 119 นางสาว สจุ ิตรา พวงแก้ว 40 นางสาว ญานิศา พวงพี่ 120 นางสาว สทุ ธดิ า สกณุ าทวงษ์ 41 นางสาว ฐานิดา สงา่ งาม 121 นางสาว สุทธดิ า สงั ข์เจริญ ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 NICU อ. ัณฐ ินชา SNB อ. ัพชราภา SNB อ.อมร ัรต ์น ุกมาร 4 อ. ุจไร ัรตน? ุกมาร 1 อ. ุสนท ีร ุกมาร 1 อ. ุสนท ีร ุกมาร 4 อ. ุจไร ัรต ์น ุกมาร 4 อ. ัณฏฐา SNB อ. ัพชราภา NICU อ. ัณฐ ินชา 42 นางสาว ณัฐกฤตา ฉายวมิ ล 122 นางสาว สุธาศิณี น่ิมน้อย 43 นางสาว ณฐั กลุ อนันต์ศุภมงคล ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 ป.เ ็ดกและ ัวย ุ่รน 2 NICU อ. ัณฐ ินชา SNB อ. ัพชราภา SNB อ.อมร ัรต ์น ุกมาร 4 อ. ุจไร ัรต ์น ุกมาร 1 อ.ณฏฐา ุกมาร 1 อ. ัณฎฐา ุกมาร 4 อ. ุจไร ัรต ์น ุกมาร 4 อ. ุสนท ีร SNB อ. ัพชราภา NICU อ. ัณฐ ินชา 123 นางสาว สธุ นิ ี ตันติวชิ ชาภรณ์ 44 นางสาว ณฐั ธดิ า เจริญวยั 124 นางสาว สนุ ันทา ยนิ ดี 45 นางสาว ดลนภา เปลง่ เสียง 125 นางสาว สนุ ิษา ทววิ ฒั น์ 46 นางสาว ทิฆัมพร แสงสวา่ ง 126 นางสาว สุพรรษา ป่ินม่วง 47 นางสาว ทิวาพร เนตรพิภพ 127 นางสาว สุภัทรา พวงแก้ว 48 นางสาว ธนพร ลาเกิด 128 นางสาว สุภาพร แดงไฟ 49 นางสาว ธนัญญา กศุ ลคุ้ม 129 นางสาว สุภาพร บัลลัง 50 นางสาว ธญั ชนก ธนาธงสิทธิ์ 130 นางสาว สุภาวดี สาลี 51 นางสาว ธญั วรตั ม์ สุ่มประดิษฐ 131 นางสาว สุรีวณั ย์ เทียนทอง 52 นางสาว ธารารัตน์ วงศ์แวว 132 นางสาว เสาวลกั ษณ์ บุญรี 53 นางสาว ธติ ิยา นาคหนู 133 นางสาว เหมือนฝนั นพคุณ 54 นาย ธรี นล อคั รโยธนิ กลุ 134 นางสาว อธติ ยา แกว้ แกน่ คูณ 55 นาย นพัตธร พุทธจักร 135 นางสาว อภิสรา ศรีคัทนา 56 นางสาว นภสร ประเสริฐธรรม 136 นางสาว อมรรัตน์ สมสมัย 57 นางสาว นภัสสร ยมิ้ ถนอม 137 นางสาว อรวรรณ ช้างแกว้ มณี 58 นางสาว นลิน ภิญโญ 138 นางสาว อรสิ า พุทธศรี 59 นางสาว นลินนิภา เรยี งเสนาะ สก.4 อ. ุศภกร 139 นางสาว อวกิ า สุวรรณวฒั น์ 60 นาย นัฐพล ศิลาเจริญ 140 นางสาว อกั ษิกา คาสาเภา 61 นางสาว นัทธช์ นัน เพลาไทยสงค์ 141 นางสาว อัจฉรา ทองพันชั่ง 62 นางสาว นันทกา สกลุ านนท์ 142 นางสาว อาดาภรณ์ แสนสุขเหลือ 63 นางสาว นันทนา กาญจนเดชะ 143 นางสาว อาทิตติยา ศรธี รรม 64 นางสาว นัยน์กานต์ สงวนพันธ์ 144 นางสาว อาทิมา มีบุญ 65 นางสาว นาเดีย โต๊ะมา 145 นางสาว อารียา ทัพจันทร์ 66 นางสาว นาตนภา คงทน 146 นางสาว อินทิรา มะลวิ ลั ย์ 67 นางสาว น้าฝน เรงิ แสวง สก.5 อ. ัวล ์ยพร สก.4 อ. ุยพาวรรณ 147 นางสาว อไุ รพร อาพัน 68 นางสาว นีรนุช แซซ่ มิ 148 นางสาว ปราณชนก สงวนบุญ 69 นางสาว นุชวรา วรรณก้ี 149 นางสาว ศิรขิ วญั พาซอื่ 70 นางสาว บัวชมภู กลน่ิ สุวรรณ 150 นางสาว ผัลย์ศุภา รม่ เย็น 71 นางสาว บุณฑวกิ า บัวชุม 151 นางสาว ณฐั ธดิ า สลบั ศรี 72 นางสาว ประภาศิริ จันทร์เจ๊ก 152 นางสาว ณัฏฐา ผาม่ัน 73 นางสาว ปรียานุช สะอาด 153 นางสาว กมลทิพย์ เกษมสุข 74 นางสาว ปวนั รตั น์ จินดาเสวก 154 นางสาว อรอนงค์ เพชรประไพ 75 นางสาว ปาณศิ า คาเสนาะ 76 นางสาว ปาณศิ า เฉลมิ พงษ์ หมายเหตุ - ฝกึ ปฏิบตั ิ 10 สัปดาห์ วนั จนั ทร์ เวลา 08.00-12.00 น. วันองั คาร-ศกุ ร์ เวลา เวลา 08.00-16.00 น. โดยฝกึ 77 นางสาว ปารฉิ ัตร ประดิษฐาน ปฏบิ ตั ิวชิ าปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผ้ใู หญ่และผู้สูงอายุ 2 จานวน 7 สัปดาห์ และวชิ าปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ 2 78 นางสาว ปุณยาพร ตากมัจฉา จานวน 3 สปั ดาห์ (วันท่ี 18 มกราคม 2564 ซอ้ มอัคคภี ยั ) 79 80 นนาางงสสาาว เพปนรมัชฤกทรัย กจุ้งอ้ ทยอชงดช้อย - ประเมนิ ผลวิชาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผ้ใู หญ่และผู้สูงอายุ 2 และวชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น 2 ให้ ประเมนิ ผลให้แลว้ เสรจ็ ในช่ัวโมงการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิแต่ละวชิ า - สปั ดาหป์ ระเมนิ ผลให้นักศึกษาติดตามผลการฝึกภาคปฏบิ ัตแิ ต่ละวชิ ากับอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบรายวชิ าให้ เรียบร้อยกอ่ นปดิ ภาคการศกึ ษา - วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 สอบภาษาอังกฤษสถาบนั พระบรมราชชนก ครั้งที่ 2

Post 17 ฉบบั ท่ี 6/2560 ประจ�ำ เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2560 Free Copy พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ สรุปสาระสำ�คัญ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระท�ำ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามาเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตประจำ�วันของเรา http://www.manager.co.th มากย่ิงขน้ึ ซง่ึ มีการใชง้ านคอมพิวเตอร์โดยมิชอบโดยบคุ คลใดๆ กต็ ามท่ีสง่ ผลเสยี ต่อบคุ คลอนื่ รวมไปถงึ การใช้งานคอมพิวเตอร์ในการเผยแพรข่ ้อมูล ทเี่ ป็นเท็จหรือมีลักษณะลามกอนาจาร ทา่ นอาจจะมคี วามผิดได้ มาตรา 5 - 8 เขา้ ถงึ ระบบ/ข้อมลู ของผอู้ ิื่นโดยมชิ อบ มาตรา 13 จ�ำ หนา่ ยหรอื เผยแพรช่ ดุ ค�ำ สง่ั เพอ่ื น�ำ ไปใชก้ ระท�ำ ความผดิ ๐ เขา้ ถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ๐ กรณีทำ�เพื่อเป็นเครื่องมือในการกระทำ�ความผิดทางคอมพิวเตอร์ ! จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 6 เดอื น หรือปรับไม่เกิน 1 หม่นื บาท หรือท้งั จ�ำ ท้ังปรับ ตามมาตรา 5 - 11 ๐ เขา้ ถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมชิ อบ ! จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 1 ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ 2 หมน่ื บาท หรอื ทง้ั จ�ำ ทง้ั ปรบั หากมผี นู้ �ำ ไป ! จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 4 หมื่นบาท หรือทัง้ จำ�ทง้ั ปรบั ใชก้ ระทำ�ความผดิ ผู้จำ�หนา่ ย/เผยแพรต่ อ้ งรับผิดด้วย (เมอื่ มีสว่ นร้เู ห็น) ๐ ลว่ งรมู้ าตรการปอ้ งกนั การเขา้ ถงึ ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละน�ำ ไปเปดิ เผย ! หากมผี นู้ �ำ ไปใชก้ ระท�ำ ความผดิ หรอื ตอ้ งรบั ผดิ ตามมาตรา 12 ผจู้ �ำ หนา่ ย ! จ�ำ คุกไมเ่ กิน 1 ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ 2 หมน่ื บาท หรือทัง้ จำ�ทั้งปรับ หรอื เผยแพร่จะตอ้ งรบั ผิดทางอาญาดว้ ย (เมื่อมีส่วนร้เู หน็ ) ๐ ดักรับขอ้ มูลคอมพวิ เตอรโ์ ดยมิชอบ ๐ กรณีทำ�เพื่อเป็นเครื่องมือในการกระทำ�ความผิดทางคอมพิวเตอร์ ! จ�ำ คุกไมเ่ กนิ 3 ปี หรือปรับไม่เกนิ 6 หมน่ื บาท หรือทัง้ จ�ำ ทง้ั ปรบั ตามมาตรา 12 ! จ�ำ คกุ ไม่เกนิ 2 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 4 หมน่ื บาท หรือทง้ั จ�ำ ท้ังปรับ มาตรา 9 - 10 แกไ้ ข/ดดั แปลง/ทำ�ใหข้ ้อมูลเสยี หาย หากมีผู้น�ำ ไปใช้กระทำ�ความผิดผู้จำ�หน่าย/เผยแพรต่ ้องรับผดิ ดว้ ย ๐ ท�ำ ใหเ้ สียหาย ท�ำ ลาย แกไ้ ข เปลี่ยนแปลง เพ่ิมเตมิ ขอ้ มลู ของผอู้ ืน่ โดยมชิ อบ มาตรา 14 น�ำ ขอ้ มลู ทผ่ี ดิ พ.ร.บ. เขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ ๐ ทำ�ใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ของผอู้ ื่นไมส่ ามารถทำ�งานไดต้ ามปกติ ๐ ข้อมูลปลอม / ทุจริต / หลอกลวง ๐ ขอ้ มลู เทจ็ ๐ ขอ้ มูลความผดิ เกี่ยวกับความม่ันคงปลอดภยั ฯลฯ (มาตรา 12) ! จำ�คุกไม่เกนิ 5 ปี หรอื ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรอื ทั้งจ�ำ ทั้งปรับ ๐ ขอ้ มลู ความผิดเกย่ี วกบั ความม่ันคง / กอ่ การร้าย ! กรณเี ปน็ การกระทำ�ตอ่ ระบบหรือข้อมลู คอมพวิ เตอร์ตามมาตรา 12 ๐ ขอ้ มลู ลามก ประชาชนเขา้ ถงึ ได้ ๐ เผยแพร/่ สง่ ตอ่ ขอ้ มลู โดยรอู้ ยวู่ า่ ผดิ จ�ำ คกุ 3 - 15 ปี และปรับ 6 หมื่น - 3 แสนบาท ถ้าเปน็ เหตใุ หเ้ กิดอนั ตรายแก่บุคคลอน่ื จ�ำ คกุ ไม่เกนิ 10 ปี และปรับ ! กรณกี ารกระท�ำ นน้ั สง่ ผลถงึ ประชาชน จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 5 ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ ไมเ่ กนิ 2 แสนบาท / เปน็ เหตใุ หบ้ คุ คลอน่ื ถงึ แกค่ วามตาย จ�ำ คกุ 5 - 20 ปี 1 แสนบาท หรอื ท้ังจ�ำ ทง้ั ปรับ และปรบั 1 - 4 แสนบาท มาตรา 11 ส่งขอ้ มลู หรอื อีเมลก์ ่อกวนผ้อู ่ืน ! กรณีการกระทำ�นัน้ ส่งผลตอ่ บุคคลใดบคุ คลหนง่ึ จ�ำ คกุ ไม่เกิน 3 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 6 หม่ืนบาท หรอื ทั้งจำ�ทัง้ ปรับ (ยอมความได)้ ๐ สง่ โดยปกปดิ หรอื ปลอมแปลงแหลง่ ที่มา มาตรา 15 ใหค้ วามรว่ มมอื ยนิ ยอม รู้เหน็ เปน็ ใจ ๐ ผูใ้ ห้บริการทใี่ หค้ วามรว่ มมือ ยินยอม ร้เู ห็นเป็นใจให้มกี ารกระท�ำ ! ปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท ผิดตามมาตรา 14 ตอ่ ระบบคอมพิวเตอร์ของตน ๐ สง่ โดยไมเ่ ปดิ โอกาสให้ปฏิเสธการตอบรบั ไดโ้ ดยง่าย ! ปรบั ไม่เกนิ 2 แสนบาท ! ตอ้ งระวางโทษเช่นเดียวกบั ผกู้ ระทำ�ผดิ มาตรา 12 เขา้ ถงึ ระบบ/ขอ้ มลู ดา้ นความมน่ั คงโดยมชิ อบ มาตรา 16 ตดั ตอ่ เตมิ ดัดแปลงภาพ ๐ เข้าถงึ ระบบหรือขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ ๐ ลว่ งรู้มาตรการการปอ้ งกัน หรือดกั รบั ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ ๐ ตดั ต่อ เตมิ ดดั แปลงภาพ ผู้อืน่ / ผู้ตาย น�ำ เขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ ทีป่ ระชาชนทั่วไปเขา้ ถึงได้ ท�ำ ใหเ้ สยี ชื่อเสียง ถกู ดูหม่นิ ถกู เกลยี ดชงั ! ไมเ่ กดิ ความเสยี หาย จ�ำ คกุ 1 - 7 ปี และปรบั 2 หมน่ื - 1.4 แสนบาท ไดร้ ับความอบั อาย ! เกดิ ความเสยี หาย จ�ำ คกุ 1 - 10 ปี และปรบั 2 หมน่ื - 2 แสนบาท ! จำ�คุกไมเ่ กนิ 3 ปี และปรบั ไม่เกิน 2 แสนบาท ! เปน็ เหตใุ หผ้ อู้ น่ื ถงึ แกค่ วามตาย จ�ำ คกุ 5 - 20 ปี และปรบั 1 - 4 แสนบาท ท่มี า : http://web.krisdika.go.th http://www.mot.go.th ประจำ�เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2560

18 บทสรปุ รปู แบบการบรรจหุ ลักสูตรการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลในหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นปัญหาที่สร้างความสูญเสียระดับบุคคล สังคม และประเทศทั่วโลก การใช้ ยาอยา่ งสมเหตุผลจึงเปน็ ยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแหง่ ชาติดา้ นยา กลไกหนง่ึ ท่จี ะขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ดงั กล่าว คอื การพัฒนาการผลิตและพฒั นากาลังคนด้านสุขภาพเพอื่ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล สภาการพยาบาลเปน็ หน่ึงใน ภาคเี ครอื ขา่ ยสหวิชาชีพทไ่ี ด้รว่ มทาบนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือเพือ่ พฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนในรายวชิ าที่ เก่ียวข้อง จึงได้แต่งตั้งคณะทางานเก่ียวกับการดาเนินงานพัฒนาระบบยาแห่งชาติของสภาการพยาบาล และ แต่งตั้งคณะทางานจัดทารูปแบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต เพ่ือ ตดิ ตามการดาเนนิ งานทเี่ กี่ยวข้องกับวิชาชีพพยาบาลในเรื่องการใชย้ าอย่างสมเหตุผล ใหค้ รอบคลุมท้ังในสว่ นด้าน การบรกิ ารพยาบาลและด้านการศึกษาพยาบาล คณะทางานจดั ทารปู แบบการบรรจุหลกั สตู รการใชย้ าสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ของ สภาการพยาบาล ได้ดาเนินการจัดทาโครงการการจัดทารูปแบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาอย่างสมเหตุผลใน หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต โดยได้รับการสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ด้วยการ สารวจสถานการณ์การสอนเก่ียวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตจากทุก สถาบันการศึกษาพยาบาล และเชิญผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลสถานการณ์ ให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และแนวทางการนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต เพอื่ เป็นข้อมลู นาไปพัฒนารปู แบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลกั สูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต ท่ีสอดคล้องสถานการณ์การปฏิบัติจริง รูปแบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาอย่างสม เหตุผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตทพ่ี ฒั นา ประกอบด้วย สมรรถนะนักศกึ ษาพยาบาลท่เี ก่ียวข้องกบั RDU 10 ด้าน ประเด็นเนื้อหาหลัก 17 หัวข้อ รายวิชาที่สอดคล้องกับประเด็นเน้ือหาที่เชื่อมโยงกับสมรรถนะ RDU สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพท่ีสภาการพยาบาลกาหนด และผลการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลที่กาหนดใน มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ที่สกอ.กาหนด รวมถึงตัวอย่างการประยุกต์ module ที่ คณะทางานขับเคล่ือนการพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ เสนอเป็นตัวอย่างให้แต่ละ วชิ าชีพนาไปพจิ ารณาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของแตล่ ะวิชาชพี 1. ที่มา นโยบายแห่งชาติด้านยาพ.ศ. 2554 และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2555 – 2559 กาหนดยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ 1) การเข้าถึงยา 2) การใช้ยาอย่างสมเหตุผล 3) การพัฒนา อุตสาหกรรมผลิตยา 4) การพัฒนาระบบการควบคุมยา มีคณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสม เหตุผลดาเนินการตามยุทธศาสตรก์ ารสง่ เสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ท่ดี าเนินการตามยุทธศาสตร์การใช้ ยาอย่างสมเหตุผลให้เป็นรูปธรรมที่สอดคล้องกนั ใน 4 ประเดน็ คือ 1) โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Hospital) 2) การสร้างสมธรรมาภิบาลระบบยาด้วยเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการ สง่ เสริมการขายยา 3) การพัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 4) การส่งเสริมการใช้ยา อย่างสมเหตุผลภาคประชาชน การขับเคลื่อนเพ่ือพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ มีคณะอนุกรรมการ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นผู้ดาเนินการและได้แต่งตั้งคณะทางานพัฒนาระบบการผลิตและ พัฒนากาลังคนด้านสุขภาพเพื่อการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ประกอบด้วยตัวแทนจากเครือข่าย สถาบันการศึกษา สภาวิชาชีพ และองค์กรวิชาชพี ท่ีเก่ียวข้องร่วมกนั วางแผนและดาเนินการเพื่อขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตร์ดังกล่าว โดยกาหนดเป้าหมายการพัฒนากาลังคนดา้ นสุขภาพให้เป็นผู้ทส่ี ามารถทาหน้าที่เป็น กลไกสาคัญในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยมีคุณลักษณะที่สาคัญ 3 องค์ประกอบ คือ เป็นผู้มีความรู้

19 มีทักษะ และมีเจตคติท่ีเอื้อต่อการใช้ยาสมเหตุผล คณะทางานฯ จึงได้พัฒนาคู่มือการเรียนการสอนเพ่ือ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลที่ประกอบด้วยเนื้อหาหลัก/ สาระการสอน วิธีการจัดการเรียนการสอน กรณีศึกษา และวิธีการประเมินผลเพ่ือเป็นแนวทางให้แต่ละวิชาชีพนาไปเป็นตัวอย่างในการประยุกต์/ บรู ณาการกับการเรียนการสอนตามบันทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือ เรือ่ งการพัฒนาการผลิตและกาลังคนดา้ น สุขภาพเพื่อการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล สภาการพยาบาลจงึ แต่งต้ังคณะทางานจัดทารปู แบบการบรรจุหลกั สูตรการใชย้ าอย่างสมเหตุผล ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ เพ่ือให้การทางานของวิชาชพี พยาบาลเป็นไปตามบันทึกข้อตกลง สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ไดส้ นับสนุนงบประมาณให้สภาการพยาบาลจดั ทาโครงการการ จัดทารปู แบบการบรรจุหลักสูตรการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลในหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะทางานฯ ได้ทาจดั รูปแบบการบรรจุหลักสตู รการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผลในหลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ แล้ว ตาม ข้นั ตอนการดาเนินงานและผลการดาเนนิ งาน ดงั น้ี 2. ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1. สอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการบูรณาการความรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตร พยาบาลศาสตรบณั ฑติ 2. การประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ เรือ่ งการจัดทารูปแบบการบรรจุหลกั สูตรการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผลใน หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต วนั ท่ี 25-26 กันยายน 2560 3. คณะทางานฯ ประชุมร่างรูปแบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต 4. ประชุมพิจารณารูปแบบการบรรจุหลักสูตรการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในหลักสูตรพยาบาล ศาสตรบณั ฑิต วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560 3. ผลการดาเนินงาน 3.1 สมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ลของบัณฑิตพยาบาลและรายละเอียดสมรรถนะ คณะทางานฯ ปรับสมรรถนะกลางของ 5 สภาวิชาชพี เป็นสมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ลของ บัณฑติ พยาบาล และคัดเลือกสมรรถนะย่อยจากคู่มือการจัดการเรียนการสอนเพ่อื การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล มาจัดทาเปน็ รายละเอยี ดสมรรถนะในแต่ละด้าน ให้สอดคล้องกับบริบทการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ดังตาราง ที่ 1 ตารางที่ 1 สมรรถนะการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของบัณฑิตพยาบาลและรายละเอียดสมรรถนะ สมรรถนะกลาง สมรรถนะ RDU ของ รายละเอยี ดสมรรถนะ เลือกมาจากรายละเอยี ด บณั ฑติ พยาบาล สมรรถนะที่พึงมีจากคู่มอื 1. สามารถประเมนิ การเรียนการสอนเพอ่ื การ ปญั หาในผปู้ ่วย ที่อาจ 1. สามารถประเมินปญั หา 1.1 การประเมินประวัติโรคประจาตวั เกี่ยวขอ้ งกับการใช้ยา ใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล หรือความจาเปน็ ต้องใช้ ยารกั ษาได้ 1.1, 1.2, 1.6, 1.7, 1.8 (Assess the patient) ผปู้ ่วย ท่เี กยี่ วข้องกบั การ ประวตั กิ ารใชย้ า และประวตั ิการแพย้ า/แพ้ ใช้ยา หรอื มคี วาม อาหาร จาเป็นตอ้ งใช้ยาในการ 1.2 ประเมนิ อาการข้างเคียงจากการใชย้ า รักษา 1.3 ประเมินอาการท่ดี ีขึ้นหรือเลวลง (Assess the patient)

20 สมรรถนะกลาง สมรรถนะ RDU ของ รายละเอียดสมรรถนะ เลือกมาจากรายละเอียด บณั ฑติ พยาบาล สมรรถนะท่ีพึงมจี ากคู่มอื การเรียนการสอนเพือ่ การ ใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล 1.4 ติดตามความรว่ มมือในการใช้ยาอย่าง ต่อเนอ่ื ง 1.5 การสง่ ตอ่ 2. สามารถเลอื กใชย้ าได้ 2. สามารถร่วมพิจารณา 2.1 พิจารณาข้อมลู ท่ีสาคัญของผูป้ ่วยท่ี 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.5, อย่างเหมาะสม ตาม การเลอื กใชย้ าได้อย่าง ความจาเปน็ (Consider เหมาะสม ตามความ เกี่ยวข้องกับการเลือกใชย้ าหรอื การรักษา 2.6, (2.7+2.8), 2.10 the options) จาเป็น (Consider the options) แบบไม่ใช้ยาในการรักษาและการสง่ เสริม สุขภาพ 2.2 พิจารณาข้อมูลทส่ี าคัญของผ้ปู ว่ ยเพื่อ ประกอบการปรับขนาดยา หยดุ การใหย้ า หรือเปลยี่ นยา 2.3 ประเมินความเสี่ยงและประโยชนข์ อง การใช้ยาและไม่ใช้ยา 2.4 ใชค้ วามรู้ด้านเภสัชศาสตรข์ องยาที่อาจ มีการเปลยี่ นแปลงไดจ้ ากปัจจัยต่อไปน้ี เช่น พันธกุ รรม อายุ ความพร่องของไต การ ต้ังครรภ์ ฯลฯ เพ่ือใหข้ ้อมลู แก่ผู้เกี่ยวขอ้ งให้ เกดิ ความปลอดภยั ในการใช้ยา 2.5 พิจารณาโรคร่วม ยาที่ใช้อยู่ การแพ้ยา ขอ้ ห้ามการใชย้ า และคณุ ภาพชวี ติ ทอี่ าจ ส่งผลกระทบต่อการเลือกใช้ยา 2.6 คานงึ ถงึ ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การใช้ยา ของผู้ปว่ ย (เช่น ความสามารถในการกลืน ยา ศาสนา) และผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขน้ึ จากวธิ ีการบรหิ ารยา 2.7 พฒั นาความรู้ให้เปน็ ปัจจบุ ัน ใช้ แหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ชอื่ ถือได้ ใชห้ ลกั ฐานเชิง ประจักษ์ และคานึงถงึ ความคุ้มทุนในการ พจิ ารณาการใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล 2.8 เข้าใจเรื่องเชอื้ ดื้อยา และแนวทางการ ปอ้ งกนั และควบคมุ เช้ือดื้อยา (antimicrobial stewardship measures) 3. สามารถสอ่ื สารเพ่ือให้ 3. สามารถสอื่ สารเพื่อให้ 3.1 ชี้แจงทางเลอื กในการรกั ษา ยอมรบั ใน 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5,3.6 การตัดสนิ ใจร่วมของ ผ้ปู ว่ ยรว่ มตัดสนิ ใจในการ การตดั สนิ ใจเลอื กแผนการรักษาและเคารพ ผู้ปว่ ยในการใชย้ า ใช้ยา โดยพจิ ารณาจาก ในสิทธิของผู้ปว่ ย/ผู้ดูแล ในการปฏิเสธและ

21 สมรรถนะกลาง สมรรถนะ RDU ของ รายละเอียดสมรรถนะ เลอื กมาจากรายละเอยี ด เป็นไปบนข้อมูล บณั ฑิตพยาบาล สมรรถนะท่ีพึงมจี ากคู่มือ ทางเลือกทถ่ี ูกต้อง เหมาะกับบริบทและ การเรียนการสอนเพอ่ื การ เคารพในมมุ มองของ ผปู้ ว่ ย (Reach a ใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล shared decision) ขอ้ มลู ทางเลอื กท่ีถูกต้อง จากัดการรักษา 4. สามารถส่งั ใช้ยาได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมกบั บรบิ ทและ 3.2 ระบแุ ละยอมรบั ความแตกตา่ งระหวา่ ง (Prescribe) เคารพในมมุ มองของผู้ป่วย บคุ คล ค่านยิ ม ความเช่อื และความคาดหวัง (Reach a shared เกีย่ วกบั สขุ ภาพและการรกั ษาดว้ ยยา decision) 3.3 อธิบายเหตุผล และความเสี่ยง/ ประโยชนข์ องทางเลอื กในการรักษาท่ี ผปู้ ว่ ย/ผ้ดู ูแลเข้าใจได้ 3.4 ประเมินความร่วมมอื ในการใช้ยาของ ผู้ป่วยอยา่ งสม่าเสมอโดยไม่ด่วนตัดสิน และ เข้าใจเหตผุ ลในการไม่ร่วมมือของผูป้ ว่ ยท่ี อาจเกดิ ขน้ึ ได้และหาวธิ ีท่ดี ีทส่ี ุดในการ สนบั สนุนผู้ป่วย/ผดู้ แู ล 3.5 สรา้ งสัมพันธภาพกบั ผปู้ ่วย/ผ้เู ก่ียวข้อง เพื่อสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล โดยไมค่ าดหวงั ว่าการส่ังยานั้นจะเป็นไป ตามทต่ี ้องการ 3.6 ทาความเข้าใจกับการรว่ มปรึกษาหารือ ก่อนใช้ยาเพอ่ื ผลลัพธ์ทนี่ าไปสู่ความพงึ พอใจของทุกฝา่ ยทีเ่ ก่ียวข้อง 4. บริหารยาตามการสั่ง 4.1 เขา้ ใจโอกาสที่จะเกิดผลไม่พงึ ประสงค์ 4.2, 4.5, 4.6, 4.7, 4.8, ใช้ยาได้อยา่ งถูกตอ้ ง จากการใช้ยา และดาเนนิ การเพอ่ื หลกี เลี่ยง/ 4.10, 4.13 ลดความเส่ียงทีจ่ ะเกดิ ข้ึน ตระหนกั และ จัดการแก้ไขปัญหา 4.2 เขา้ ใจการสั่งจา่ ยยาของแพทยต์ าม กรอบบัญชยี าหลกั แหง่ ชาติ 4.3 ตรวจสอบและคานวณการใชย้ าให้ ถูกต้อง 4.4 คานึงถึงโอกาสที่จะเกิดการใช้ยาผิด (เช่น ผิดขนาด ผดิ ทาง ผดิ วธิ ี ผิดชนดิ ผดิ วัตถุประสงค์ ฯลฯ) 4.5 ใชข้ อ้ มูลที่ทันสมยั เก่ยี วกับการใชย้ า อยา่ งสมเหตผุ ล (เช่น การเกบ็ รกั ษา การ บรรจุ ฯลฯ) 4.6 ใชร้ ะบบทีจ่ าเป็นเพื่อการบรหิ ารยา

22 สมรรถนะกลาง สมรรถนะ RDU ของ รายละเอียดสมรรถนะ เลอื กมาจากรายละเอียด บัณฑติ พยาบาล สมรรถนะทีพ่ ึงมีจากคู่มอื 5. สามารถให้ข้อมูลที่ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ (เชน่ ใบMAR) การเรียนการสอนเพอ่ื การ จาเปน็ ต่อการใช้ยาได้ 5. สามารถใหข้ ้อมลู ท่ี 4.7 ส่ือสารขอ้ มลู เกีย่ วกบั ยาและการใชย้ า อย่างเพยี งพอ (Provide จาเปน็ ตอ่ การใชย้ าได้อยา่ ง แกผ่ ู้เก่ียวข้องเม่ือต้องมีการสง่ ต่อข้อมูลการ ใชย้ าอย่างสมเหตุผล information) เพยี งพอ (Provide รกั ษา 5.1, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5 information) 5.1 ตรวจสอบความเข้าใจและความมุ่งม่ัน 6. สามารถตดิ ตาม ตงั้ ใจของผู้ป่วย/ผูด้ ูแลในการจัดการ เฝ้า 6.1, 6.2, 6.3, 6.4 ผลการรกั ษา และ 6.สามารถตดิ ตาม ระวงั ตดิ ตาม และการมาตรวจตามนัด รายงานผลขา้ งเคียงท่ี ผลการรกั ษา และรายงาน 5.2 ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับยาทีช่ ดั เจน เข้าใจได้ 7.2, 7.3, 7.4, 7.5, 7.6 อาจเกดิ ขน้ึ จากการใช้ยา ผลข้างเคียงที่อาจเกดิ ข้นึ งา่ ย และเขา้ ถงึ ได้กับผปู้ ่วย/ผู้ดแู ล (เช่น ใช้ ได้ (Monitor and จากการใช้ยาได้ (Monitor เพอ่ื อะไร ใชอ้ ยา่ งไร อาการข้างเคียงที่อาจ review) and review) เกดิ ขึน้ รายงานอยา่ งไร ระยะเวลาของการ ใชย้ า) 7. สามารถใช้ยาได้อย่าง 7. สามารถใชย้ าได้อย่าง 5.3 แนะนาผปู้ ่วย/ผดู้ แู ลเกยี่ วกบั ปลอดภยั ท้ังต่อผู้ปว่ ย ปลอดภยั ทั้งต่อผู้ป่วย และ แหล่งขอ้ มลู ทเ่ี ชือ่ ถือไดใ้ นเร่ืองยา และไม่เกดิ ผลกระทบต่อ ไม่เกิดผลกระทบตอ่ สังคม และการรักษา 5.4 สร้างความมั่นใจให้ผ้ปู ่วย/ผดู้ ูแล ว่าจะ จดั การอย่างไรในกรณีที่มอี าการไมด่ ีข้ึนหรือ การรกั ษาไม่กา้ วหนา้ ในช่วงเวลาทีก่ าหนด 5.5 สนบั สนนุ ผู้ปว่ ย/ผ้ดู แู ลใหม้ สี ว่ น รบั ผิดชอบในการจดั การตนเองเร่ืองยาและ ภาวะเจบ็ ป่วย 6.1 ทบทวนแผนการบริหารยาใหส้ อดคล้อง กับแผนการรักษาที่ผูป้ ว่ ยไดร้ ับ 6.2 ตอ้ งมี การตดิ ตามประสทิ ธิภาพของการรักษาและ อาการขา้ งเคยี งท่ีอาจเกิดขน้ึ จากการใช้ยา 6.3 คน้ หาและรายงานอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยาโดยใช้ระบบการรายงานท่ี เหมาะสม 6.4 ปรบั แผนการบรหิ ารยาให้ตอบสนองตอ่ อาการและความต้องการของผปู้ ว่ ย 7.1 รู้เก่ียวกบั ชนิด สาเหตุ ของความคลาด เคล่อื นทางยาที่พบบอ่ ย และวิธกี ารป้องกัน การหลีกเลย่ี ง และการประเมิน 7.2 ระบคุ วามเส่ียงท่ีอาจเกิดขนึ้ จากการสงั่

23 สมรรถนะกลาง สมรรถนะ RDU ของ รายละเอยี ดสมรรถนะ เลือกมาจากรายละเอียด บัณฑิตพยาบาล สมรรถนะทพ่ี ึงมีจากคู่มอื การเรียนการสอนเพอื่ การ ใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล สังคมโดยรวม โดยรวม (Prescribe ยาผ่านสอื่ หรือบคุ คลอน่ื เชน่ สง่ั ทาง (Prescribe safely) safely) โทรศัพท์ ทาง E-mail ทาง Line หรือสงั่ ผา่ นบคุ คลทสี่ าม และหาแนวทางลดความ เสี่ยงน้ัน 7.3 บรหิ ารยาอยา่ งปลอดภัยตาม กระบวนการบริหารยา เชน่ 7 rights 7.4 พฒั นาหาความรูใ้ ห้ทันสมัยอยู่เสมอใน ประเดน็ ใหม่ท่ีเกดิ ขน้ึ เก่ยี วกับความ ปลอดภยั ในการใช้ยา 7.5 รายงานความคลาดเคลือ่ นในการใชย้ า และ ทบทวนการปฏบิ ัตเิ พ่ือป้องกนั การ เกิดซ้า 8. สามารถใชย้ าได้อยา่ ง 8. สามารถใชย้ าได้อยา่ ง 8.1 มนั่ ใจวา่ พยาบาลสามารถส่งั จา่ ยยาได้ 8.1, 8.2, 8.3 เหมาะสม ตามความรู้ เหมาะสม ตามความรู้ ความสามารถทาง ความสามารถทางวชิ าชพี ตามพรบ.วิชาชพี และพรบ.ยาแหง่ ชาติ วชิ าชพี และเป็นไปตาม และเปน็ ไปตามหลัก หลักเวชจรยิ ศาสตร์ เวชจริยศาสตร์ 8.2 ยอมรับความรบั ผิดชอบส่วนบุคคลใน (Prescribe (Prescribe professionally) professionally) การสง่ั ยาและเขา้ ใจในประเด็นกฎหมายและ จริยธรรม 8.3 รูแ้ ละทางานภายใต้กฎหมาย และ ระเบยี บข้อบังคับเก่ียวกับการสงั่ ยา (ยาท่ี ควบคุม ยาท่ีไมม่ ีใบอนุญาต ยาไม่มีฉลาก) 9. สามารถพัฒนาความรู้ 9. สามารถพัฒนาความรู้ 9.1 สะทอ้ นคิดการบริหารยาของตนเองและ 9.1, 9.3 ความสามารถในการใช้ ความสามารถในการใชย้ า การสัง่ ยาของผู้เกย่ี วข้อง เพือ่ ปรับปรงุ การ ยา ได้อยา่ งต่อเน่ือง ได้อยา่ งต่อเน่ือง ใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล (Improve prescribing (Improve prescribing 9.2 เขา้ ใจและใช้เครอื่ งมือหรือกลไกท่ี practice) practice) เหมาะสมในการปรบั ปรุงการบริหารยาและ การส่งั ยา (เชน่ patient and peer review feedback, prescribing data and analysis and audit) 10. สามารถทางาน 10. สามารถทางาน 10.1 มีส่วนรว่ มกับสหวิชาชพี เพอ่ื ให้มนั่ ใจ 10.1, 10.2 รว่ มกบั บคุ ลากรอนื่ ร่วมกับบคุ ลากรอ่นื แบบสหวชิ าชพี เพอื่ แบบสหวิชาชีพ เพ่อื วา่ การดูแลมีความต่อเนื่อง เช่ือมโยงกนั ใน สง่ เสริมใหเ้ กิดการใชย้ า ส่งเสริมให้เกดิ การใชย้ า อยา่ งสมเหตุผล อย่างสมเหตุผล ทุกหน่วยโดยไมข่ ัดแย้ง 10.2 สร้างสัมพนั ธภาพกับทีมสหวิชาชีพ บนพนื้ ฐานของความเข้าใจ ความไวว้ างใจ และยอมรับในบทบาทของสหวิชาชพี

24 สมรรถนะกลาง สมรรถนะ RDU ของ รายละเอียดสมรรถนะ เลือกมาจากรายละเอียด บณั ฑติ พยาบาล สมรรถนะทีพ่ ึงมีจากคู่มือ การเรยี นการสอนเพ่ือการ ใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล (Prescribe as part of (Prescribe as part of a a team) team) 3.2 ประเดน็ เนอื้ หาหลัก คณะทางานได้พิจารณาประเด็นเนื้อหาหลัก 34 ประเด็น ของ 5 สภาวิชาชีพ และ พจิ ารณาประเด็นที่เหมาะสมกับวชิ าชพี พยาบาลได้ 17 ประเด็น ดังนี้ 1. National Drug Policy (NDP) and concepts of RDU 2. Basic pharmacology (Pharmacodynamics) and Clinical pharmacokinetics 3. Irrational/ inappropriate use of medicine 4. Monitoring and evaluation impact of drug therapy 5. Adherence to treatment 6. Benefit-risk and cost assessment and decision making in prescription 7. RDU in common illness 8. Taking an accurate and informative drug history 9. Administer drug safely 10. Medication errors 11. Prescribing for patients with special requirements 12. Provide patients and careers with appropriate information about their medicines 13. Awareness of rational approach to prescribing and therapeutics 14. Ethics of prescribing and drug promotion 15. Complementary and alternative medicine 16. Multi-professional care team to improve drug use 17. Continuous professional development in RDU

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี แบบประเมินพฤติกรรมการฝึกภาคปฏิบัติ วชิ าปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั ร่นุ 2 (พย.1311) ช้นั ปี 3 ปกี ารศึกษา……………. สถานทปี่ ฏบิ ัติงาน..................................................................................................วนั ที่..................................ถงึ วันท.่ี ............................................. คาชแี้ จง ใส่ตวั เลขทต่ี รงกบั ความคิดเห็นของตนเอง 5 ตรงกับความคิดเห็นระดบั ดีมาก 4 ตรงกบั ความคิดเห็นระดับ ดี 3 ตรงกบั ความคิดเห็นระดับปานกลาง 2 ตรงกบั ความคดิ เห็นระดบั พอใช้ 1 ตรงกับความคดิ เห็นระดบั ควรปรับปรงุ รายการประเมนิ ช่ือผู้ถกู ประเมิน ลาดบั (วันทปี่ ระเมนิ .....................................) หมาย เหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 มคี วามรู้ความเขา้ ใจในสาระสาคัญของกระบวนการพยาบาลอย่างเปน็ ระบบ (2.2) 2 สามารถวางแผนและแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลได้ (3.2) 3 ปรับตวั และมีปฏิสัมพันธท์ ี่ดีกับผู้ปว่ ย เพือ่ นร่วมงาน และอาจารยน์ ิเทศ (4.1) 4 รว่ มแสดงคดิ เหน็ อย่างมีเหตุผลและเคารพในความคิดเหน็ ของผู้อ่นื (4.3) 5 สือ่ สารกบั ผูป้ ว่ ยได้อย่างเข้าใจ ใช้ภาษาไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพ่อื ให้ผู้ป่วยปลอดภยั ( 5.4) 6 ปฏิบัติการพยาบาลอยา่ งเปน็ องค์รวมเพอ่ื ความปลอดภัยของผู้ปว่ ย โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ (6.1) 7 สามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลได้ (6.2) 8 ปฏบิ ัติการพยาบาลผปู้ ว่ ยด้วยความเมตตา กรุณา และความเอื้ออาทร (6.3) 9 ปฏบิ ัติการพยาบาลโดยคานึงถงึ สิทธผิ ู้ปว่ ย และความหลากหลายทางวฒั นธรรม (6.3) 10 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลได้ทง้ั ในสถานการณ์จาลองและสถานการณจ์ ริง (6.4) รวมคะแนน (คะแนนเตม็ 50 คะแนน) เกณฑผ์ า่ นร้อยละ 60 จากคะแนนเดมิ ของแบบประเมิน ผ่าน ไม่ผา่ น ผู้ประเมิน.......................................................................... ข้อเสนอแนะ........................................................................... 25

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี แบบประเมนิ การประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล วชิ าปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น 2 (พย.1311) ชั้นปี 3 ปีการศึกษา……………. สถานที่ปฏิบัติงาน......................................วนั ท.่ี .................................ถึงวันท.่ี ..................................................... คาช้ีแจง ใส่ตัวเลขที่ตรงกบั ความคิดเห็นของตนเอง: 3 ตรงกบั ความคิดเหน็ ระดับ ดี 2 ตรงกบั ความคิดเห็นระดับ พอใช้ 1 ตรงกับความคดิ เห็นระดบั ควรปรบั ปรงุ รายการประเมนิ ชอ่ื ผู้ถกู ประเมนิ ลาดบั (วนั ท่ีประเมนิ .....................................) หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 บอกเหตุผลและเชอื่ มโยงทฤษฏี/ประสบการณใ์ นการให้การพยาบาลผ้ปู ว่ ยอย่างเป็นระบบ (2.2) 2 วเิ คราะห์ปญั หาและวางแผนการพยาบาลได้เหมาะสมตามกระบวนการพยาบาล (2.2) 3 แกป้ ญั หาตา่ งๆ ดว้ ยความคิดสร้างสรรค์ และบอกถงึ ผลกระทบจากการแก้ปญั หา (3.2) 4 ปรับตัวและมีปฏิสมั พันธ์ที่ดกี ับผู้ปว่ ย เพื่อนร่วมงาน และอาจารย์นเิ ทศ (4.1) 5 แสดงความคดิ เห็นอยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล และยอมรบั ความคดิ เห็นของผอู้ ืน่ ( 4.3) 6 สอื่ สารเพ่ือใหผ้ ู้รบั บริการได้รับบริการสขุ ภาพอยา่ งปลอดภัย ( 5.4) รวมคะแนน (คะแนนเต็ม 18 คะแนน) เกณฑผ์ ่านร้อยละ 60 จากคะแนนเดมิ ของแบบประเมิน ผา่ น ไม่ผา่ น ผูป้ ระเมิน.......................................................................... ข้อเสนอแนะ........................................................................... 26

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม วิชาปฏบิ ตั ิการพยาบาลเดก็ และวัยรุน่ 2 (พย.1311) ช้ันปี 3 ปีการศึกษา……………… สถานที่ปฏิบตั งิ าน......................................วันท.่ี .................................ถึงวันท่ี...................................................... คาช้ีแจง ใส่ตวั เลขทีต่ รงกบั ความคิดเห็นของตนเอง: 3 ตรงกบั ความคดิ เห็นระดับ ดี, 2 ตรงกับความคิดเหน็ ระดับ พอใช้, 1 ตรงกบั ความคิดเหน็ ระดับ ควรปรับปรงุ รายการประเมนิ ช่อื ผ้ถู ูกประเมิน ลาดบั (วันทีป่ ระเมนิ .....................................) หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 ซื่อสัตย์ (1.1) 2 มรี ะเบียบวนิ ัย ตรงต่อเวลา (1.1) 3 มีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง (1.2) 4 เคารพในคุณคา่ และศักด์ิศรีของความเปน็ มนุษย์ (1.4) 5 เป็นแบบอยา่ งที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในการดารงตนและการปฏิบตั ิงาน (1.6) 6 มที ัศนคติที่ดตี ่อวชิ าชีพการพยาบาล (1.6) รวมคะแนน (คะแนนเต็ม 18 คะแนน) เกณฑ์ผา่ นร้อยละ 60 จากคะแนนเดมิ ของแบบประเมนิ ผา่ น ไม่ผา่ น ผูป้ ระเมิน.......................................................................... ขอ้ เสนอแนะ........................................................................... 27

28 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี แบบประเมินการวางแผนการพยาบาลรายบุคคล (Nursing Care Study) วชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวยั ร่นุ 2 ( พย.1311 ) ชื่อผ้รู ับการประเมิน...................................................................รหัส............................... ชั้นป.ี .............................ภาคการศึกษาท่.ี ............ปีการศึกษา................ ระดบั ลาดบั รายการประเมนิ ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรุง (5) (4) กลาง (2) (1) (3) 1 กาหนดกิจกรรมทางการพยาบาล โดยมีความร้แู ละความเข้าใจใน สาระสาคัญของศาสตรท์ างวชิ าชพี การพยาบาล ระบบสขุ ภาพและ ปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ ภาวะสุขภาพ (2.2) 2 สืบค้นขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มลู ท่ีหลากหลาย และน่าเช่ือถือ (3.1) 3 รวบรวมและนาข้อมลู และหลกั ฐานไปใชใ้ นการอ้างองิ และแก้ไขอยา่ งมี วิจารณญาณ (3.2) 4 เขยี นแผนการพยาบาลรายบคุ คลไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพเพ่ือให้ผปู้ ว่ ย ได้รบั การบริการสขุ ภาพอย่างปลอดภัย (5.4) รวมคะแนน (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. .......................................................................... ........................................................ ............................................................................................................... .............................. ผู้รับการประเมิน......................................................... (................................................................) ผู้ประเมนิ …………………………………………………………….. (…………………………………………………………) วนั ท่ี..........เดอื น....................พ.ศ............

29 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี แบบประเมินแผนผงั ความคิด วิชาปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ 2 ( พย.1311 ) ชือ่ ผ้รู บั การประเมิน...................................................................รหสั ............................... ชน้ั ป.ี .............................ภาคการศึกษาที่.............ปีการศึกษา............... ระดบั การประเมนิ ลาดบั รายการประเมนิ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ (5) (4) (3) (2) (1) 1 แผนผงั ความคิดมอี งคป์ ระกอบครบถ้วนตาม สาระสาคัญของเร่ืองท่ีศกึ ษา (2.2) 2 มคี วามรู้ความเข้าใจในสาระสาคญั ของ กระบวนการพยาบาลและการนาไปใช้ (2.2) 3 สบื ค้นข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูลอยา่ งหลากหลาย และ นาหลกั ฐานไปใช้ในการอา้ งองิ และแก้ไขอยา่ งมี วจิ ารณญาณ (3.1) 4 เขยี นแผนผังความคดิ ได้อย่างเป็นระบบและมี ความคิดสร้างสรรค์ (3.2) 5 ใชภ้ าษาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อใหผ้ ู้ป่วย ได้รับการบริการสุขภาพอย่างปลอดภยั (5.4) รวมคะแนน (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ผ้รู บั การประเมิน.................................................... (...................................................) ผู้ประเมนิ .............................................................. (...................................................) วนั ท่.ี ......เดอื น.........................พ.ศ................

30 แบบประเมินสะท้อนคดิ วชิ า ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ 2 (พย. 1311) ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ช่อื ผ้รู ับการประเมนิ ...............................................................รหัส...........................ชนั้ ป.ี .................รุ่น............... รายการประเมนิ ระดับการประเมนิ หมาย ดมี าก ปรบั ปรุง เหตุ (5) ดี ปานกลาง พอใช้ (1) 1. การอธบิ ายประสบการณ์ (2.2) (4) (3) (2) 2. การนาขอ้ มลู และหลกั ฐานไปใชใ้ นการอ้างองิ (3.1) 3. การนาความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาในอนาคต(3.1) 4. การทบทวนความคิด ความรูส้ กึ (3.2) 5. การวิเคราะห์เหตุการณ์ เช่ือมโยงความรู้ทางการ พยาบาล/ ศาสตรท์ ่เี กยี่ วข้องในการแกป้ ัญหา (3.2) 6. แสดงความคิดเหน็ ของตนเองอย่างเป็นเหตเุ ป็นผล (4.3) 7. ยอมรับข้อเสนอแนะและคาแนะนา (4.3) 8. ใชภ้ าษาได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม เพ่ือให้ผปู้ ่วย ไดร้ ับการบริการสขุ ภาพอยา่ งปลอดภยั (5.4) รวม คะแนนเต็ม 40 คะแนน ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผู้รับการประเมิน.................................................... (...................................................) ผูป้ ระเมิน.............................................................. (...................................................) วันที่.......เดอื น.........................พ.ศ................

31 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี แบบประเมนิ การศกึ ษาผ้ปู ว่ ยเฉพาะราย (Nursing Case Study) วชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ 2 ( พย.1311 ) ปกี ารศกึ ษา………………. ชอ่ื ผ้รู ับการประเมิน............................................. รหสั ...............................ช้นั ปี..............................ภาคการศึกษาท.ี่ ............ ระดับ ลาดบั รายการประเมนิ ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรงุ (5) (4) กลาง (2) (1) (3) 1 มคี วามรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาล ระบบ สขุ ภาพ และปัจจัยทมี่ ผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของสังคมและต่อระบบสขุ ภาพ โดย มปี ระเดน็ การใชย้ าสมเหตุผล (2.2) 2 กาหนดกจิ กรรมการพยาบาลไดถ้ กู ต้อง ครบถว้ นและมีการนา Evidence Based Practice จากการคน้ คว้าข้อมลู ทเ่ี ป็นภาษาอังกฤษ มาใช้ (2.2) 3 สบื ค้นขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมลู ทห่ี ลากหลาย น่าเช่อื ถือ และมกี ารสืบค้นความรูใ้ น ฐานขอ้ มูล CINAHL Complete (3.1) 4 สามารถคดิ อย่างเปน็ ระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ เพือ่ หาแนวทาง ใหม่ในการแกป้ ญั หาการปฏิบตั ิงาน และบอกถงึ ผลกระทบจากการแก้ไขปัญหาได้ (3.2) 5 สามารถทางานเปน็ ทีมในบทบาทผ้นู าและสมาชกิ ทมี (4.2) 6 แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งเปน็ เหตเุ ป็นผล และยอมรับความคดิ เหน็ ของผูอ้ ืน่ ( 4.3) 7 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และมจี ริยธรรม (5.3) 8 สามารถวางแผนแผนการพยาบาลได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพเพ่อื ใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ ับการ บริการสขุ ภาพอยา่ งปลอดภัย โดยสอดแทรกการใชภ้ ูมปิ ัญญาไทย ในการดูแล สุขภาพ (5.4) รวมคะแนน (คะแนนเตม็ 40 คะแนน) ข้อเสนอแนะ....................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................... ผ้รู ับการประเมิน......................................................... (................................................................) ผู้ประเมิน…………………………………………………………….. (…………………………………………………………) วนั ที.่ .........เดอื น....................พ.ศ............