ณรัช มผี ล ครู คศ.1 โรงเรยี นกระแชงวิทยา 1สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 28 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
บันทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรียนกระแชงวิทยา สพม. 28 ที่ / ๒๕๖๓ วนั ท่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เรื่อง รายงานการอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ (COVID-๑๙) เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกระแชงวิทยา สง่ิ ทส่ี ่งมาดว้ ย แบบรายงานผลการอบรมการจดั การเรยี นการสอนทางไกลฯ จำนวน ๑ ฉบับ ดว้ ยขา้ พเจา้ นายณรชั มผี ล ตำแหน่ง ครู คศ.๑ ได้รบั มอบหมายให้เขา้ รว่ ม (…….) ประชมุ (✓) อบรม (……) สัมมนา (......) แข่งขันหรอื (…...) อื่น ๆ เรื่อง การจัดการเรียนการสอนทางไกลใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผา่ นระบบการประชุม ทางไกล สำหรับครูและผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 7 พฤษภาคม 2563 บัดนี้ การอบรมได้เสร็จสิ้นลงแล้ว จึงขอสรุปและ รายงานผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ดังน้ี ข้าพเจ้า เข้าร่วมการอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคติดตอ่ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผา่ นระบบการประชุมทางไกล สำหรบั ครูและผู้บริหาร โรงเรยี น สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ และผ่านการทดสอบ หลงั การอบรม ด้วยคะแนนทดสอบสงู กวา่ รอ้ ยละ 75 รวมจำนวนการอบรม ทงั้ ส้ิน 7 ชั่วโมง จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบและรับรองผลการปฏบิ ัติงาน ลงชื่อ ...............................................ผู้รายงาน (นายณรชั มีผล) ตำแหน่ง ครู คศ.๑ ขอ้ คิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................... (นายประมลู แสวงผล) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกระแชงวิทยา 2
รายงานผลการประชุม อบรม สมั มนา เรื่อง การอบรมการจดั การเรียนการสอนทางไกล โดยใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) วันพฤหสั บดี ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ❖ ลกั ษณะการอบรม ออนไลน์ ❖ จำนวนชวั่ โมงการปฏิบัติงาน 09.00 น. – 16.00 น. รวม 7 ช่วั โมง ❖ หน่วยงานทจี่ ัด สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (สพฐ.) ❖ เนือ้ หาและขัน้ ตอนการอบรม 1) เข้ารบั ฟังการบรรยายผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ 2) การบรรยายช่วงเช้า 3) การบรรยายช่วงบา่ ย - ตอบขอ้ ซักถาม 4) สรปุ การประชมุ 5) ทำแบบทดสอบเพอื่ รับเกียรติบัตรการอบรม ❖ การอบรมนี้ เปน็ ความร้ใู หม่ เปน็ ไปตามแผนการพฒั นาตนเอง (ID Plan) สอดคลอ้ งกบั สภาพการปฏิบตั งิ าน ความต้องการจำเป็นของหน่วยงาน เป็นนโยบาย หรอื แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานทางการศึกษาหรือส่วนราชการตน้ สงั กัด ❖ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาตนเอง พัฒนานวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ ทสี่ ง่ ผลต่อคุณภาพผเู้ รียน - ครสู ามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ในคร้ังน้ไี ปวางแผน ออกแบบการเรียนการสอนการจดั การเรียนการสอน ทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย โดยพจิ ารณาความเหมาะสมและความพร้อมของ ผปู้ กครอง นักเรียน และบริบทของโรงเรยี น ลงช่ือ ...............................................ผูร้ ายงาน (นายณรชั มีผล) ตำแหน่ง ครู คศ.๑ 3
การอบรมการจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผา่ นระบบการประชมุ ทางไกล (Video Conference) สำหรับครูและผู้บรหิ ารโรงเรยี น สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร วันพฤหสั บดีที่ 7 พฤษภาคม 2563 เวลา 09.00 - 15.30 น. ณ หอ้ งประชุม สพฐ. 1 อาคาร สพฐ. 4 ชน้ั 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เข้ารว่ มการอบรมผ่าน 5 ช่องทาง ดังน้ี 1) ชอ่ งสัญญาณ DLTV 15 2) www.dltv.ac.th 3) https://www.youtube.com/obectvonline 4) https://www.facebook.com/obectvonline/ 5) www.obectv.tv (ช่อง 1) ******************************************************************************** ความเปน็ มาและความสำคญั สืบเนื่องจากข้อสั่งการของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องเร่งรัด ดำเนินการในประเด็นด้านการศึกษาเรื่องการขาดแคลนครูในโรงเรียนพื้นที่ห่างไกลรวมทั้งการเพ่ิม โอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็ก จึงได้พิจารณาให้มีการศึกษาและขยายผลโครงการการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมไปยังพื้นที่อื่น ๆ โดยกำหนดให้ใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในโรงเรียน ขนาดเลก็ ทัว่ ประเทศ จำนวน ๑๕,๓๖๙ โรงเรียน การดำเนินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็กทั่วประเทศ จะบรรลุ วัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้นั้น มีความจำเป็นต้องมีการพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มีการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติทั้งในระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน ระดบั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและระดบั โรงเรยี น วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือแก้ไขปญั หาการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด เชอื้ ไวรสั โคโรน่า (COVID-๑๙) ๒. เพือ่ ชว่ ยแกป้ ัญหาโรงเรียนขนาดเล็กท่ีประสบปญั หาการมคี รูไมค่ รบช้ัน ครูสอนไม่ตรงสาขา วชิ าเอก ๓. เพื่อขยายผลโครงการการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมไปยังพ้ืนทีอ่ ่ืน ๆ ให้มีผลเป็นรูปธรรม โดยเร็ว 4
เปา้ หมาย ๑. บุคลากรสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโอกาสถวายงานส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีเพอ่ื การพัฒนาประเทศ ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาท เผยแพรพ่ ระราชกรณยี กจิ ใหข้ จรกระจาย ไกล และสนองพระราชดำริของทั้งสองพระองค์ ในการทจ่ี ะพฒั นาการศึกษาไทยให้เจรญิ ก้าวหน้า ๒. ครูและนักเรียนทุกคนได้เข้าถึงเทคโนโลยี และ สื่อในการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยสอดคล้อง กบั ความตอ้ งการ ๓. ครูที่สอนไม่ตรงกับวิชาเอกสามารถจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เหมาะสม ๔. สรา้ งเครอื ข่ายแลกเปลีย่ นเรียนรใู้ นการจัดการเรียนรขู้ องครไู ด้อยา่ งกว้างขวางและทว่ั ถึง ๕. มีการระดมสรรพกำลังและบูรณาการทรัพยากรจากภาครฐั และเอกชนช่วยสนับสนุนการจัด การศึกษาอยา่ งเป็นระบบ วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุม สพฐ. ๑ กระทรวงศึกษาธิการ นายอำนาจ วิชยานุ วัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เป็นประธานในการอบรมผ่าน ระบบทางไกล เรื่องการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เพื่อชี้แจงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทางไกลและเตรียมพร้อม สำหรบั การเปดิ ภาคเรยี นในวนั ท่ี ๑ กรกฎาคมนี้ โดยมี นายสนิท แยม้ เกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน นางวฒั นาพร ระงับทกุ ข์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน นายก วนิ ทรเ์ กียรติ นนท์พละ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พรอ้ มคณะทำงาน ร่วมชี้แจง ในประเด็นทีเ่ กย่ี วข้อง เพือ่ ส่อื สารทำความเข้าใจไปยงั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา โรงเรียน ครู รวมถึง นักเรยี นและผปู้ กครองทัว่ ประเทศ นายอำนาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สำหรับการเตรียมความพร้อมในการจดั การ เรียนการสอนเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ แต่ละหน่วยงานใน กระทรวงศึกษาธิการก็ได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มากที่สุด ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน(สพฐ.) นนั้ ได้มีการกำหนดแนวทางการจดั การเรียนการสอนระบบทางไกล โดยแบ่งเป็น ๔ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ การเตรยี มความพร้อม (๗ เมษายน – ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓) ไดส้ ำรวจความพร้อม ในด้านอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการ เรียนการสอน รวมถึงขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล จากสำนักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการ สอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมขออนุมัติเผยแพร่การเรียนการสอนจาก ห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดทำสื่อวีดิทัศน์การสอน โดยครูต้นแบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์มการ เรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น Tutor ติวฟรี.com, e-Book เป็นต้น รวมถึงเตรียม 5
โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่าย เพื่อรองรับการให้บริการ แพลตฟอร์มการเรียนรู้ให้เชื่อมโยงกับ ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระยะที่ ๒ การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (๑๘ พฤษภาคม – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓) จะทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผ่านช่องรายการ โทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยการเผยแพร่สัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระ บรมราชูปถัมภ์ (DLTV) ในระดับปฐมวัยเน้นกิจกรรมเตรยี มความพร้อมเด็ก และระดับประถมศึกษาถึง ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ผ่านช่อง รายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลและระบบออนไลน์โดยครูต้นแบบ ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความ เหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา รวมทง้ั เปิดศนู ย์รับฟังความคิดเหน็ การเรียนการสอนทางไกล จาก ผู้ปกครอง ประชาชน และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา และประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ความเขา้ ใจ แนะนำช่องทางการเรยี นทางไกลให้กับผู้ปกครองและผเู้ กยี่ วขอ้ ง ระยะที่ ๓ การจัดการเรียนการสอน (๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔) ได้วางแผน ไว้สำหรับ ๒ สถานการณ์ นั่นคือ สถานการณ์ที่ ๑ กรณีที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโร นา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ยังไม่คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครู ตน้ แบบ และระบบออนไลน์ดว้ ยเคร่ืองมอื การเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา และ สถานการณท์ ่ี ๒ กรณีท่ีสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid–๑๙) คลค่ี ลาย จะจัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรียน โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมี แผนเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ โดยจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ ศึกษาธกิ ารจังหวัด ซง่ึ มีผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็นประธาน และ ระยะที่ ๔ การทดสอบและการศึกษาต่อ (๑ เมษายน – ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔) จะ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ นั่นคือ กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เกี่ยวกับการทดสอบ O-net ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ นอกจากการเตรยี มความพร้อมในเรื่องส่ืออุปกรณก์ ารจัดการเรียนการสอนทางไกล ในส่วนของ การเตรียมความพร้อมสำหรับครู ทางสพฐ. ก็จะมีการพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ท่ี เกี่ยวข้องสำหรับการเรียนการสอนทางไกล โดยจัดทำคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล สำหรับครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความรู้ในการใช้เครื่องมือ เทคนิคและ วิธีการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผ่านช่องทาง DLTV และ OBEC Channel และมีการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนทางไกลดว้ ย สพฐ. ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดภาคเรียนที่ ๑ อย่างดีที่สุด ตามที่ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ไดก้ ลา่ วว่า โรงเรียนอาจหยุดได้แต่การ เรียนรู้หยุดไม่ได้ ไม่ว่าสถานการณ์แวดล้อมจะรุนแรงแค่ไหน การเรียนรู้ที่เข้าถึงและมีคุณภาพสำหรับ เด็กไทยทุกคนคือเป้าหมายสูงสุดตามแนวคิด \"การเรียนรู้นำการศึกษา\" โดยจัดการเรียนการสอนโดย คำนึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคน ให้นักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนได้ แม้จะไม่ สามารถไปโรงเรียนได้ ก็ให้ใช้สิ่งที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งตัดสินใจนโยบายต่างๆ บน พ้นื ฐานของการสำรวจความตอ้ งการท้ังจากนักเรียน ครู และโรงเรียน นำมาปรับปฏทิ ินการศึกษาให้เอื้อ 6
ต่อการเรียนเพื่อรู้ของเด็กมากขึ้น นอกจากนั้นบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ก็จะได้รับการดูแลอย่าง ตอ่ เน่อื ง และได้รบั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงนอ้ ยท่ีสุด\" ทั้งน้ี นายอำนาจ วชิ ยานุวตั ิ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) ได้ย้ำว่าหากสถานการณ์โควิด-๑๙ คลี่คลายลง ในวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ก็จะสามารถจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนได้ตามปกติ ภายใต้มาตรการป้องกันของกรมควบคุมโรค แต่หากสถานการณ์ยังไม่ คลี่คลาย ก็จะจัดการเรียนการสอนผ่านระบบทางไกล สำหรับช่องทีวีดิจิทัลเพื่อการศึกษาที่ได้รับการ จัดสรรจาก กสทช. จำนวน ๑๗ ช่องนั้น จะมีการแถลงข่าวชี้แจงรายละเอียดในเร่ืองดังกล่าวในวันท่ี ๑๔ พฤษภาคมนี้ต่อไป สรุปผลการประชุม มอบนโยบายการจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผบู้ รรยาย : นายอำนาจ วชิ ยานวุ ัติ เลขาธกิ ารสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน - สำหรับการเตรยี มความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื รองรบั การเปดิ ภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2563 แต่ละหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธกิ ารไดด้ ำเนนิ การใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากท่ีสดุ การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แบ่งออกเปน็ 4 ระยะ ดังน้ี • ระยะท่ี 1 การเตรียมความพรอ้ ม การสืบเสาะแสวงหาส่ือการเรียนการสอนทางไกล หรอื สอื่ การเรยี นการสอนออนไลน์ โดยใช้งบประมาณใหน้ ้อยที่สุด และให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด • ระยะที่ 2 ทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล เนื้อหาวิชาต้ังแต่ระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาปี ที่ 3 จัดการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 จัดการ เรียนการสอนด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบและระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา • ระยะที่ 3 : จัดการเรียนการสอนทางไกล เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564 โดยการขบั เคลือ่ นการเรียนการสอนระบบปกติ มี 2 รปู แบบ คอื เรยี นปกติในห้องเรียน และ ระบบออนแอร์หรือออนไลน์ในการขับเคลื่อนการสร้างการเรียนรู้ให้กับนักเรียน หรือ สามารถนำทั้ง 2 มาผสมผสานใช้ระบบร่วมกัน แต่หากสถานการณ์ไม่คลี่คลาย พบผู้ติดเช้ือ COVID-19 เพิ่มมาอีกครั้งต้องมาพูดคุยกันเพิ่มเติมในเรื่องของระบบออนแอร์หรือออนไลน์ 7
และมีแผนเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ โดยจะต้องได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวัด • ระยะที่ 4 : การทดสอบและการศึกษาต่อ เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564 โดยการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบและการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ได้แก่ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT ) ส่วนสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เกี่ยวกับการ ทดสอบ O-NET ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ผู้บรรยาย: นายสนิท แยม้ เกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน มาตรการต่าง ๆ ของโรงเรียนเพ่ือความปลอดภัยของนักเรยี นกบั การแพรเ่ ชอ้ื โรคโคโรน่า ๒๐๑๙ อาหารกลางวนั และนมโรงเรยี น ๑. นักเรียนต้องได้ดื่มนมทุกวัน แนวทางการบริหารจัดการให้โรงเรียนหารือกับท้องถิ่นในการ จัดการใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ท ๒. อาหารกลางวันแจ้งเป็นหนงั สือราชการมาถงึ โรงเรยี นแล้ว การดำเนินการด้านวิชาการของสถานศึกษา ในจดั การเรียนการสอนดว้ ยระบบทางไกล ผู้บรรยาย : ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้นกั เรียนได้เรยี นรู้ และพัฒนาความรู้ความสามารถตามหลักสูตรในชว่ งโรงเรยี นปิด ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของ COVID-19 8
วิธีการ จดั ให้มกี ารเรยี นการสอนตามหลักสูตรดว้ ยส่อื และช่องทางการสื่อสารท่ีมอี ยู่ สามารถสง่ ถึง ผู้เรยี นในแต่ละกลมุ่ เป้าหมายได้ โดย • จัดการเรียนการสอนชน้ั อนุบาล 1 – ม.3 ถ่ายทอดการสอนจรงิ กับนกั เรยี นในหอ้ งเรยี น นักเรยี นทีช่ มจะเรียนในห้องทมี่ ีครดู ูแล มีสื่อเหมอื นในห้องสอน • อนุบาล 1-3 จัดการเรยี นร้ตู ามมาตรฐานหลักสตู รปฐมวัย • ป.1-6/ม.1-3 จัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งระดับ ป.1-6 จัดรายวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ การงานอาชีพ และกลุ่ม บรู ณาการ ส่วน ม.1-ม.3 จัดรายวชิ าตามโครงสร้างหลกั สูตรแกนกลางฯ การนำมาใช้ สื่อการเรียนการสอนทางไกลผ่าน TV (DLTV) ทุกระดับ ซึ่งทางมูลนิธิการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ ไดจ้ ดั เตรยี ม ตารางสอน กำหนดการเรียนรูร้ ายชั่วโมง แผนการจัด ประสบการณ์ แผนการจดั การเรียนรู้ ใบงาน แบบฝึก ใบกจิ กรรม และแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ สำหรบั การจดั การเรยี นรตู้ ัง้ แตว่ นั ที่ 18 พฤษภาคม – 30 มิถุนายน 2563 โดยครสู ามารถเขา้ ไปเรียนรู้ รายละเอียด เพ่อื เตรยี มจดั การเรียนการสอนใหน้ ักเรียนได้ ทง้ั น้คี รพู ิจารณาปรับหรือเพิ่มเติมสาระ/ส่ือ/ แบบฝกึ /มอบหมายงานเพ่ิมใหเ้ หมาะสม ชีแ้ จงแนวทางการดำเนนิ การจัดการเรยี นการสอนทางไกลของสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ผ้บู รรยาย : ดร.กวินทร์เกียรติ นนธพ์ ละ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รูปแบบการจดั การเรียนการสอนใน 3 รูปแบบ โรงเรียนสามารถเลือกใช้ไดต้ ามเหมาะสม ดังนี้ 1. On Site เรียนทโี่ รงเรียน ในพ้ืนท่ปี ลอดภยั ภายใตเ้ งอื่ นไข ศบค.จงั หวดั 2. On Air เรยี นท่บี ้าน 1) ระบบดาวเทยี ม 2) ระบบดจิ ิทัลทีวี 3) ระบบเคเบ้ลิ ทีวี 4) ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต จาก IPTV 3. Online เรียนผ่านอินเทอร์เนต็ และแอพลเิ คชนั 1) DLTV ระดับอนบุ าล 1 ถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 2) DEEP ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 9
บทบาทหน้าท่ีของโรงเรียนมีดังนี้ 1. สำรวจความพรอ้ มการเข้าถงึ การรบั ชมของนกั เรียนและผปู้ กครอง ดา้ นอุปกรณ์และคลื่นสญั ญาณ 2. จัดกลุ่มความพร้อมของการเข้าถึงเป็น 3 กลมุ่ 1) กลมุ่ ทมี่ คี วามพร้อม 100% 2) กลมุ่ ทม่ี คี วามพร้อมปานกลาง 50% 3) กลมุ่ ทีม่ คี วามพร้อมนอ้ ยหรือไม่มคี วามพรอ้ ม 3. จัดระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนกลุ่มที่มีความพร้อมของการเข้าถงึ ปานกลาง พรอ้ มนอ้ ยหรือไม่มี ความพร้อม 4. สำรวจความพรอ้ มของผ้ปู กครองดา้ นเวลา 5. จดั กลุ่มความพร้อมของอุปกรณ์เป็น 3 กลุ่ม 1) กลมุ่ ท่ีมคี วามพร้อม 100% 2) กลุ่มทม่ี คี วามพร้อมปานกลาง 50% 3) กลมุ่ ทม่ี คี วามพร้อมนอ้ ยหรอื ไม่มคี วามพรอ้ ม 6. จัดระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนกลุ่มท่มี ีความพร้อมของอุปกรณป์ านกลาง พร้อมนอ้ ยหรือไม่มี ความพรอ้ ม 7. จดั ระบบสื่อสาร วธิ กี าร วันและเวลา ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง 8. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับผปู้ กครอง ด้วยวิธกี ารท่ีเหมาะสมภายใต้เง่ือนไขของ ศบค. จังหวดั 9. มอบหมายครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหด้ แู ลรับผิดชอบ และพบปะนักเรียน อนุบาล - ประถมศึกษา ผ้อู ำนวยการโรงเรียนดำเนินการจดั ระบบการบริหารจดั การทเี่ หมาะสมใหไ้ ด้ และแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ไปก่อนได้ นอกเหนือความสามารถให้แจ้ง สพท. เพ่ือช่วยแก้ปัญหาต่อไป - บรหิ ารจัดการแนวทางต่าง ๆ - บรหิ ารจัดการภารกจิ ประจำวัน - รายงานผลการดำเนนิ การทนั ทสี ัปดาห์ละ 1 คร้ัง ภารกิจของครู - ศกึ ษาแนวทางการเรยี นการสอนตาม DLTV - จดั ทำใบงาน - สรา้ งความเขา้ ใจ ขอ้ ตกลง กับ ผปค. ในการชว่ ยเหลือดแู ลนกั เรยี น - นัดหมายวันเวลาพบปะนกั เรยี น สำรวจขอ้ มูลผู้ปกครอง ทาง สพฐ. จะจดั สรรกล่องรับ สญั ญาณไปให้ (เทา่ ทจี่ ำเป็นและขาดแคลนจริง) ประสานความร่วมมอื กับครือขา่ ยของสพฐ. กศน. อสม. และ อปท. รวมถงึ หน่วยงานอ่นื ๆ การเตรียมความพร้อมของครใู นการจดั การเรยี นการสอนทางไกล • ศกึ ษาแนวทางการเรียนการสอนลว่ งหน้าผา่ นเว็บไซต์ www.dltv.ac.th • จัดทำใบงาน แบบฝึกหัด ตามจุดเน้นในสาระการเรยี นรู้ • สรา้ งความเข้าใจ ข้อตกลง กับผปู้ กครองในการดแู ลช่วยเหลอื การเรียนของนักเรยี น 10
• นดั หมายวนั เวลาการพบปะนักเรียน มอบหน้าที่ความรับผิดชอบของครใู นการพบปะนกั เรยี น อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครง้ั โดยจัดระบบพบปะในมิติดา้ นวนั เวลา สถานที่ และวิธีการ ในการ พบปะนำใบงาน แบบฝกึ หดั และสื่อการเรยี น (ถ้ามี) ไปส่งให้นกั เรียน และนำแบบฝึกหัด ใบ งานมาตรวจ วิกฤตสู่โอกาส ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทสำคัญและเปลี่ยนแปลงการดำเนิน ชีวติ ของผู้คน สง่ ผลกระทบทำให้หลายอาชีพถกู ดิสรัปชัน (Disruption) ทำใหใ้ นดา้ นการจัดการศึกษา มีความจำเป็นที่ต้องนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเป็นเครื่องมือ เพื่อลดข้อจำกัด และเพิ่มประสิทธิภาพใน การจดั การเรียนการสอนให้มากยิ่งขึน้ อกี ทง้ั ยงั ช่วยส่งผลให้นักเรียนท่ีอยู่ห่างไกล สามารถมีโอกาสและ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา วดิ ีทศั นแ์ นะนำการจดั การศึกษาทางไกล (DLTV) วิดที ศั นข์ ้นั ตอนการจดั การเรียนการสอน ทางไกลสำหรับระดบั ชนั้ อนุบาลถึงระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ผ้บู รรยาย : ดร.สวุ ิทย์ บงึ บัว ผอู้ ำนวยการศนู ย์พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล VTR NEW DLTV https://www.youtube.com/watch?v=luAci6wmr5A กระบวนการการเรยี นทางไกล 1. เตรยี มความพรอ้ ม เตรียมแฟ้มใหน้ ักเรียน 2 แฟ้ม/ 1 คน 2. การเรียนทางไกล 3. การติดต่อสอ่ื สารพบปะผู้ปกครอง 4. ประเมนิ ผล ท้ังแบบออฟไลน์และออนไลน์ 11
สาธติ การจัดการเรียนการสอนทางไกลสำหรบั ระดบั ชั้นอนบุ าลถึงระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้บรรยาย : ดร.รตั นา แสงบัวเผ่อื น ผอู้ ำนวยการสำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ภายใต้การบริหารงานของคณะกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระ บรมราชูปถัมภ์ นำโดยพลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิ ฯ ได้น้อมนำพระรา โชบายมาปฏิบัติ มีการพัฒนาระบบการดำเนินงานรูปแบบใหม่ทั้งโครงสร้างการบริหารงานภายในองค์กร และระบบการออกอากาศการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (NEW DLTV) เพื่อให้รองรับกับ สถานการณ์ของโลกและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีการพัฒนาและต่อยอดการ ดำเนนิ งานให้บรกิ ารการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมอย่างต่อเน่อื งและเปน็ รูปธรรม ช่องทางการรบั สญั ญาณ ผา่ นทาง 3 ช่องทาง ดังน้ี • ผา่ นดาวเทยี ม ระบบ KU-BAND ชอ่ ง 186-200 ออกอากาศ 15 ช่อง (DLTV 1 – 15) ตลอด 24 ช่ัวโมง • ระบบอนิ เทอร์เน็ต เวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th • แอปพลเิ คชนั DLTV เหมาะสำหรับนกั เรยี น นกั ศึกษา ผู้ปกครองและประชาชนโดยท่ัวไป เพราะสามารถชมรายการไดท้ กุ ท่ที ุกเวลา ชมได้ทง้ั รายการสดและเลอื กชมย้อนหลัง กระบวนการเรียนทางไกล 1) เตรียมความพรอ้ ม 2) การเรียนทางไกล 3) การตดิ ตอ่ ส่อื สารพบปะผู้ปกครองนกั เรียน ผา่ นทางช่องทางตา่ ง ๆ เช่น Line Facebook 4) ประเมินผล โดยอาจประเมนิ จากช้ินงาน หรอื ใบงานแบบฝึกหดั ตา่ ง ๆ เวลา 13.00 - 15.00 น. การตอบคำถามจากผูเ้ ข้าร่วมอบรมปลายทาง และข้อเสนอแนะของผู้อบรมปลายทาง 12
นางอาทติ ยา ปญั ญา ผ้อู ำนวยการสถานบันภาษาอังกฤษ ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้ห้องเรียนโครงการพิเศษ (EP) เปิดในลักษณะที่มีความเหมาะสม โดยครูต้องออกแบบการจัดการเรียนการสอนเหมือนการเปิดการเรียนปกติทุกประการ ทั้งนี้ต้องยึด รายละเอยี ดเชิงระบบ ท่ีโรงเรยี นสามารถเลอื กใช้ไดต้ ามเหมาะสม On Site , On Air และ Online เวลา 15.00 น. ดร.กวินทร์เกียรติ นนธ์พละ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวปิดการ อบรม เวลา 15.30 น. เป็นต้นไป ผรู้ ับการอบรมทำแบบทดสอบความรู้ ลงชือ่ ...............................................ผรู้ ายงาน (นายณรชั มีผล) ตำแหนง่ ครู คศ.๑ 13
ภาคผนวก • เกียรตบิ ัตรผา่ นการอบรม • หนงั สอื แจง้ เชิญรว่ มอบรมฯ • กำหนดการอบรม • เอกสารประกอบการอบรม • แบบทดสอบการอบรม 14
เกยี รติบัตรผ่านการอบรม 15หนงั สือแจ้งเชญิ รว่ มอบรมฯ
กำหนดการอบรม 16
เอกสารประกอบการอบรม 17
เอกสารเผยแพรส่ ำหรับการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี https://bit.ly/Covid-19_MOE_Conference 18
19
20
21
22
23
24
25
26
แบบทดสอบการอบรม 1. กระทรวงศึกษาธิการ เตรียมความพร้อมช่องทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยกเว้นข้อใด * On-Air On-Time Online Onsite 2. การเรียนการสอนช่วง COVID-19 กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดสัดส่วนการออกแบบเพ่ิมเติมของ ครูผู้สอนและโรงเรียนให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ไว้ตามข้อใด * ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50 3. สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานต้องเริ่มทดลองจัดการเรียนการ สอนโดยใช้การศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) เมื่อใด * 1 พฤษภาคม 2563 18 พฤษภาคม 2563 15 มิถุนายน 2563 1 กรกฎาคม 2563 4. สถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ เตรียมความพร้อมให้ใช้ช่องทางการเรียนรู้หลักผ่าน TV ส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ตามข้อใด * 15 ช่อง 16 ช่อง 17 ช่อง 18 ช่อง 5. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กำหนดแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น 4 ระยะ ยกเว้นข้อ ใด * การประเมิน สรุปและแสดงผลงาน การเตรียมความพร้อม การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล 27
การจัดการเรียนการสอนทางไกล 6. ผู้อำนวยการโรงเรียนมีภารกิจประจำวัน ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลในช่วง COVID-19 ตามแนวปฏิบัติที่กำหนด ยกเว้นข้อใด * ตรวจสอบเวลาการปฏิบัติงานของครู อำนวยความสะดวก สนับสนุนการปฏิบัติงานของครู รับรายงานการปฏิบัติงานของครู ส่งครูเข้ารับการอบรมพัฒนาต่างจังหวัด 7. แนวทางการออกอากาศการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในช่วง COVID-19 ดำเนินการ ออกอากาศ ยกเว้นข้อใด * ออกอากาศสด (LIVE) เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ออกอากาศซ้ำ (Rerun 2 รอบ) ออกอากาศซ้ำ (Rerun) รอบท่ี 1 เร่ิมเวลา 14.30 เป็นต้นไป ออกอากาศสด (LIVE) เวลา 09.00 น. 8. ข้อใดไม่ถูกต้องในการจัดการเรียนรู้หลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 * หากสถานการณ์ 1 กรกฎาคม 2563 เข้าสู่ภาวะปกติ เขตพื้นท่ีสามารถนำช่องทาง On air และ Online ไปใช้สนับสนุนการสอน หากสถานการณ์ 1 กรกฎาคม 2563 เข้าสู่ภาวะปกติ แต่ผู้ปกครองและชุมชนยังมีความกังวลต่อ ความปลอดภัย โรงเรียนและครูสามารถใช้ช่องทาง On air และ Online ไปผสมผสานกับระบบท่ี ตนเองใช้จัดการเรียนรู้ หากสถานการณ์ 1 กรกฎาคม 2563 ยังไม่คล่ีคลาย สามารถใช้ช่องทาง On air และ Online ไป ใช้ได้เต็มระบบ หากสถานการณ์ 1 กรกฎาคม 2563 ในภาพรวมยังไม่คล่ีคลาย แต่เป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มี นักเรียนมาจากชุมชนท่ีไม่มีผู้ติดเช้ือ สามารถให้ผู้อำนวยการเขตพ้ืนที่การศึกษาส่ังการให้เปิดการ จัดการเรียนรู้ตามปกติ 9. ช่วง COVID-19 โรงเรียนต้องดำเนินการอย่างไร สำหรับกลุ่มนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ที่สมัครเข้าเรียนในโรงเรียนใหม่ * โรงเรียนไม่ต้องดำเนินการแต่อย่างใด โรงเรียนต้องรอความชัดเจนด้านนโยบายจากเขตพื้นที่การศึกษาก่อนดำเนินการ โรงเรียนมีอิสระในการเลือกดำเนินการหรือไม่ดำเนินการตามความพร้อมของโรงเรียน โรงเรียนใช้ท่ีอยู่และชื่อผู้ปกครองจากใบสมัคร และดำเนินการตามสมควรเสมือนเป็นนักเรียน ของโรงเรียน 10. ข้อใดไม่ใชแ่ นวทางการจัดการเรียนสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ของ กระทรวงศึกษาธิการ * Online เรียนรู้ผ่าน platform ออนไลน์ ได้แก่ DLTV และ DEEP On air เรียนท่ีบ้านในระดับช้ันอนุบาล - มัธยมศึกษาปีที่ 6 On site เรียนในพ้ืนท่ีปลอดภัยภายใต้เง่ือนไขของ ศบค. จังหวัด 28
On time เรียนตามเวลาท่ีนัดหมาย และผ่านช่องทางท่ีสามารถเข้าถึงได้ 11. ผู้อำนวยการสถานศึกษา มีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ COVID-19 ตาม แนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนด ยกเว้นข้อใด * สำรวจความพร้อมการเข้าถึง การรับชมของนักเรียนและผู้ปกครอง ด้านอุปกรณฺ์และสัญญาณอิน เทอร์เนต จัดกลุ่มความพร้อมของนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่มีความพร้อม และกลุ่มท่ีมีความพร้อม น้อยหรือไม่มีความพร้อม จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในกลุ่มที่พร้อมน้อย หรือไม่มีความพร้อม สำรวจความต้องการของผู้ปกครองด้านเวลา 12. แนวปฏิบัติการเตรียมความพร้อมของครู เพ่ือจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ประสบความสำเร็จ ยกเว้นข้อใด * ศึกษาแนวทางการเรียนการสอนล่วงหน้าผ่านทาง www.dltv.ac.th จัดทำใบงานและแบบฝึกหัดตามจุดเน้นในสาระการเรียนรู้ และจัดส่งให้นักเรียน สร้างความเข้าใจ และข้อตกลงกับผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือการเรียนของนักเรียน ผู้ปกครองตรวจเอกสารใบงานของนักเรียนเองที่บ้านท้ังหมด 13. แนวปฏิบัติการเรียนการสอนทางไกลในช่วง COVID-19 ครูผู้สอน ต้องมีบทบาทตามข้อใด * เตรียมความพร้อม โดยการศึกษาแนวทางล่วงหน้า จัดทำแฟ้มใบงาน แบบฝึก ติดต่อส่ือสาร และพบปะผู้ปกครองอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ถูกทุกข้อ 14. ข้อใดคือแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเปน็ เลิศของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถเลือก เรียนรไู้ ด้ตามความสนใจและความสะดวก * OBEC YouTube DEEP Facebook 15. แนวปฏิบัติข้อใดเป็นบทบาทสำคัญของครูในการจดั การเรียนการสอนทางไกลรายวัน ในช่วง COVID-19 * ติดต่อสื่อสารรายวัน ศึกษาเอกสารและดาวน์โหลด ทดสอบหลังจบหน่วยการเรียนรู้ จัดต้ังกลุ่มสื่อสารทางไกล 29
16. ครูควรดำเนินการอย่างไรในการตรวจสอบการเข้าเรียนของเด็กและผู้ปกครองรายวัน ก่อนเร่ิม การเรียนการสอนทางไกลตามตารางการออกอากาศ ในช่วง COVID-19 * ติดต่อตามช่องทางท่ีได้นัดหมาย ให้ผู้ปกครองรายงานตัวแทนเด็ก ให้นักเรียนรายงานตัวทางเฟสบุ้ค โทรศัพท์สอบถามผู้ปกครอง 17. แนวปฏิบัติใดท่ีช่วยส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกล ในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประสบความสำเร็จ * ครูควรจัดกลุ่มอภิปรายปัญหาระหว่างผู้ปกครอง ครูติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองและนักเรียนตลอดเวลา ครูควรพบปะนักเรียนและผู้ปกครองทุกวัน ครูควรดูวีดิโอการเรียนการสอนล่วงหน้า เพ่ือเตรียมความพร้อม 18. ข้อใดคือช่องทางในการดาวน์โหลดเอกสาร ใบงาน และส่ือการสอนในการจัดการเรียนการสอน โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) * www.dltv.go.th www.dltv.com www.dltv.ac.th www.dltv.moe.go.th 19. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ข้ันใดท่ีสะท้อนให้ครูทราบถึงปัญหาในการจัดการเรียนการสอน * ขั้นวัดและประเมินผลการเรียนการสอนทางไกล ข้ันจัดการเรียนการสอนทางไกล ข้ันพบปะนักเรียนและผู้ปกครองรายสัปดาห์ ข้ันเตรียมความพร้อม 20. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ข้ันการพบปะครูรายสัปดาห์ ผู้ปกครองและนักเรียนควรดำเนินการ อย่างไร * ประชุมผู้ปกครองและนักเรียนทุกคนเพื่อทำความเข้าใจ กำกับดูแลให้นักเรียนรายงานตัว และให้แต่งเครื่องแบบให้เรียบร้อย รับ-ส่งแฟ้ม รับฟังคำแนะนำ และสอบถามหากมีข้อสงสัย จัดการนำเสนอผลงาน และชิ้นงานที่ครูมอบหมาย 30
31
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: