Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Aสค12025ลูกเสือกศน.

Aสค12025ลูกเสือกศน.

Published by angkasiya monkong, 2020-06-12 03:10:35

Description: Aสค12025ลูกเสือกศน.

Search

Read the Text Version

39 ปัจจัยสาคัญในการสร้างความสงบสุข และความเจริญก้าวหน้าแก่ชีวิตและสังคม วินัยต้องเริ่ม จากตนเองกอ่ นเป็นอนั ดับแรก วินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรม โดยเกิดจากความรู้สึก มองเห็นคุณค่าในการปฏิบัติด้วยตนเอง มิได้เกิดจากอิทธิพล ภายนอก เช่น ระเบยี บ คาส่ัง การบงั คบั ถงึ แมจ้ ะมอี ปุ สรรคไม่สามารถเปล่ียนพฤติกรรมนนั้ ได้ ตัวอยา่ ง แนวทางการเสริมสรา้ งวนิ ยั และความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ระเบียบแถวลูกเสอื การฝึกระเบียบแถว เป็นการฝึกให้ลูกเสือเกิดความพร้อมเพรียง มีระเบียบ วนิ ัย และความสามคั คี รวมทง้ั สามารถฟังและปฏิบตั ติ ามคาสัง่ ได้ การฝึกระเบยี บแถวลูกเสอื มีความมุ่งหมายโดยท่วั ไปเพื่อฝึกให้ลูกเสือเป็นผู้มี ระเบยี บวนิ ยั อนั ดงี าม รู้จักฟังคาบอก คาสั่ง และปฏิบัติตามได้ถูกต้อง มุ่งส่งเสริมให้เกิดความมานะ อดทน ในอันท่บี าเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชนต์ ามลักษณะของลูกเสอื การฝกึ ระเบยี บแถวให้ผล 2 แบบ คอื ทางร่างกายและจิตใจ ในทางร่างกาย เปน็ ผูม้ ีรา่ งกายแข็งแรง มที รวดทรงสมส่วน มีท่าทางองอาจ ผงึ่ ผาย และเปน็ ผมู้ ปี ระสาทตน่ื ตวั สามารถเคลอ่ื นไหวอิรยิ าบถได้คล่องแคล่ว วอ่ งไว ในทางจติ ใจ ฝึกให้เป็นผู้ที่มีอุดมคติในการรักษาเกียรติ วนิ ยั กลา้ หาญ อดทน และมีความเชือ่ มน่ั ในตนเองท่จี ะปฏบิ ตั กิ จิ การในหน้าที่ กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 3 แนวทางการเสรมิ สรา้ งวินยั และความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย (ให้ผู้เรียนไปทากจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 3 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

40 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 6 ลูกเสือ กศน. กบั การพฒั นา สาระสาคัญ การลูกเสือไทย ได้ถือกาเนิดโดยองค์พระมหากษัตริย์ไทย ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งมี ความเจริญรุดหน้าสืบมากว่า 107 ปี อย่างมีคุณค่า และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษากับความมั่นคง มีพระราช ประสงค์เห็นคนไทยมีวินัย รู้หน้าท่ี มีความรับผิดชอบ สร้างวินัยโดยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ดังนั้น สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงาน กศน. ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริม การศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน มีความตระหนักและเห็นคุณค่าของกิจการลูกเสือ ซ่ึงเป็น พระราชมรดกอันล้าค่าย่ิงที่พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานไว้ให้แก่ปวงชนชาวไทย จึงได้น้อมนากิจการลูกเสือ กระบวนการลูกเสือ รวมท้งั เนือ้ หาความรู้ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการลูกเสือมาเป็นหลักในการจัด กิจกรรม ส่งเสริมประสบการณ์ให้ผู้เรียน กศน. ในฐานะที่เป็นลูกเสือ กศน. ให้มีทักษะชีวิต สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนาอุดมการณ์ คาปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือ มาใช้ในชีวิตประจาวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความสง่างามในการ ดารงตนให้เป็นพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ การให้บริการ และบาเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตวั ชี้วดั 1. อธบิ ายความเปน็ มา และความสาคญั ของลูกเสือ กศน. 2. อธบิ ายลกู เสอื กศน. กับการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม 3. อธิบายบทบาทหน้าทข่ี องลูกเสอื กศน. ท่ีมีตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม

41 ขอบข่ายเนื้อหา เร่อื งท่ี 1 ลกู เสอื กศน. 1.1 ความเปน็ มาของลกู เสือ กศน. 1.2 ความสาคัญของลกู เสือ กศน. เรอื่ งที่ 2 ลกู เสอื กศน. กบั การพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและสังคม เร่อื งท่ี 3 บทบาทหน้าท่ีของลูกเสือ กศน. ท่ีมีตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม เวลาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 2 ช่ัวโมง สอื่ การเรยี นรู้ 1. ชดุ วิชาลกู เสือ กศน. รหัสรายวิชา สค12025 2. สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป้ ระกอบชุดวิชา 3. สื่อเสรมิ การเรียนรู้อนื่ ๆ

42 เรื่องท่ี 1 ลกู เสอื กศน. ความเปน็ มาและความสาคญั ของการมีลูกเสอื กศน. การลูกเสือไทย ได้ถือกาเนิดข้ึนโดยองค์พระมหากษัตริย์ไทย และมีความเจริญ รุดหน้าสืบมากว่า 107 ปี อย่างทรงคุณค่า ซึ่งเป็นพระราชมรดกอันล้าค่ายิ่ง ท่ีพระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ได้พระราชทาน ไว้ให้แก่ปวงชนชาวไทย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษากับความมั่นคง มีพระราชประสงค์เห็นคนไทย มวี นิ ัยรหู้ นา้ ทีม่ คี วามรบั ผิดชอบ สรา้ งวินัยโดยกจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี สานักงาน กศน. ได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของกิจการลูกเสือ จึงได้น้อมนา พระบรมราโชบายดังกล่าว มากาหนดเป็นนโยบาย หลักสูตร และแนวทางการปฏิบัติ พร้อมทั้ง สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน กศน. โดยนากระบวนการลูกเสือ เน้ือหาความรู้ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการลูกเสือเป็นหลัก ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมประสบการณ์ให้ผู้เรียน กศน. มีทักษะชีวิต สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนาอุดมการณ์ คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ มาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสง่างามในการดารงตนให้เป็นพลเมืองดี บาเพ็ญประโยชน์ต่อ ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ลูกเสือ กศน. เป็นลูกเสือที่อยู่ในกองลูกเสือวิสามัญของสถานศึกษา สังกัด สานักงาน กศน. จึงต้องมีความพร้อมในการประพฤติปฏิบัติตนตามคติพจน์ของลูกเสือ วิสามัญ คือ “บริการ” ลูกเสือ กศน. ต้องพร้อมและพัฒนาตนเอง ท้ังด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ดา้ นจิตใจ ดา้ นศลี ธรรม และมีความพร้อมในการเป็นผู้นาในการพัฒนาครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 1 ลูกเสอื กศน. (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 1 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา)

43 เรือ่ งที่ 2 ลกู เสือ กศน. กบั การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม ลูกเสือ กศน. เป็นผู้มีความสาคัญต่อการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติเปน็ อย่างยิง่ ดงั น้ัน ลูกเสอื กศน. ทกุ คนพงึ นาอดุ มการณ์ คาปฏิญาณ กฎ และ คติพจน์ของลูกเสือ เป็นหลักในการพัฒนาตนเอง ให้เป็นพลเมืองดีในทัศนะของลูกเสือ และมี จิตอาสาให้ “บริการ” ช่วยเหลือกิจการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน สังคม และสร้างความสัมพันธ์ อนั ดีกบั องค์กร หรอื หนว่ ยงานอน่ื ๆ การพฒั นาตนเอง ในด้านตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. พัฒนาทางด้านความคิดเรื่องศาสนา ซึ่งมีวิธีการแตกต่างกันไปตามศาสนา ท่ตี นนับถือ มุ่งเน้น ยึดมน่ั ในหลกั การของศาสนา เพอื่ ให้บรรลุผลแห่งความจงรักภักดีตอ่ ศาสนา 2. พัฒนาทางด้านความรู้สึกด้านค่านิยม มุ่งเน้นการเอาใจใส่ ระมัดระวังในการ เผชญิ ปญั หา สถานการณป์ จั จุบันเป็นพิเศษ 3. พัฒนาทางด้านร่างกาย มุ่งเน้นการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือเพ่ือให้มีสุขภาพ แข็งแรง 4. พัฒนาทางด้านสติปัญญา มงุ่ เนน้ การทางานอดิเรก การฝีมือ การรู้จักใช้เวลา ให้เป็นประโยชน์ 5. พัฒนาทางด้านสังคม มุง่ เน้นการปฏบิ ัตติ นให้อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ 6. พัฒนาทางด้านการสร้างสมั พันธภาพทางสังคม มุ่งเน้นการทางานเป็นระบบหมู่ ในบทบาทของผู้นา และผู้ตาม 7. พัฒนาทางด้านความรับผิดชอบต่อชุมชน มุ่งเน้นความสาคัญของความ รบั ผดิ ชอบของตนเองทมี่ ตี ่อผู้อื่นดว้ ยการบาเพญ็ ประโยชน์ 8. พฒั นาทางด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นความสนใจในสิ่งแวดล้อม และอนรุ ักษ์ธรรมชาติ การพฒั นาชุมชน สงั คม ในด้านตา่ ง ๆ เช่น 1. การเป็นพลเมืองดี และการใช้สิทธิเลือกตัง้ (ลูกเสือ กกต.) 2. การดแู ลรักษาและอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม (ลกู เสอื อนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม) 3. การสร้างความตระหนักถงึ โทษและพษิ ภยั ของยาเสพตดิ (ลูกเสอื ยาเสพติด) 4. การปอ้ งกนั และช่วยเหลอื เม่ือประสบเหตุ (ลกู เสอื บรรเทาสาธารณภยั ) 5. การชว่ ยอานวยความสะดวกด้านการจราจร (ลูกเสอื จราจร)

44 6. การร่วมเฝ้าระวัง ป้องกัน ข้อมลู ข่าวสารทีเ่ ปน็ ภัยออนไลน์ (ลูกเสือไซเบอร์) 7. การเสรมิ สร้างทัศนคติ คา่ นิยม ความซื่อสตั ยส์ ุจริต (ลูกเสือชอ่ สะอาด) 8. การอนรุ ักษข์ นบธรรมเนยี มประเพณีไทย ใหค้ วามรู้สืบไป (ลกู เสือวฒั นธรรม) 9. การป้องกันการทารุณกรรมตอ่ สตั ว์ (ลูกเสือสวสั ดภิ าพสตั ว)์ 10. การช่วยดูแล ป้องกันอนุรักษป์ า่ ไม้ (ลกู เสอื ปา่ ไม้) 11. การสร้างความมีระเบยี บวินัยต่อตนเอง ร้จู ักสามัคคใี นหม่คู ณะและส่วนรวม (ลูกเสอื รฐั สภา) 12. การปอ้ งกันไม่ให้เกดิ ความรุนแรง ลดความเหลอื่ มล้า (ลกู เสือสนั ติภาพ) 13. การสร้างโอกาสทางเลอื กใหก้ บั ชีวิต (ลกู เสอื สาหรับผดู้ ้อยโอกาส) ลูกเสือ กศน. สามารถเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว หรือคิดรูปแบบกิจกรรม/ โครงการขน้ึ มาเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 ลูกเสอื กศน. กับการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและสังคม (ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า) เรือ่ งท่ี 3 บทบาทหนา้ ทข่ี องลูกเสอื กศน. ทม่ี ตี ่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม ลูกเสือ กศน. มีบทบาทหน้าท่ีในการพัฒนาตนเอง ซึ่งเน้นการพัฒนาความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะที่ทันต่อสภาพความจาเป็น ตามความก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลง ของสังคม เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ดังนั้น การพัฒนาตนเอง จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ถึงความสาคัญของการพัฒนาในด้านต่าง ๆ รู้วิธีการวางแผนพัฒนาตนเอง ในบทบาทของผู้นา และผตู้ าม ผเู้ รียน กศน. ที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือ กศน. เริ่มต้นด้วยการแสวงหาความรู้ท่ัวไป ท่ีเก่ียวกับทักษะการดารงชีวิต โดยใช้กระบวนการคิดเป็น ความรู้ทั่วไปท่ีเกี่ยวกับทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจแก้ปัญหา และเข้าพิธีประจากองลูกเสือ วิสามัญ โดยผู้กากับกองลูกเสือวิสามัญ จะเป็นผู้ประกอบพิธีประจากองให้แก่ลูกเสือ กศน. ให้ลูกเสือ กศน.แต่งเคร่ืองแบบลูกเสือวิสามัญ มาพร้อมกันที่ คูหาลูกเสือวิสามัญ (Rover Den) หรือสถานที่นัดหมายอ่ืนที่เหมาะสม เพ่ือทบทวนหลักการ การเป็นพลเมืองดีในทัศนะของลูกเสือ

45 พิจารณาคติพจน์ คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือทั้ง 10 ข้อ ท่ีจะนาสู่การปฏิบัติตนเป็นคนดี สารวจตวั เอง และเขา้ พิธปี ระจากองตามลาดบั การปฏิบัติตนตามคติพจน์ของลูกเสือ กศน. คือ “บริการ” ซ่ึงเป็นเสมือนหัวใจ ของลูกเสือ กศน. ท่ีจะต้องยึดมั่นในการเสียสละด้วยการบริการ แต่การบริการน้ีมิได้หมายถึง เปน็ ผ้รู บั ใชห้ รอื คนงาน การบริการในความหมายของการลูกเสือนี้ เรามุ่งท่ีจะอบรมบ่มนิสัยและ จิตใจให้ได้รู้จักเสียสละ ได้รู้จักวิธีหาความรู้และประสบการณ์ ที่เป็นประโยชน์ในอนาคตและ ในทสี่ ุดก็จะทาใหส้ ามารถประกอบอาชพี โดยปกตสิ ขุ ในสังคม การบริการ หมายถึง การประกอบคุณประโยชน์ให้แก่มนุษยชาติ ด้วยการถือว่า เป็นเกียรติประวัติสูงสุดแห่งชีวิตของเรา ในการที่รู้จักเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อบาเพ็ญ ประโยชน์แก่ผู้อ่ืน เพ่ือจุดมุ่งหมายให้สังคมสามารถดารงอยู่ได้โดยปกติ เป็นการสอนให้ลูกเสือ วิสามัญต้ังตนอยู่ในศีลธรรมไม่เอาเปรียบผู้ที่ยากจนหรือด้อยกว่า นอกจากนั้นการบริการแก่ผู้อื่น เปรียบเสมือนเป็นการชาระหนี้ที่ได้เกิดมาแล้ว อาศัยอยู่ในโลกนี้ด้วยความมุ่งหวังจะให้ทุกคน เข้าใจในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม มองเห็นความจาเป็นของสังคมว่าไม่มีใครสามารถ ดารงชีวิตอยูไ่ ดโ้ ดยลาพัง ทกุ คนจาเป็นตอ้ งพงึ่ พาอาศัยกนั ไม่วา่ ด้านอาหารการกิน ด้านเคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยอู่ าศัย ยารกั ษาโรค หรอื อน่ื ๆ ลูกเสือ กศน. พึงนาคาปฏิญาณ กฎ และคติพจน์ของลูกเสือ มาเป็นแนวทาง การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม ดังน้ี 1. พัฒนาทางกาย พัฒนาทางด้านร่างกาย มุ่งเน้นการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เพ่ือใหม้ สี ขุ ภาพแขง็ แรง 2. พัฒนาทางสติปัญญา พัฒนาทางด้านสติปัญญา มุ่งเน้นการทางานอดิเรก การฝีมือ การร้จู ักใช้เวลาให้เปน็ ประโยชน์ 3. พัฒนาทางจิตใจศีลธรรม พัฒนาทางด้านความคิดเร่ืองศาสนา ซ่ึงมีวิธีการ แตกต่างกันไป ตามศาสนาท่ีตนนับถือ มุ่งเน้นยึดมั่นในหลักการของศาสนา เพ่ือให้บรรลุผล แหง่ ความจงรักภักดตี อ่ ศาสนา 4. พัฒนาในเรื่องสร้างค่านิยมและเจตคติ พัฒนาทางด้านความรู้สึกด้านค่านิยม มุง่ เน้นการเอาใจใส่ ระมัดระวงั ในการเผชญิ ปญั หา สถานการณ์ปัจจุบันเปน็ พิเศษ 5. พัฒนาทางสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มุ่งเน้นการปฏิบัติตนให้อยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสขุ

46 6. พัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม สร้างสัมพันธภาพทางสังคม มุ่งเน้นการทางาน เปน็ ระบบหมู่ ในบทบาทของผนู้ า และผูต้ ามที่ดี 7. พัฒนาสัมพันธภาพต่อชุมชน มีความรับผิดชอบต่อชุมชน มุ่งเน้นความสาคัญ ของความรับผิดชอบของตนเองที่มีต่อผู้อน่ื ดว้ ยการบาเพญ็ ประโยชน์ 8. พัฒนาทางด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นความสนใจในส่ิงแวดล้อม และอนุรกั ษธ์ รรมชาติ กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 บทบาทหน้าทข่ี องลูกเสอื กศน. ทมี่ ตี อ่ ตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คม (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 ที่สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า)

47 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ลกู เสอื กศน. กบั จิตอาสา และการบริการ สาระสาคญั จากคาปฏิญาณของลูกเสือท่ีว่า “ข้าจะช่วยเหลือผู้อ่ืนทุกเมื่อ”ลูกเสือ กศน. ซ่ึงเป็นลูกเสือวิสามัญและยึดถือคติพจน์ว่า “บริการ” จึงเป็นผู้ท่ีมีจิตอาสา คือ ผู้ที่ไม่นิ่งดูดาย เป็นผู้เอาใจใส่ และเป็นผู้มีจิตสานึก มีความพร้อมท่ีจะเสียสละเพื่อส่วนรวม โดยการประพฤติ ปฏิบัติตน มีความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และพฤติกรรม ยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อ่ืน เคารพสิทธิของผู้อื่น ตลอดจนเต็มใจที่ช่วยเหลือและบริการผู้อ่ืน โดยไมห่ วังผลตอบแทน ตวั ชี้วัด 1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของจติ อาสา และการบริการ 2. อธบิ ายหลักการของจิตอาสา และการบรกิ าร 3. อธิบายและนาเสนอวธิ ีการปฏิบัตติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพอื่ เปน็ จติ อาสา และการบริการ ขอบข่ายเน้อื หา เรอ่ื งที่ 1 จิตอาสา และการบริการ 1.1 ความหมายและความสาคญั ของจติ อาสา 1.2 ความหมายและความสาคญั ของการบริการ เรอ่ื งท่ี 2 หลกั การของจิตอาสา และการบรกิ าร 2.1 หลกั การของจิตอาสา 2.2 หลักการของการบริการ เรื่องท่ี 3 วธิ กี ารปฏบิ ตั ิตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพือ่ เปน็ จติ อาสา และการบริการ เวลาทใ่ี ช้ในการศึกษา 5 ช่ัวโมง

48 ส่ือการเรียนรู้ 1. ชุดวชิ าลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค12025 2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชดุ วิชา 3. สื่อเสรมิ การเรียนร้อู ื่น ๆ

49 เรื่องที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร 1.1 ความหมายและความสาคญั ของจติ อาสา จิตอาสา หมายถึง จิตสานึกเพื่อส่วนรวมของคนท่ีรู้จักความเสียสละ เอาใจใส่ เป็นธุระ ใหค้ วามร่วมมือรว่ มใจในการทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม เพ่ือช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต และปรารถนาทจี่ ะช่วยลดปญั หาท่ีเกิดข้นึ ในสังคม ดว้ ยการสละเวลา การลงแรง และสร้างสรรค์ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ แก่สงั คม และประเทศชาติ จิตอาสา มีความสาคัญต่อการตระหนักรู้ และแสดงออก เพ่ือทาประโยชน์แก่สังคม ตลอดจนการช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม สาธารณะสมบัติ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ตกทกุ ขไ์ ด้ยาก หรือผู้ทร่ี ้องขอความช่วยเหลอื โดยใช้คุณธรรมเป็นหลัก 1.2 ความหมายและความสาคญั ของการบรกิ าร บริการ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือ หรือการบาเพ็ญประโยชน์ต่อตนเอง ต่อผู้อ่ืนและต่อชุมชน ลูกเสือจะต้องมีความศรัทธาในคาว่า “บริการ” และลงมือปฏิบัติเรื่องน้ี อย่างจริงจัง ด้วยความจริงใจและมีทักษะหรือความสามารถในการให้บริการน้ันด้วยความ ชานาญ ว่องไว คอื ไวใ้ จได้ หรือเช่อื ถอื ได้ ความสาคัญของการบริการ เป็นหัวใจสาคัญของลูกเสือ กศน. ซ่ึงต้องพัฒนาจิตใจ ให้อยู่ในศีลธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้ที่ยากจนหรือด้อยกว่า ให้รู้จักการเสียสละความสุขส่วนตัว เพ่ือบาเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อ่ืน เพื่อจุดมุ่งหมายให้สังคมสามารถดารงอยู่ได้โดยปกติ ถือว่าเป็น เกยี รติประวตั ิสงู สดุ ของชีวิต กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 จิตอาสา และการบริการ (ให้ผ้เู รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 1 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา) เรอ่ื งที่ 2 หลกั การของจิตอาสา และการบริการ 2.1 หลกั การของจติ อาสา หลักการของจิตอาสา มีท่ีมาจากการพัฒนาตนเองให้มีจิตสานึกท่ีดี มีน้าใจ การที่คนมาอยู่ร่วมกนั เป็นสังคม ยอ่ มตอ้ งการพึ่งพากนั โดย 1. การกระทาของตนเอง ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อส่วนรวม เช่น การมีวินัยในตนเอง การควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรม การเชอ่ื ฟงั คาสง่ั เปน็ ตน้

50 2. บทบาทของตนท่ีมีตอ่ สงั คมในการรักษาประโยชนข์ องส่วนรวม เพื่อแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ซึ่งถือว่าเป็นความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เช่น การเคารพสิทธิผู้อ่ืน การรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ ืน่ การชว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื เป็นตน้ 2.2 หลกั การของการบรกิ าร หลักการของการบรกิ าร มีดังนี้ 1. ให้บริการดว้ ยความสมัครใจ เต็มใจท่จี ะใหบ้ ริการ 2. ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ คือ มีทักษะในการบริการ เช่น การปฐมพยาบาล เทคนคิ ในการชว่ ยชีวติ เปน็ ตน้ 3. ให้บริการแก่ผู้ท่ีต้องการรับบริการ เช่น คนท่ีกาลังจะจมน้า ผู้ที่ถูกทอดทิ้ง คนชรา คนป่วยและผ้ไู ม่สามารถชว่ ยตนเองได้ เป็นตน้ 4. ให้บริการด้วยความองอาจ ต้ังใจทางานให้เสร็จด้วยความมั่นใจ ด้วยความ รับผิดชอบ โดยใช้ความรู้ท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง อุทิศให้แก่งานอย่างจริงจัง ในขณะนั้น รู้จักแบ่งเวลา แบ่งลักษณะงาน มีความมุมานะในการทางาน ให้เป็นผลสาเร็จตาม เปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 หลกั การของจิตอาสา และการบริการ (ให้ผเู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา) เร่อื งที่ 3 วิธีการปฏิบตั ติ นในฐานะลูกเสือ กศน. เพื่อเปน็ จติ อาสาและการบริการ การปฏิบัติตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพื่อเป็นจิตอาสาและการบริการ ต้องมี ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง และความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ดังนี้ ความรับผิดชอบต่อตนเอง เป็นผู้มีจิตสานึกในความรับผิดชอบต่อตนเอง ซงึ่ นับวา่ เป็นพ้ืนฐานของความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม มดี ังน้ี 1. ต้งั ใจศึกษาเล่าเรียนหาความรู้ 2. รู้จักการออกกาลังกาย เพอื่ ให้มสี ขุ ภาพร่างกายที่แข็งแรง 3. มีความประหยดั รจู้ กั ความพอดี 4. ประพฤติตัวใหเ้ หมาะสม ละเวน้ การกระทาทีก่ อ่ ใหเ้ กิดความเสอ่ื มเสีย 5. ทางานทร่ี ับมอบหมายให้สาเรจ็ 6. มคี วามรบั ผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึง่ พาตนเองได้

51 ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม เป็นการชว่ ยเหลือสงั คม ไม่ทาให้ผูอ้ น่ื หรอื สังคม เดอื ดรอ้ นได้รบั ความเสียหาย ได้แก่ 1. มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว เช่น เช่ือฟังพ่อแม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไม่ทา ใหพ้ อ่ แมเ่ สียใจ 2. มีความรับผิดชอบต่อสถานศึกษา ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เชื่อฟัง คาส่ังสอนของครูอาจารย์ ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของสถานศึกษา ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติ ของสถานศกึ ษา 3. มีความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่น เช่น ให้ความช่วยเหลือ ให้คาแนะนา ไม่เอา เปรียบผู้อ่ืน เคารพสิทธิซ่ึงกันและกนั 4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบัตติ ามกฎหมาย รกั ษาสมบตั ิของส่วนรวม ให้ความรว่ มมอื ต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพ่ือการบรกิ าร ตอ้ งตระหนกั ในสง่ิ ต่อไปน้ี 1. บริการแก่ตนเองก่อน เป็นการเตรียมตนเองให้พร้อมที่จะให้บริการตนเอง ก่อน ทั้งในด้านการเงิน สุขภาพ เวลาว่าง สติปัญญา ฯลฯ หากยังไม่มีความพร้อม ก็ไม่อาจ ให้บริการแก่ผู้อ่ืนได้ หรือได้ก็ไม่ดีเท่าท่ีควร เพราะตราบใดท่ีเรายังต้องขอความช่วยเหลือจากผู้อ่ืน หรือตอ้ งอยู่ภายใต้การโอบอ้มุ ค้าชขู องผูอ้ น่ื ต้องขอให้ผู้อื่นช่วยเหลือเรา แสดงว่าเรายังไม่พร้อม ฉะนน้ั ลกู เสือ กศน. ต้องเตรียมตัวใหพ้ ร้อมเพือ่ การบรกิ าร 2. บริการแก่หมู่คณะ เม่ือฝึกบริการตนเองแล้ว ต้องขยายการให้บริการแก่หมู่คณะ ในการหาประสบการณ์ หรือความชานาญ ด้วยการบริการเป็นรายบุคคล บริการแก่ครอบครัว บริการแก่บุคคลใกล้ชิด อันเป็นส่วนรวม ลูกเสือ กศน. ทุกคนควรมีประสบการณ์ภาคปฏิบัติ ในการเปน็ อาสาสมัครชว่ ยเหลือหมคู่ ณะดว้ ยการปฏิบัติตนให้เป็นคนสนุกสนาน ร่าเริง เป็นมิตร กบั คนทกุ คน ซื่อสตั ย์สจุ ริต มกี รยิ าสุภาพ และใช้วาจาสภุ าพไม่หยาบโลน 3. บรกิ ารแกช่ ุมชน เมื่อฝึกบริการแก่ตนเอง และบริการแก่หมู่คณะแล้ว สมควร ท่ีจะไปบริการแก่ชุมชนตามสติปัญญา ประสบการณ์ และความสามารถแนวคิดในการบริการ แก่ชมุ ชน คือ การชาระหนี้แกช่ มุ ชนดว้ ยการร่วมมอื เสียสละรว่ มกัน เพื่อดาเนินการจัดกิจกรรม อันเป็นสาธารณะประโยชน์ เช่น การพัฒนาอาคาร สถานที่ บ้านเมืองในชุมชนนั้น การสร้าง สาธารณสถาน เช่น ทาความสะอาด การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ การควบคุมการจราจร การดับเพลิง การจัดงานรื่นเริง งานสังคม เพื่อประโยชน์ของสังคมน้ัน ๆ ซ่ึงจะทาให้ลูกเสือ กศน.

52 ไดป้ ระสบการณ์จากชวี ิตจริง สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมท่ีอาศัยอยู่ได้ สามารถประกอบอาชีพ ได้โดยปกติสุข เพราะได้รับการฝึกให้รู้จักเสียสละ เพื่อบริการแก่ชุมชนหรือสังคม โดยไม่ได้เอารัด เอาเปรียบหรือเหน็ แกไ่ ด้ กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นในฐานะลกู เสือ กศน. เพื่อเปน็ จิตอาสาและการบริการ (ใหผ้ เู้ รียนไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา)

53 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 8 การเขยี นโครงการเพือ่ พัฒนาชมุ ชนและสงั คม สาระสาคัญ ลูกเสอื กศน. ไดร้ ับการพัฒนาตนเองใหเ้ ปน็ ผูม้ ีจิตอาสา มีความเสียสละ บาเพ็ญ ประโยชน์เพื่อชุมชนและสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน มีความพร้อมในการให้ “บริการ” แก่ผอู้ นื่ ด้วยความเตม็ ใจ งานบริการที่ลูกเสือ กศน. สามารถนามาเขียนในลักษณะของโครงการเพื่อพัฒนา ชุมชนและสังคม เช่น โครงการบริการชุมชน โครงการจิตอาสา โครงการพัฒนาส่ิงแวดล้อม โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โครงการพัฒนาอาชีพในชุมชน โครงการช่วยเหลือเด็ก ผู้สูงอายุ คนพกิ ารในชุมชน เป็นตน้ การเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคม ควรเร่ิมต้นด้วยการสารวจสภาพ ชุมชน และนามาคิดวิเคราะห์ แยกแยะอย่างรอบคอบ มีเร่ืองใดบ้างที่ลูกเสือ กศน. สามารถ ให้บริการ หรือมีส่วนร่วมในการปรับปรุง หรือพัฒนาให้ดีข้ึนตามข้ันตอน เป็นเหตุเป็นผล มีความน่าเชื่อถือ ควรมีการกาหนดองค์ประกอบของการเขียนโครงการที่ชัดเจน ต้ังแต่ ช่ือโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน ระยะเวลา การดาเนินงานต้ังแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ งบประมาณ สถานท่ีดาเนินการ ผู้รับผิดชอบ โครงการ ผลหรอื ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ ับ และการประเมนิ ผล ลูกเสือ กศน. ท่ีเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องไปดาเนินงานทุกขั้นตอนทีไ่ ด้กาหนดไวใ้ นโครงการ และสรุปผลการดาเนินงานตามโครงการ เพ่ือนาผลการดาเนินงานตามโครงการไปนาเสนอในกจิ กรรมเข้าค่ายพกั แรม ตวั ช้วี ัด 1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของโครงการ 2. อธบิ ายลักษณะของโครงการ 3. อธิบายองค์ประกอบของโครงการ 4. เขยี นโครงการตามข้ันตอนการเขยี นโครงการ 5. อธบิ ายขนั้ ตอนการดาเนินงานตามโครงการ 6. อภิปรายและสรุปรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการเพื่อการนาเสนอ

54 ขอบขา่ ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 โครงการเพอื่ พฒั นาชุมชนและสังคม 1.1 ความหมายของโครงการ 1.2 ความสาคัญของโครงการ เรื่องที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ เรื่องที่ 3 องคป์ ระกอบของโครงการ เรื่องที่ 4 ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการ เร่ืองที่ 5 การดาเนินการตามโครงการ เรอ่ื งที่ 6 การสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการเพ่อื การนาเสนอ เวลาท่ใี ช้ในการศกึ ษา 10 ช่ัวโมง สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชดุ วิชาลกู เสือ กศน. รหสั รายวิชา สค12025 2. สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนร้ปู ระกอบชดุ วิชา 3. สือ่ เสรมิ การเรียนรู้อืน่ ๆ

55 เรือ่ งที่ 1 โครงการเพอ่ื พฒั นาชมุ ชนและสงั คม ความหมายและความสาคญั ของโครงการ 1.1 ความหมายของโครงการ โครงการ หมายถึง กระบวนการทางานที่ประกอบไปด้วยหลาย ๆ กิจกรรม ซ่ึงมีการทา โครงการเป็นตามข้ันตอน ความจาเป็น มีการกาหนดวัตถุประสงค์ มีเป้าหมาย ระยะเวลา สถานท่ี วิธีดาเนินการ งบประมาณ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ รวมทั้งการประเมินผลการดาเนินงาน ตามโครงการ 1.2 ความสาคญั ของโครงการ มดี ังน้ี 1. ช่วยให้การดาเนินการสอดคล้องกับนโยบาย หรือความต้องการของ ผูร้ ับผิดชอบหรือหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง 2. ชว่ ยให้การดาเนนิ งานนั้นมที ศิ ทางทช่ี ัดเจน และมปี ระสิทธภิ าพ 3. ช่วยช้ใี ห้เหน็ ถงึ สภาพปัญหาของชมุ ชนที่จาเป็นตอ้ งให้บรกิ าร 4. ชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ตั งิ าน สามารถดาเนินงานได้ตามตามแผนงาน 5. ช่วยให้แผนงานมีความชัดเจน โดยคณะกรรมการ หรือบุคคลที่เก่ียวข้อง มคี วามเข้าใจและรับรูส้ ภาพปัญหาร่วมกนั 6. ช่วยให้แผนงานมีทรัพยากรใช้เพียงพอ เหมาะสาหรับการปฏิบัติงานจริง เพราะโครงการมีรายละเอยี ดเพียงพอ 7. ช่วยลดความขัดแย้ง และขจัดความซ้าซ้อนในหน้าท่ีรับผิดชอบของกลุ่ม บุคคลหน่วยงาน เพราะโครงการจะมผี รู้ ับผิดชอบเปน็ การเฉพาะ 8. เสริมสร้างความเข้าใจอันดี และรับผิดชอบร่วมกัน ตามความรู้ ความสามารถ ของแตล่ ะบุคคล 9. สร้างความม่ันคงให้กับแผนงาน และผู้รับผิดชอบมีความมั่นใจในการทางาน มากขนึ้ 10. ช่วยให้งานดาเนนิ การไปสเู่ ปา้ หมายได้เรว็ ข้นึ กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 โครงการเพอื่ พัฒนาชุมชนและสังคม (ให้ผเู้ รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 1 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา)

56 เร่อื งที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ โครงการเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของแผนพัฒนาทุกระดับ ลักษณะของ โครงการตอ้ งมจี ดุ มุ่งหมาย มเี ป้าหมายการปฏบิ ตั งิ านที่มรี ะยะเวลาดาเนนิ การชัดเจน ระบุความ ตอ้ งการ งบประมาณ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีการคาดการณ์ผลที่จะเกิดข้ึนเม่ือการดาเนินงาน โครงการเสรจ็ ประเภทของโครงการ มดี ังน้ี 1. โครงการที่มรี ะยะเวลาเป็นตัวกาหนด ไดแ้ ก่ 1.1 โครงการระยะสั้น หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาการดาเนินงาน หรอื กาหนดเวลาดาเนนิ การ ไม่เกนิ 2 ปี 1.2 โครงการระยะปานกลาง หมายถงึ โครงการที่มีระยะเวลาการดาเนินงาน หรือกาหนดเวลาดาเนนิ การ ต้ังแต่ 2 - 5 ปี 1.3 โครงการระยะยาว หมายถึง โครงการท่ีมีระยะเวลาการดาเนินงาน หรอื กาหนดเวลาดาเนนิ การ ตง้ั แต่ 5 ปี ขึน้ ไป 2. โครงการท่ีมีลักษณะงานเป็นตัวกาหนด ไดแ้ ก่ 2.1 โครงการเดิม หรือโครงการต่อเนื่อง คือ โครงการที่มีลักษณะต่อเน่ือง จากปที ผี่ า่ นมา อาจเป็นโครงการท่ีไม่สามารถดาเนินการให้แล้วเสร็จได้ในปีเดียว หรือโครงการ ที่ต้องมีการดาเนินงานต่อเน่ือง หรือต่อยอด ขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ได้ เช่น ปีท่ีผ่านมา ได้มีการจัดอบรม “ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สาหรับ นักศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น” ในปีการศึกษา 2559 ซึ่งในปี 2560 ก็อาจมีการดาเนินงาน โครงการในลักษณะเดียวกันแต่เน้นการขยายผลจานวนกลุ่มเป้าหมายให้เพ่ิมมากขึ้น เม่ือเทียบกับ ผลการดาเนนิ งานในปีก่อนหน้า โดยใชว้ ธิ ีการดาเนินงานโครงการตามรูปแบบเดิม 2.2 โครงการใหม่ คือ โครงการท่จี ัดทาข้ึนใหม่ กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรื่องที่ 2 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา)

57 เร่อื งท่ี 3 องค์ประกอบของโครงการ การเขียนโครงการท่ีเปน็ ไปตามลาดบั ขั้นตอน เปน็ เหตุ เปน็ ผล และน่าเชอื่ ถอื ควรมกี ารกาหนดองคป์ ระกอบของการเขยี นโครงการ ไวด้ งั นี้ 1. ช่ือโครงการ : ชอ่ื โครงการอะไร 2. หลกั การและเหตผุ ล : เหตุผลทาไมตอ้ งทาโครงการ 3. วัตถปุ ระสงค์ : ทาโครงการน้ีทาไปเพอื่ อะไร 4. เป้าหมาย : ปรมิ าณเท่าใด ทากบั ใคร จานวน เท่าใด 6. วทิ ยากร (ถา้ มี) : ระบุว่าใครเป็นผใู้ หค้ วามรู้ (ใชเ้ ฉพาะโครงการอบรม) 5. วิธดี าเนนิ การ : โครงการน้ีทาอย่างไร ดาเนนิ การ อย่างไร 6. ระยะเวลาดาเนนิ การ : จะทาเมื่อใดและนานแคไ่ หน 7. สถานท่ดี าเนนิ การ : จะทาทีไ่ หน 8. งบประมาณและทรพั ยากรอ่ืน ๆ : ระบวุ ่าใช้ทรัพยากรอะไร มีคา่ อะไรบ้าง 9 ผู้รับผิดชอบโครงการ : ใครเป็นคนทาโครงการ 10. หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง : ระบุว่าประสานกับหน่วยงานใดบ้าง 11. การประเมนิ ผล : จะใช้วิธีการใดทที่ าใหร้ ู้ว่า โครงการ ประสบความสาเร็จ 12. ผลที่คาดว่าจะได้รบั : จะเกิดอะไรขน้ึ เม่อื สิ้นสุดโครงการ 13. ผู้ประสานงานโครงการ : ระบุว่าใครเป็นผ้ปู ระสานงานโครงการ กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 องค์ประกอบของโครงการ (ใหผ้ เู้ รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)

58 เร่อื งที่ 4 ข้นั ตอนการเขยี นโครงการ ขัน้ ตอนการเขยี นโครงการ มดี ังน้ี 1. สารวจชุมชนและสงั คม เปน็ การศึกษาข้อมูลเก่ียวกับลักษณะสภาพปัญหาต่าง ๆ ท่ีมอี ยใู่ นชุมชน เพ่อื นาข้อมลู เหลา่ น้ันมาวเิ คราะห์และกาหนดแนวทางการพัฒนา การแก้ปัญหา โดยการศึกษา สภาพ ปัญหา และสาเหตุของปัญหา เพ่ือหาวิธีการคิดค้น วิธีการพัฒนาและ สาเหตุของปัญหา โดยใช้วิธีการสารวจข้อมูลท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การศึกษาภูมิหลัง ของชมุ ชน การสัมภาษณ์ การสอบถาม การทาเวทีประชาคม ฯลฯ เป็นตน้ 2. ตรวจสอบข้อมูล หลังจากที่มีการสารวจข้อมูลชุมชนและนาข้อมูลมาสรุป เรยี บร้อยแล้ว เพื่อความถูกต้อง ชัดเจนของข้อมูลดังกล่าว ควรจัดให้มีเวทีเพ่ือการตรวจสอบข้อมูล โดยกลมุ่ เปา้ หมายที่ใหข้ ้อมูลท่ีสารวจมาไดม้ คี วามถูกตอ้ งสมบูรณย์ ่ิงขึน้ 3. นาข้อมูลท่ีได้หลังจากตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว มาวิเคราะห์ พร้อมจัดลาดับ ความสาคัญ เพ่ือจาแนกความสามรถในการจดั ทาโครงการ 4. การกาหนดแนวทางการดาเนินงานเพ่ือพฒั นาและแกป้ ัญหาชุมชนและสงั คม เม่อื ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้สารวจชมุ ชนและสงั คม ดาเนนิ การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาของชุมชน และสังคม นาผลสรุปการวิเคราะห์สภาพปัญหาชุมชนและสังคมมากาหนดแนวทางการ ดาเนินงาน เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชนและสังคมว่ามีสภาพปัญหาเป็นอย่างไร มีความต้องการ อย่างไร แล้วจึงกาหนดแนวทางแก้ไขตามสภาพปัญหานั้น หรือเขียนแนวทางเพื่อสนอง ความต้องการของชุมชนและสงั คมนนั้ ๆ ควรเขยี นในลักษณะของโครงการ เพื่อดาเนนิ การ ในการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชนและสังคม ควรขอความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงานท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับเรื่องท่ีจะดาเนินการแก้ไขปัญหา หรือพฒั นา ได้เข้ามารว่ มในการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน หรอื รว่ มกันเขยี นโครงการด้วย 5. การเขียนและเสนอขออนุมัติโครงการ การเขียนโครงการ ผู้เขียนโครงการ ต้องนาข้อมูลจากการศึกษาสภาพปัญหาของชุมชนและสังคม และข้อมูลที่ได้จากการกาหนด แนวทางการดาเนินงานมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการเขียนโครงการ ซึ่งการเขียนโครงการ ควรเขยี นใหเ้ ป็นไปตามรูปแบบขององคป์ ระกอบการเขยี นโครงการ (ดังตวั อย่าง)

59 ตวั อย่างโครงการ 1. ช่อื โครงการโครงการเพลินคิด จิตอาสา ปลกู ป่าชายเลน 2. หลักการและเหตผุ ล ป่าชายเลน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญและมีคุณประโยชน์อย่าง ใหญ่หลวงตอ่ ระบบนิเวศนท์ างทะเลและตอ่ ชวี ิตความเป็นอยู่ของเรา เพราะธรรมชาติ เป็นแหล่ง สาคัญสาหรับการดารงชีวิต ป่าชายเลนเป็นพืชท่ีข้ึนอยู่บริเวณชายฝ่ังทะเล ปากแม่น้า หรือ ปากอ่าวซึ่งเป็นบริเวณที่มีน้าทะเลท่วมถึงในช่วงท่ีมีน้าทะเลข้ึนสูงสุดประกอบไปด้วยพันธ์ไม้ สกุลไม้โกงกาง เช่น โกงกาง แสม เป็นพืชที่มีรากท่ีหย่ังลึกแข็งแรงและแผ่บริเวณกว้างขวาง ลักษณะเช่นนี้ จะช่วยป้องกันลมพายุทางทะเล ไม่ให้พัดทาลายที่อยู่อาศัยและพื้นท่ีทากิน ของประชาชนแถบชายทะเลและเป็นที่อนุบาลสัตว์น้าทะเล เราจึงเรียนรู้ที่จะเข้าใจธรรมชาติ อนรุ ักษ์ และใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ หเ้ กดิ ประโยชนม์ ากทส่ี ดุ ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี มีความตระหนักว่า ป่าชายเลนมีคุณประโยชน์ มากมาย ซ่ึงนับวันจะลดปริมาณลงเรื่อย ๆ จนทาให้เกิดผลกระทบต่อสัตว์น้า ซึ่งใช้ป่าชายเลน เป็นที่อยู่อาศัย และเพาะพันธ์สัตว์อ่อน จึงจัดทาโครงการ เพลินคิด จิตอาสา ปลูกป่าชายเลน เพื่อสร้างจิตสานึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความสามัคคี ให้เกิดขึ้นแก่ลูกเสือ กศน. อาเภอเมอื งจันทบุรี 3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพอื่ สรา้ งจิตสานึกการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ 3.2 เพอ่ื สรา้ งความสามัคคี ให้เกดิ ขนึ้ 3.3 เปน็ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมประเภทป่าชายเลน 4. เป้าหมาย 4.1 เชงิ ปรมิ าณ ลกู เสือ กศน. อาเภอเมอื งจนั ทบรุ ี จานวน 30 - 60 คน

60 4.2 เชงิ คุณภาพ ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการ อนุรักษ์ป่าชายเลนและนามาปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มีจิตสานึกในการช่วยกันรักษาป่าชายเลน และชว่ ยฟ้ืนฟูสภาพปา่ ชายเลนให้กลบั มามีความอดุ มสมบูรณ์ 5. วิธดี าเนนิ การ 5.1 ขออนมุ ตั ิโครงการฯ 5.2 ติดต่อประสานงานศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนอ่าวคุ้งกระเบน อาเภอท่าใหม่ จงั หวัดจันทบุรี และสถานพี ฒั นาปา่ ชายเลนที่ 2 ลมุ่ นา้ เวฬุ อาเภอขลงุ จังหวดั จนั ทบุรี 5.3 รับฟังบรรยายเรือ่ งการอนุรกั ษป์ ่าชายเลนและการปลูกป่าชายเลนอย่างถูกวธิ ี 5.4 ลกู เสอื กศน. อาเภอเมืองจนั ทบุรี ปลกู ปา่ ชายเลน คนละ 10 ตน้ 6. ระยะเวลาศึกษาโครงการ วนั เสาร์ ที่ 28 กรกฎาคม 2561 7. สถานท่ีดาเนินการ บริเวณป่าชายเลน ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื งจันทบรุ ี จังหวดั จนั ทบุรี 8. งบประมาณ ใชเ้ งนิ บรจิ าค จานวน 3,000 บาท 9. ผรู้ บั ผิดชอบ ลกู เสอื กศน. อาเภอเมอื งจันทบุรี 10. หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง 10.1 ศูนยศ์ ึกษาธรรมชาติป่าชายเลนอ่าวคุ้งกระเบน อาเภอท่าใหม่ จังหวัดจนั ทบุรี 10.2 สถานีพฒั นาปา่ ชายเลนที่ 2 ลุ่มน้าเวฬุ อาเภอขลงุ จงั หวัดจนั ทบุรี 11. การประเมนิ ผล 11.1 การสังเกต 11.2 การสมั ภาษณ์ 12. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 12.1 ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี มีความสามัคคีในหมู่คณะและเห็นความสาคัญ ของป่าชายเลนมากขึน้ 12.2 ได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนเป็นอย่างดี ทรัพยากรจะมีความอุดมสมบูรณ์ 12.3 ได้ความรู้และวิธีปลกู ป่าชายเลนท่ถี กู ตอ้ งและป่าชายเลนมคี วามอดุ มสมบรู ณม์ ากข้ึน

61 13. ผปู้ ระสานงานโครงการ นางนันทิยา หากหุ ลาบ หัวหนา้ นายหมู่ลกู เสอื กศน. อาเภอเมอื งจันทบุรี โทร 089-7443982 ลงชอื่ .......................................... ผู้เสนอโครงการ (นางนนั ทยิ า หากหุ ลาบ) หัวหน้านายหมู่ลูกเสอื กศน. อาเภอเมืองจนั ทบรุ ี ลงชือ่ ........................................ ท่ปี รกึ ษาโครงการ (นายศรัณยพงศ์ ขตั ยิ ะนนท์) ครู กศน. ตาบล ผูก้ ากบั กองลกู เสือ ลงช่ือ .......................................... ผู้เห็นชอบโครงการ (วา่ ที่รอ้ ยโท เตชวตั ร แกว้ เกต)ุ ครชู านาญการพิเศษ ผ้กู ากับกลมุ่ ลกู เสือ ลงชื่อ .......................................... ผู้อนุมตั โิ ครงการ (นางอุบลรัตน์ ชุณหพนั ธ์) ผอู้ านวยการศูนย์ กศน. อาเภอเมืองจนั ทบรุ ี ผู้อานวยการลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจนั ทบรุ ี กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 4 ขน้ั ตอนการเขียนโครงการ (ให้ผูเ้ รียนไปทากิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 4 ท่ีสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)

62 เรอื่ งท่ี 5 การดาเนินงานตามโครงการ การดาเนินงานตามโครงการ เป็นการดาเนินงานหลังจากที่โครงการได้รับความ เห็นชอบ หรืออนุมัติให้ดาเนินงานตามโครงการที่เขียนเสนอไว้ โดยดาเนินงานให้เป็นไปตาม แนวทางการดาเนนิ งาน หรอื วธิ ีดาเนินการ หรอื กจิ กรรมท่ีเขียนไวใ้ นโครงการ ซึ่งควรดาเนินงาน ให้เป็นไปตามแผนงาน ขั้นตอนท่ีเขียนไว้ เป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด โดยคานึงถึงผลท่ีควร เกิดข้ึนตามวัตถุประสงค์ของโครงการท่ีกาหนดไว้ ท้ังนี้ การดาเนินงานโครงการควรมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ดาเนินการทบทวน หรือทาความเข้าใจรายละเอียดที่เขียนไว้ในโครงการที่ได้รับ การอนุมัติให้ดาเนินการ โดยการมีส่วนร่วมของผู้รับผิดชอบโครงการ หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อการสร้างความเข้าใจกอ่ นการดาเนนิ งาน 2. ให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ดาเนินงานตามวิธีดาเนินการ หรือ กิจกรรมที่ปรากฏ อยใู่ นโครงการทีไ่ ด้รับอนุมตั ิ โดยคานึงถงึ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ ซ่ึงควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการ 3. เม่ือดาเนินงานตามโครงการเสร็จสิ้นแล้ว ควรจัดให้มีการประเมินผลการ ดาเนนิ งานโครงการตามรปู แบบ หรือแนวทางท่กี าหนดไวใ้ นโครงการ 4. เมื่อประเมนิ ผลการดาเนินงานเสร็จเรียนร้อยแล้ว ให้ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทา รายงานผลการดาเนินงานโครงการเสนอตอ่ ผู้ทีเ่ กีย่ วข้อง หรอื ผู้อนมุ ัติโครงการตอ่ ไป กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 5 การดาเนินงานตามโครงการ (ใหผ้ ้เู รียนไปทากจิ กรรมท้ายเรือ่ งท่ี 5 ทส่ี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา) เรือ่ งที่ 6 การสรุปรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการเพอื่ การนาเสนอ หลงั จากท่ีผู้เรียนได้ปฏิบัตติ ามโครงการเรียบรอ้ ยแล้ว จะต้องสรปุ ผลการดาเนนิ งาน ว่าเป็นอย่างไร ดงั นัน้ การสรปุ ผลการดาเนนิ งานควรประกอบด้วยเน้ือหาทสี่ าคญั ดงั ต่อไปนี้ 1. ผลการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือผลที่เกิดข้ึนตาม “ผลท่ี คาดว่าจะได้รบั ” ทเี่ ขียนไวใ้ นโครงการ 2. ปัญหา และอปุ สรรคทเ่ี กิดขึน้ ระหวา่ งการดาเนนิ งานตามโครงการ โดยให้ระบปุ ญั หา และอุปสรรคท่ีเกิดขึน้ พรอ้ มแนวทางแกไ้ ข เพอ่ื ป้องกันไม่ให้ปญั หา หรอื อุปสรรคเหล่าน้ันเกดิ ขึน้ อีก

63 3. ข้อเสนอแนะ เป็นการเขียนข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อจะทาให้การปฏิบัติงาน โครงการในครงั้ ต่อไป ประสบผลสาเร็จได้ง่ายขึ้น ท้ังน้ี การสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการ เพ่ือนาเสนอผลต่อที่ประชุม สามารถจัดทาได้ตามองค์ประกอบ ดงั นี้ 1. ส่วนนา เปน็ สว่ นแรกของรายงาน ซึง่ ควรประกอบดว้ ย 1. ปก ควรมที ้งั ปกนอก และปกใน ซ่งึ มเี นือ้ หาซา้ กนั 2. คานา หลกั การเขียนคานาทีด่ ีจะตอ้ งทาให้ผู้อ่านเกิดความสนใจ ต้องการที่จะ อ่านเน้อื หาส่วนตา่ ง ๆ ท่ปี รากฏอย่ใู นรายงาน 3. สารบัญ หมายถึง การระบุหัวข้อสาคัญในเล่มรายงาน โดยต้องเขียนเรียงลาดับ ตามเน้ือหาของรายงาน พรอ้ มระบุเลขหนา้ 2. สว่ นเนือ้ หา ประกอบดว้ ยส่วนตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. หลกั การและเหตุผลของโครงการ หรอื ความเป็นมา และความสาคัญของโครงการ 2. วตั ถุประสงค์ 3. เปา้ หมายของโครงการ 4. วธิ ดี าเนินการ หรอื กจิ กรรมที่ได้ดาเนินงานตามโครงการเป็นการเขียนถึงข้ันตอน การดาเนนิ งานโครงการแต่ละขนั้ ตอนตามทไ่ี ดป้ ฏิบตั จิ ริง ว่ามีการดาเนินการอย่างไร 5. ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินงานโครงการเป็นการเขียนผลการดาเนินงาน ทเี่ กดิ ขึน้ จรงิ ซงึ่ เปน็ ผลมาจากการดาเนนิ งานโครงการ 6. ข้อเสนอแนะจากการดาเนินงานโครงการ (เป็นการเสนอความคิดเห็นท่ีเป็น ประโยชน์ตอ่ ผู้อ่าน หรอื ตอ่ การดาเนนิ งานโครงการในครั้งถดั ไป) 7. ภาคผนวก (ถ้ามี) เช่น รูปภาพจากการดาเนินงานโครงการ แบบสอบถาม หรือเอกสารท่เี กิดข้ึนจากการดาเนินงานโครงการ เป็นต้น ท้ังน้ี เม่ือจัดทารูปเล่มรายงานผลการดาเนินงานโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว ให้นา รปู เลม่ รายงานสง่ /เสนอต่อผู้ทอี่ นมุ ตั โิ ครงการ หรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อรับทราบผลการดาเนินงาน โครงการ ตอ่ ไป นอกจากนี้ การเสนอผลการดาเนินงานโครงการ บางหน่วยงาน หรือบางโครงการ ผู้อนุมัติโครงการ อาจมีความประสงค์ให้ผู้รับผิดชอบโครงการนาเสนอโครงการในลักษณะของ การพูด ส่ือสาร ให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องได้รับทราบ ผู้รับผิดชอบโครงการหรือผู้นาเสนอ จึงควรมีการ เตรยี มความพรอ้ มและปฏิบัติ ดังน้ี

64 1. ผู้นาเสนอ ควรมีการสารวจตนเองเพ่ือเตรียมความพร้อมให้กับตนเอง ท้ังใน เรื่องของบุคลิกภาพ การแต่งกายท่ีเหมาะสม และการทาความเข้าใจกับเน้ือหาที่จะนาเสนอ เป็นอย่างดี หากมีผู้นาเสนอมากกว่า 1 คน ควรมีการเตรียมการโดยการแบ่งเน้ือหารับผิดชอบ ในการนาเสนอ เพือ่ ใหก้ ารนาเสนอเกิดความตอ่ เน่อื ง ราบรื่น 2. กล่าวทักทาย/สวัสดีผู้ฟัง โดยเร่ิมกล่าวทักทายผู้อาวุโสที่สุดแล้วเรียงลาดับ รองลงมาจากนน้ั แนะนาตนเอง แนะนาสมาชกิ ในกล่มุ และแนะนาชอื่ โครงการ 3. พดู ดว้ ยเสยี งทด่ี งั อย่างเหมาะสม ไมเ่ ร็ว และไม่ชา้ เกินไป 4. หลีกเลี่ยงการอ่าน แต่ควรจดเฉพาะหัวข้อสาคัญ ๆ เพ่ือใช้เตือนความจา ในขณะทีพ่ ูดรายงาน โดยผู้นาเสนอควรจัดความคิดอย่างเป็นระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมา ด้วยภาษาทชี่ ดั เจนและเขา้ ใจง่ายเปน็ ธรรมชาติ 5. ผู้นาเสนอควรรักษาเวลาของการนาเสนอ โดยไม่พูดวกไปวนมาหรือพูดออก นอกเรื่องจนเกนิ เวลา 6. รจู้ ักการใช้ท่าทางประกอบการพูดพอสมควร 7. ควรมีส่ือประกอบการนาเสนอ เพื่อให้การนาเสนอมีความน่าสนใจ น่าเชื่อถือ และเพื่อความสมบูรณ์ในการนาเสนอผลการดาเนินงานโครงการ และควรเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ ซกั ถามเพิม่ เติม เพื่อความเขา้ ใจในกรณีทผี่ ฟู้ งั มขี ้อสงสยั กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 6 การสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการเพือ่ การนาเสนอ (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 6 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

65 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 9 ทักษะลูกเสอื สาระสาคญั ทักษะลูกเสือ เป็นทักษะพื้นฐานที่ลูกเสือ กศน. ควรรู้ มีความเข้าใจและสามารถ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และพัฒนาให้เป็นทักษะในการเอาชีวิตรอด หรือช่วยชีวิตผู้อื่นได้ ซ่ึงเป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับการทาหน้าท่ี “บริการ” หรือบาเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น รวมท้งั เปน็ การฝกึ ฝนตนเองให้เปน็ มวี นิ ยั และความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย ลูกเสือ กศน. ควรมีทักษะพื้นฐานในเร่ืองแผนที่ – เข็มทิศ และเงื่อนเชือก ท้ังนี้ เพราะวิชาแผนที่ ช่วยให้เข้าใจข้อมูลพ้ืนฐานของพิกัด ทิศทาง ตาแหน่งท่ีต้ัง ตลอดจนลักษณะ ภูมิประเทศเบื้องต้นของสถานที่แต่ละแห่ง ช่วยให้สามารถวางแผนการเดินทางได้อย่างเหมาะสม และหากมีการใช้เข็มทิศ ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ให้ข้อมูลด้านทิศทาง ประกอบแผนท่ีด้วย ย่อมทาให้การเดนิ ทางมีประสิทธิภาพ สาหรับวิชาเงื่อนเชือก เป็นวิชาสาคัญท่ีลูกเสือท่ัวโลกจะต้องรู้ เข้าใจ และ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องนาไปใช้ในการร่วมกิจกรรมของลูกเสือ ทุกกิจกรรมให้เกิดความปลอดภัยในการทากิจกรรมการเรียนรู้ ฐานผจญภัย ฐานบุกเบิก หรือ ผูกมัดใหเ้ ปน็ เครอ่ื งใช้ตา่ ง ๆ สาหรับการอยู่ค่ายพักแรม ตวั ชี้วัด 1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของแผนที่ - เข็มทิศ 2. อธบิ ายวธิ กี ารใช้เข็มทิศ 3. อธบิ ายความหมาย และความสาคัญของเง่อื นเชือก 4. ผูกเงือ่ นเชอื กไดถ้ กู ตอ้ ง ขอบขา่ ยเนื้อหา เรื่องที่ 1 แผนท่ี – เขม็ ทศิ 1.1 ความหมายและความสาคัญของแผนท่ี 1.2 ความหมายและความสาคัญของเข็มทศิ

66 เรื่องท่ี 2 วิธีการใชแ้ ผนท่ี – เขม็ ทศิ 2.1 วธิ กี ารใชแ้ ผนที่ 2.2 วิธีการใช้ เขม็ ทิศ เรอ่ื งที่ 3 เงือ่ นเชอื ก 3.1 ความหมายของเง่ือนเชอื ก 3.2 ความสาคญั ของเงอ่ื นเชอื ก 3.3 การผกู เง่อื นเชอื ก เวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา 3 ช่ัวโมง สือ่ การเรยี นรู้ 1. ชุดวชิ าลกู เสอื กศน. รหัสรายวชิ า สค12025 2. สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนรปู้ ระกอบชุดวชิ า 3. สือ่ เสริมการเรยี นรอู้ นื่ ๆ

67 เรื่องท่ี 1 แผนที่ - เข็มทิศ 1.1 ความหมาย และความสาคญั ของแผนที่ แผนท่ี คือ สิ่งที่แสดงรายละเอียดของภูมิประเทศบนพื้นผิวโลกท้ังที่มีอยู่ ตามธรรมชาตแิ ละที่มนษุ ย์สรา้ งข้นึ โดยจาลองไวบ้ นวัตถุพื้นราบด้วยมาตราส่วนใดมาตราส่วนหนึ่ง ซ่ึงรายละเอียดเหล่านี้อาจแสดงด้วยเส้น สี และสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น สีที่ใช้ในแผนที่ ทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ สนี า้ เงินแก่ แสดงถึง ทะเล มหาสมทุ รทล่ี ึกมาก สฟี ้าอ่อน แสดงถึง เขตน้าตน้ื หรอื ไหลท่ วปี สเี ขียว แสดงถึง ทร่ี าบระดบั ต่า สเี หลือง แสดงถงึ ทีร่ าบระดับสงู สีแสด แสดงถึง ภเู ขาทสี่ ูงปานกลาง สีแดง แสดงถงึ ภเู ขาที่สูงมาก สนี ้าตาล แสดงถึง ยอดเขาทสี่ ูงมาก ๆ สขี าว แสดงถึง ยอดเขาทส่ี ูงจนมหี ิมะปกคลุม สที ี่ใชใ้ นแผนที่ทัว่ ไป ไดแ้ ก่ สดี า ใช้แทนรายละเอยี ดทเ่ี กดิ จากแรงงานมนุษย์ ยกเว้นถนน สีแดง ใช้แทนรายละเอียดทีเ่ ปน็ ถนน สนี า้ เงิน ใช้แทนรายละเอียดท่ีเปน็ น้าหรือทางน้า เชน่ ทะเล แมน่ า้ สีเขยี ว ใชแ้ ทนรายละเอียดท่ีเปน็ ป่าไม้ และบริเวณที่ทาการเพาะปลกู สีนา้ ตาล ใชแ้ ทนลกั ษณะทรวดทรงความสงู ความสาคัญของแผนที่ 1. ใช้เป็นเคร่ืองมือประกอบกิจกรรมการเดินทางไกลของลูกเสือ โดยแผนท่ีจะให้ ข้อมูลเบ้อื งตน้ ของพกิ ดั ทิศทางและตาแหนง่ ของสถานทใี่ นการเดินทางในเบ้ืองต้นทชี่ ดั เจนข้ึน 2. แผนที่จะช่วยให้เข้าใจถึงข้อมูลพ้ืนฐานของสภาพลักษณะภูมิประเทศเบ้ืองต้น ของสถานทใ่ี นแต่ละแห่ง ชว่ ยให้สามารถวางแผนในการเดนิ ทางไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความเข้าใจในชนิดของแผนท่ี จะช่วยให้รู้จักที่จะเลือกใช้ประโยชน์จากแผนท่ี ในแตล่ ะชนดิ ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

68 ชนิดของแผนที่ แผนที่โดยทวั่ ไป แบ่งออกเปน็ 3 ชนิด 1) แผนท่ีแบนราบ แสดงพ้ืนผิวโลก ความสูงต่า ใช้แสดงตาแหน่ง ระยะทาง และเส้นทาง 2) แผนท่ีภูมิประเทศ แสดงพื้นผิวโลกในทางราบ ไม่แสดงความสูงต่า ละเอียด กว่าและใช้ประโยชน์ได้มากกวา่ แผนท่แี บนราบ 3) แผนที่ภาพถ่าย ทาขึ้นจากภาพถ่ายทางอากาศ มีความละเอียดและความ ถูกต้องมากกว่าแผนท่ีชนิดอ่ืนมาก สามารถมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ตามธรรมชาติ และส่ิงที่มนุษย์ สรา้ งขน้ึ อย่างชัดเจน นอกจากนย้ี ังแบง่ ชนิดของแผนทีต่ ามลักษณะการใชง้ าน ตวั อยา่ ง เชน่ (1) แผนที่ทัว่ ไป เชน่ แผนท่โี ลก แผนทป่ี ระเทศต่าง ๆ (2) แผนทท่ี รวดทรงหรอื แผนทน่ี ูน แสดงความสูงต่าของภมู ิประเทศ (3) แผนทีท่ หาร เป็นแผนทีย่ ทุ ธศาสตร์ ยทุ ธวธิ ี (4) แผนทเ่ี ดินอากาศ ใช้สาหรับการบิน เพ่อื บอกตาแหน่ง และทิศทาง ของเคร่อื งบิน (5) แผนทเี่ ดนิ เรอื ใช้ในการเดินเรือ แสดงสันดอน ความลกึ แนวปะการงั (6) แผนท่ปี ระวัตศิ าสตร์ แสดงอาณาเขตยุคและสมัยต่าง ๆ (7) แผนทก่ี ารขนส่ง แสดงการคมนาคมทางบก ทางเรือ ทางอากาศ ฯลฯ สญั ลกั ษณ์ในแผนที่ สัญลักษณ์ (SYMBOL) เป็นเครื่องหมายท่ีใช้แทนรายละเอียดต่าง ๆ ท่ีปรากฏ อยู่บนพื้นผิวโลก ฉะน้ัน เมื่ออ่านแผนท่ีจึงควรตรวจดูเครื่องหมายแผนที่ก่อนเสมอ ท้ังนี้เพ่ือจะ ป้องกันมใิ ห้ตคี วามหมายสญั ลักษณต์ ่าง ๆ ผิดพลาดได้ ในแผนทช่ี ุด L 7017 จะแสดงสัญลักษณ์ 3 ประเภท คอื

69 1. สญั ลกั ษณเ์ ป็นจุด (POINT SYMBOL) ก. สัญลกั ษณ์รูปทรงเรขาคณิต เชน่ วัด โรงเรียน ศาลาทพ่ี ัก ที่ต้งั จงั หวดั ฯลฯ ทีต่ ้งั จังหวดั อาเภอ วัดมีโบสถ์ ไมม่ โี บสถ์ สานัก; ศาลาที่พัก เจดีย์พระปรางค์หรือสถูป โบสถ์ครสิ ตศ์ าสนา ศาลเจ้าหรอื ศาลเทพารักษ์; โบสถ์มุสลมิ โรงเรียน บ่อน้า ทิศเหนอื ทิศตะวนั ออก ทิศใต้ ทศิ ตะวนั ตก

70 แผนท่สี งั เขปของลูกเสอื “แผนท่ีสังเขป” คือ แผนที่หรือรูปภาพแผนที่ หรือเส้นทางในการเดินทาง แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ตามความต้องการ แผนที่สังเขปนี้จะให้ความละเอียดถูกต้อง พอประมาณเท่าน้นั แผนท่ีสังเขปของลูกเสือ จะแสดงลักษณะภูมิประเทศที่เด่นชัดที่อยู่บริเวณ ใกลเ้ คียงกับเส้นทาง สิ่งจาเป็นในการทาแผนทส่ี ังเขป คือ ต้องใช้เข็มทิศเป็น และรู้ระยะก้าวของตน โดยท่ัวไปคนปกติจะมีความยาว 1 ก้าวเท่ากับ 75 เซนติเมตร เดินได้นาทีละ 116 ก้าว เดินได้ ชว่ั โมงละ 4 กโิ ลเมตรโดยประมาณ การอา่ นแผนท่ี วางแผนท่ีในแนวราบบนพื้นท่ีได้ระดับ ทิศเหนือของแผนท่ีช้ีไปทางทิศเหนือ จัดให้แนวต่าง ๆ ในแผนที่ขนานกบั แนวทีเ่ ปน็ จริงในภมู ปิ ระเทศทุกแนว 1.2 ความหมาย และความสาคญั ของเข็มทิศ ความหมายของเข็มทศิ เข็มทิศ คอื เคร่อื งมอื สาหรบั ใชห้ าทิศทางหรือบอกทิศทางในแผนท่ี ความสาคญั ของเขม็ ทศิ เข็มทิศ มีความสาคัญในการบอกทิศท่ีสาคัญทั้ง 4 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกรายละเอียดเป็น 8 ทิศ 16 ทิศ หรือ 32 ทิศก็ได้ ในกรณีการเดนิ ทางไกลของลูกเสือ เข็มทิศเป็นอุปกรณ์ท่ีสาคัญในการบอกทิศทางไปสู่จุดหมาย ปลายทาง หากกรณหี ลงป่าหรือหลงทาง ลูกเสือสามารถแจ้งพกิ ดั ให้ผู้ช่วยเหลือได้ การหาทิศ วางเขม็ ทศิ ในแนวระนาบ ปลายเข็มทิศข้างหนึง่ จะชไ้ี ปทางทิศเหนือค่อย ๆ หมุน หน้าปัดของเข็มทิศให้ตาแหน่งตัวเลข หรืออักษรท่ีบอกทิศเหนือบนหน้าปัดตรงกับปลายเหนือ ของเข็มทิศ เมื่อปรับเข็มตรงกับทิศเหนือแล้วจะสามารถอ่านทิศต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องจาก หนา้ ปดั เข็มทิศ ลูกเสือสามารถนาเข็มทิศไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น การเดินทางไกล การสารวจป่า การผจญภัย การสารวจและการเยือนสถานที่ เป็นต้น เมื่อเริ่มออกเดินทาง ลูกเสือ ควรหาทิศท่ีจะมุ่งหน้าไปให้ทราบก่อนว่าเป็นทิศใด เมื่อเกิดหลงทิศหรือหลงทางจะสามารถ หาทศิ ทางต่าง ๆ จากเขม็ ทศิ ได้

71 ขอ้ ควรระวงั ในการใช้เข็มทศิ 1. จับถอื ดว้ ยความระมดั ระวงั เพราะหนา้ ปัดและเข็มบอบบาง ออ่ นไหวง่าย 2. อยา่ ใหต้ ก แรงกระเทอื นทาให้เสยี ได้ 3. ไมค่ วรอ่านเขม็ ทศิ ใกล้ส่ิงทเ่ี ปน็ แม่เหลก็ หรือวงจรไฟฟ้า 4. อย่าให้เปียกน้าจนข้ึนสนิม 5. อย่าให้ใกล้ความรอ้ นเข็มทศิ จะบดิ งอ การใชแ้ ผนทแี่ ละเข็มทิศเดินทางไกล 1. ยกเข็มทิศใหไ้ ดร้ ะดับ 2. ปรบั มมุ อะซมิ ุทใหเ้ ทา่ กับมุม 3. เลง็ ตามแนวลกู ศรช้ที ิศทาง เป็นเส้นทางทจ่ี ะเดนิ ไป 4. เดนิ ไปเท่ากบั ระยะทางที่กาหนดในแผนที่ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 แผนท่ี - เขม็ ทิศ (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 1 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา) เร่ืองท่ี 2 วิธกี ารใช้แผนที่ – เข็มทศิ 2.1 วิธีการใช้แผนที่ วางแผนที่ในแนวราบบนพื้นท่ไี ด้ระดับ ทศิ เหนอื ของแผนที่ชไ้ี ปทางทิศเหนอื จัดให้แนวต่าง ๆ ในแผนทข่ี นาดกบั แนวท่ีเปน็ จรงิ ในภมู ิประเทศทกุ แนว 2.2 วธิ ีการใชเ้ ขม็ ทศิ เข็มทศิ มีหลายชนิด เช่น เข็มทศิ ตลับธรรมดา เขม็ ทศิ ขอ้ มือ เขม็ ทิศแบบเลน ซาติก (Lensatic) และเขม็ ทิศแบบซลิ วา (Silva) เขม็ ทิศที่ใช้ในทางการลูกเสือ คือ เขม็ ทศิ แบบซิลวา ของสวเี ดน เปน็ เข็มทิศ และไม้โปรแทรกเตอร์รวมอยู่ด้วยกัน ทั่วโลกนิยมใช้มาก ใช้ประกอบแผนที่และหาทิศทางได้ดี เหมาะสมกบั ลูกเสอื เพราะใช้ง่ายและสะดวก ส่วนประกอบของเขม็ ทิศแบบซลิ วา 1. แผน่ ฐานทาด้วยวัสดโุ ปร่งใส 2. ที่ขอบฐานมีมาตราส่วนเป็นน้ิวหรือ เซนตเิ มตร

72 3. มลี ูกศรช้ที ศิ ทางท่ีจะไป 4. เลนส์ขยาย 5. ตลับเข็มทิศเป็นวงกลมหมุนไปมาได้ บนกรอบหน้าปัดของตลับเข็มทิศแบ่งมุม ออกเป็น 360 องศา 6. ภายในตลับเข็มทิศตรงกลางมเี ข็มแมเ่ หลก็ สีแดง ซึง่ จะชี้ไปทางทิศเหนอื เสมอ 7. ตาแหน่งสาหรับตง้ั มมุ และอ่านค่าของมมุ อยตู่ รงปลายลูกศรชท้ี ศิ ทาง การใช้เขม็ ทศิ ซลิ วา 1. กรณีทราบค่าหรือบอกมุมอะซิมุทมาให้และต้องการรู้ว่าจะต้องเดินไปทางทิศใด สมมตวิ ่า บอกมมุ อะซิมทุ มาให้ 60 องศา ให้ปฏบิ ัติดังน้ี (1) วางเข็มทิศบนฝ่ามือหรือสมุด ปกแข็งในแนวระดับ หันลูกศรช้ีทิศทางออกนอกตัว โดยใหเ้ ข็มแม่เหลก็ แกวง่ ไปมาไดอ้ สิ ระ (2) หมุนกรอบหน้าปัดของตลับเข็ม ทิศ ให้เลข 60 อยู่ตรงตาแหน่งสาหรับต้ังมุม (ปลายลูกศรชที้ ศิ ทาง) (3) หมุนตัวจนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศตรงกับอักษร N บนกรอบหนา้ ปัด ดังรูป (4) ดลู ูกศรช้ีทศิ ทางว่าชี้ไปทางทศิ ใดกเ็ ดนิ ไปตามทศิ ทางนั้น ซ่ึงเป็นมุม 60 องศา ในการเดินไปตามทิศทางท่ีลูกศรช้ีไปน้ันให้มองหาจุดเด่นในภูมิประเทศท่ีอยู่ตรงทิศทางที่ลูกศร ชไี้ ป เชน่ ตน้ ไม้ ก้อนหิน โบสถ์ เสารวั้ ฯลฯ เป็นหลกั แลว้ เดินตรงไปยงั ส่งิ น้ัน

การจับเขม็ ทศิ 73 การกาหนดเปา้ หมายและหามุม ลกู ศรก้างปลา ปลายเขม็ ชต้ี วั N (N หมายถงึ ทิศเหนือ) เข็มแม่เหล็ก หมนุ แกวง่ ตัวไปรอบ ๆ ภายในตลับวงกลมเมอื่ เขม็ แมเ่ หลก็ หมุนไปทบั ลูกศรก้างปลาจงึ จะสามารถอา่ น คา่ มุมได้ ข้ันตอนที่ 1 ข้นั ตอนที่ 2 เล็งลูกศรชีท้ างไปท่ีเปา้ หมายท่สี ามารถ ใช้ปลายน้ิวมอื จับเลนสก์ ลมหมนุ ใหเ้ ขม็ มองเห็นได้งา่ ย แมเ่ หล็กทับเข็มก้างปลา ค่ามุมอ่านได้ เท่ากับ 220 องศา

74 การอา่ นรายละเอยี ดของเข็มทิศซลิ วา ตาแหน่งที่ 1 เขม็ ลกู ศรชที้ าง ตาแหน่งท่ี 2 เลนส์ขยาย ตาแหนง่ ท่ี 3 หน้าปดั วงกลม แบ่งมมุ ออกเป็น 360o ข้อควรระวังในการใช้เข็มทศิ ซลิ วา ควรจบั ถอื ดว้ ยความระมัดระวัง ไมค่ วรอ่านเข็มทศิ ใกลก้ บั ส่ิงทีเ่ ปน็ แม่เหลก็ หรอื วงจรไฟฟา้ ควรคานงึ ถึงระยะความปลอดภัยโดยประมาณ ดงั นี้ สายไฟแรงสูง 50 หลา สายโทรศัพท์ โทรเลข 10 หลา รถยนต์ 20 หลา วัสดุที่เป็นแร่เหล็ก 5 หลา การใชแ้ ผนทแ่ี ละเข็มทิศเดินทางไกล 1. ยกเข็มทิศให้ไดร้ ะดบั 2. ปรบั มมุ อะซิมทุ ให้เท่ากับมมุ ทก่ี าหนดในแผนท่ี 3. เลง็ ตามแนวลกู ศรช้ีทิศทาง เปน็ เสน้ ทางทจี่ ะเดินไป 4. เดินไปเท่ากับระยะทางทีก่ าหนดในแผนที่

75 การใช้เขม็ ทิศในที่กลางแจง้ การหาทศิ วางเขม็ ทศิ ในแนวระนาบ ปลายเขม็ ทศิ ข้างหนึ่งจะช้ีไปทางทศิ เหนือค่อย ๆ หมุน หนา้ ปัดของเขม็ ทิศให้ตาแหน่งตัวเลขหรืออักษรที่บอกทิศเหนือบนหน้าปัดตรงกับปลายเหนือของ เข็มทิศ เม่ือปรับเข็มตรงกับทิศเหนือแล้วจะสามารถอ่านทิศต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องจากหน้าปัด เขม็ ทศิ ลูกเสือสามารถนาเข็มทิศไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น การเดินทางไกล การสารวจปา่ การผจญภยั การสารวจและการเยือนสถานที่ เป็นต้น เม่อื เร่มิ ออกเดินทาง ลูกเสอื ควรหาทิศทจ่ี ะมุ่งหนา้ ไปใหท้ ราบกอ่ นวา่ เป็นทศิ ใด เมอ่ื เกดิ หลงทิศหรือหลงทางจะสามารถหาทิศทางตา่ ง ๆ จากเข็มทิศได้ ตวั อย่าง กรณบี อกมุมอะซมิ ทุ มาให้และต้องการรู้ว่าจะต้องเดนิ ทางไปทิศทางใด สมมตวิ ่ามมุ อะซิมุท 60 องศา 1. วางเขม็ ทศิ ในแนวระดบั ใหเ้ ข็มแม่เหล็กหมุนไปมาไดอ้ สิ ระ 2. หมนุ กรอบหนา้ ปดั ของตลบั เขม็ ทิศให้เลข 60 อยู่ตรงขีดตาแหน่งต้งั มุม 3. หันตัวเข็มทิศทั้งฐานไปจนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศช้ีตรงกับอักษร N บนกรอบหนา้ ปัด ทับสนิทกับเคร่อื งหมายหวั ลูกศรทพี่ มิ พ์ไว้ 4. เมื่อลูกศรช้ีทิศทางชี้ไปทิศใด ให้เดินไปตามทิศทางนั้น โดยเล็งหาจุดเด่นที่อยู่ในแนว ลูกศรช้ที ิศทางเป็นหลกั แล้วเดนิ ตรงไปยังสง่ิ นนั้ กรณที จี่ ะหาค่าของมมุ อะซมิ ุทจากตาบลทเ่ี รายนื อยู่ ไปยังตาบลท่ีเราจะเดนิ ทางไป 1. วางเข็มทศิ ในแนวระดบั ใหเ้ ข็มแมเ่ หลก็ หมุนไปมาไดอ้ สิ ระ 2. หนั ลกู ศรชท้ี ิศทางไปยังจดุ หรอื ตาแหนง่ ทเี่ ราจะเดินทางไป 3. หมุนกรอบหน้าปัดเข็มทิศไปจนกว่าอักษร N บนกรอบหน้าปัดอยู่ตรงปลายเข็ม แม่เหล็กสแี ดงในตลับเข็มทิศ

76 4) ตัวเลขบนกรอบหน้าปัดจะอยู่ตรงขีดตาแหน่งสาหรับตั้งมุมและอ่านค่ามุม คือ ค่าของมุมทเ่ี ราตอ้ งการทราบ การวดั ทิศทางบนแผนที่โดยการใช้เขม็ ทศิ 1. อันดบั แรกตอ้ งวางแผนท่ใี ห้ถูกทศิ 2. ใช้ดินสอลากเส้นตรงจากจุดท่ีเราอยู่บนแผนที่ (จุด A) ไปยังจุดที่จะต้องเดินทางไป (คอื จดุ B) 3. วางขอบฐานด้านยาวของเข็มทิศขนานพอดีกับเส้นตรงที่ใช้ดินสอลากไว้ (แนวเส้น A -B) โดยให้ลูกศรชี้ทศิ ทางชี้ไปทางจดุ B ด้วย 4. หมุนตัวเรือนเข็มทิศบนเข็มทิศไปจนกว่าปลายเข็มแม่เหล็กสีแดงตรงกับตัวอักษร N บนกรอบตัวเรือนเข็มทศิ 5. ตัวเลขทอี่ ยูต่ รงขีดตาแหนง่ ต้งั มมุ และอา่ นคา่ มมุ คือมุมที่เราจะต้องเดินทางไป (ในภาพคอื มุม 60 องศา) ขอ้ ควรระวงั ในการใช้เข็มทศิ 1. จับถือด้วยความระมดั ระวงั เพราะหน้าปดั และเขม็ บอบบาง อ่อนไหวง่าย 2. อยา่ ให้ตก แรงกระเทอื นทาให้เสียได้ 3. ไมค่ วรอ่านเขม็ ทศิ ใกล้สิ่งทเี่ ปน็ แมเ่ หล็กหรือวงจรไฟฟา้ 4. อยา่ ให้เปียกน้าจนขึ้นสนิม 5. อยา่ ให้ใกล้ความร้อนเข็มทศิ จะบิดงอ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 2 วธิ กี ารใช้แผนที่ - เข็มทศิ (ให้ผเู้ รยี นไปทากิจกรรมท้ายเรื่องที่ 2 ที่สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

77 เรื่องท่ี 3 เง่อื นเชอื ก 3.1 ความหมายของเง่ือนเชือก เงื่อนเชือก หมายถึง การนาเชือกมาผูกกันเป็นเงื่อน เป็นปม สาหรับต่อเชือก เข้าด้วยกัน หรือทาเป็นบ่วง สาหรับคล้องหรือสวมกับเสา หรือใช้ผูกกับวัตถุ สาหรับผูกให้แน่น ใช้รง้ั ใหต้ ึง ไมห่ ลดุ ง่าย แตส่ ามารถแกป้ มไดง้ ่าย 3.2 ความสาคญั ของเง่อื นเชือก กิจกรรมลูกเสือ เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต้องการให้ลูกเสือรู้จักใช้วัสดุที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ เพื่อการดารงความเป็นอยอู่ ย่างอสิ ระและพ่ึงพาตนเองใหม้ ากทีส่ ุด การผูกเง่ือนเชือก เป็นศาสตร์และศิลป์อย่างหน่ึงท่ีลูกเสือจาเป็นต้องเรียนรู้ เม่ือเข้าร่วมกิจกรรมในการอยู่ค่ายพักแรม การสร้างฐานกิจกรรมผจญภัย การตั้งค่ายพักแรม รวมทัง้ การใช้งานเงอ่ื นในการชว่ ยผู้เจบ็ ป่วยได้ เงือ่ นแบ่งได้เปน็ 3 ประเภทตามลกั ษณะการผกู 1. เง่ือนท่ีใช้ผูกต่อเชือกท่ีมีขนาดเท่ากัน หรือผูกในเชือกเส้นเดียวกัน เช่น เงือ่ นพริ อด เง่ือนบว่ งคนกลาง เปน็ ต้น 2. เงอื่ นผกู ต่อกบั เชือกที่มีขนาดใหญก่ ว่าหรือผกู กับห่วง เช่น เง่อื นขัดสมาธิ 3. เงื่อนท่ีใช้ผูกกับวัตถุต่าง ๆ เช่น ผูกกับเสา หรือหลักเพ่ือการยึดโยง ได้แก่ เงอื่ นกระหวัดไม้ เง่อื นตะกรดุ เบด็ เงือ่ นเชือก เงื่อนเชือกยังมีบทบาทและความสาคัญสาหรับการดาเนินชีวิตของคนเรา ถึงแมว้ ่าเทคโนโลยีต่าง ๆ จะเจริญเข้ามาก็ตาม จะเห็นได้ว่าเงื่อนเชือกจะเก่ียวข้องกับเราต้ังแต่ แรกเกิดเม่ือเราคลอดออกมาหมอจะให้เชือกในการผูกสายสะดือ ตอนเด็กใช้เง่ือนเชือกผูกทา เปลนอน ผูกสายมุ้ง ตอนโตใช้เง่ือนเชือก ผูกรองเทา้ ผูกเนคไท ผูกสิ่งของต่าง ๆ และยังใช้เงื่อน เชือกถักเป็นเส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่มและเครื่องใช้ต่าง ๆ หลายชนิด บางคร้ังเง่ือนเชือกมีความสัมพันธ์ เก่ียวข้องกับการดาเนินชีวิตของเรา เพราะฉะน้ัน ลูกเสือวิสามัญควรจะต้องศึกษาเรื่องเงื่อนเชือก เพอ่ื จะได้นาไปใช้ประโยชน์ในโอกาสต่อไป 3.3 การผูกเงื่อนเชอื ก การผกู เงื่อนท่สี าคัญและควรเรียนรู้ มีดังนี้ เงื่อนพิรอด เป็นเงื่อนสัญลักษณ์ในเคร่ืองหมายลูกเสือโลก แสดงถึงความเป็น พน่ี อ้ งกนั ของขบวนการลกู เสอื ทว่ั โลก และแทนความสามคั คขี องลกู เสอื มขี ัน้ ตอนการผกู ดงั นี้

78 ขนั้ ที่ 1 ปลายเชอื กด้านซ้ายทบั ด้านขวา ขนั้ ท่ี 2 - 3 ออ้ มปลายเชือกดา้ นซา้ ยลงใตเ้ ส้นเชอื กดา้ นขวาใหป้ ลายเชือกตงั้ ขน้ึ แลว้ รวบปลายเชอื กเขา้ หากนั โดยใหด้ ้านขวาทับดา้ นซ้าย ขน้ั ที่ 4 ยอ้ นปลายเชือกขวามือลอดใตเ้ ส้นซ้ายมือ จัดเงื่อนใหเ้ รียบร้อย ประโยชน์ 1) ใช้ต่อเชือก 2 เสน้ มขี นาดเท่ากัน เหนียวเท่ากนั 2) ใชผ้ ูกปลายเชือกเสน้ เดยี วกนั เพื่อผกู มัดห่อส่ิงของและวัตถุตา่ ง ๆ 3) ใช้ผกู เชอื กรองเท้า (ผูกเงื่อนพิรอดกระตุกปลาย 2 ขา้ ง) 4) ใชผ้ ูกโบว์ ผูกชายผา้ พันแผล ผูกชายผา้ ทาสลิงคล้องคอ 5) ใช้ต่อผ้าเพื่อให้ได้ความยาวตามต้องการ ควรเป็นผ้าเหนียว ในกรณีที่ไม่มี เชอื ก เช่น ต่อผ้าปูที่นอน เพ่ือใช้ช่วยคนในยามฉุกเฉินเมื่อเวลาเกิดเพลิงไหม้ ใช้ช่วยคนที่ติดอยู่ บนท่สี งู โดยใช้ผา้ พันคอลกู เสือต่อกัน

79 เงอ่ื นขัดสมาธิ ขน้ั ท่ี 1 งอเชือกเส้นใหญ่ให้เป็นบ่วง สอดปลายเสน้ เลก็ เขา้ ในบว่ งโดยสอดจากขา้ งล่าง ขั้นที่ 2 มว้ นเส้นเลก็ ลงอ้อมดา้ นหลงั เส้นใหญ่ทัง้ คู่ ขั้นที่ 3 จบั ปลายเส้นเล็กข้ึนไปลอดเสน้ ตวั เองเปน็ การขัดไว้ จัดเง่ือนให้แนน่ และ เรยี บรอ้ ย

80 ประโยชน์ 1) ใชต้ อ่ เชือกท่ีมีขนาดเดยี วกนั หรอื ขนาดตา่ งกัน (เส้นเล็กพนั ขดั เสน้ ใหญ)่ 2) ใช้ต่อเชือกอ่อนกับเชือกแข็ง (เอาเส้นอ่อนพันขัดเส้นแข็ง) ต่อเชือกท่ีมี ลักษณะคอ่ นข้างแข็ง เช่น เถาวลั ย์ 3) ใช้ตอ่ ดา้ ย ตอ่ เสน้ ด้ายเส้นไหมทอผา้ 4) ใชผ้ กู กบั ขอ หรือบ่วง เง่อื นตะกรุดเบ็ด วิธที ี่ 1 เม่อื สามารถทาเปน็ ห่วงสวมหัวเสาได้ ขนั้ ท่ี 1 พกั เชอื กให้เป็นบว่ งสลับกัน ขัน้ ที่ 2 เลื่อนบ่วงให้เขา้ ไปซอ้ น (รูป ก) จนทันกนั เป็นบ่วงเดียวกัน (รูป ข)

81 ขั้นท่ี 3 นาบว่ งจากขน้ั ท่ี 2 ข. สวมลงในเสาแล้วดงึ ปลายเชอื กจัดเงื่อนใหแ้ นน่ ประโยชน์ 1) ใชผ้ กู เชอื กกบั เสาหรือสง่ิ อืน่ ๆ จะใหค้ วามปลอดภัยมาก ถา้ ผกู กลาง ๆ ของเชอื ก ถา้ ใชป้ ลายเชือกผูกอาจไมแ่ น่น กระตกุ บอ่ ย ๆ จะหลดุ ปมเชือกจะคลาย 2) ใชท้ าบนั ไดเชือก บนั ไดลิง 3) ใช้ในการผูกเง่อื นตา่ ง ๆ ท่ีผกู กับหลักหรอื วตั ถุ 4) ใชใ้ นการผกู เง่อื นกระหวัดไม้ 5) ใช้ในการผูกเงื่อนแนน่ เช่น ผูกประกบ กากบาท 6) ใชใ้ นการผูกปากถงุ ขยะ วิธกี ารเกบ็ เชือก มขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ข้นั ท่ี 1 แบ่งเชือกออกเป็น 8 ส่วน ใชม้ ือซ้ายจบั เชือกแล้วทบเชือก 3 คร้ัง โดยแต่ละครงั้ ให้เชือกยาวเทา่ กับ 1 ใน 8 ส่วน เชือกท่ีเหลืออีก 5 ใน 8 ส่วน ปล่อยไวส้ าหรับพนั ขน้ั ท่ี 2 เอาเชอื กทเี่ หลอื 5 ใน 8 ส่วน พันรอบเชอื กทท่ี บไว้ โดยเร่ิมพนั ถดั จากปลายบ่วง (ข) เข้ามาประมาณ 1 นวิ้ เมื่อพนั จบเหลือปลายเชือก ให้ สอดปลายเชอื กนน้ั เขา้ ในบว่ ง ขน้ั ที่ 3 ดึงบว่ ง (ข) เพื่อรง้ั บ่วง (ก) ให้รดั ปลายเชือกที่สอดไว้จนแน่นเป็นอันเสรจ็ การรกั ษาเชือก มแี นวทางในการปฏบิ ตั ิ ดังนี้

82 1) ระวังรกั ษาเชอื กใหแ้ ห้งเสมอ อย่าให้เปยี กช้ืน เพื่อป้องกนั เช้ือรา 2) การเก็บเชือก ควรขดเก็บเป็นวง มัดให้เรียบร้อย เก็บให้ห่างไกลจากมด แมลง หนู หรือสัตวอ์ ื่น ๆ และควรแขวนไว้ ไมค่ วรวางไวก้ บั พนื้ 3) อย่าใหเ้ ชอื กผูกร้ัง เหน่ียว ยดึ หรอื ลาก ฉดุ ของหนกั เกนิ กาลงั เชือก 4) ขณะใช้งาน อย่าให้เชือกลากครูด หรือเสียดสีกับของแข็ง จะทาให้เกลียว ของเชือกสกึ กร่อนและขาดงา่ ย 5) ก่อนเอาเชือกผูกมัดกับต้นไม้ ก่ิงไม้หรือของแข็ง ควรเอากระสอบพันรอบ ตน้ ไมห้ รอื ก่งิ ไม้กอ่ น และเชอื กทีใ่ ชง้ านเสร็จแลว้ จะต้องระวังรักษา ดังนี้ (1) เชือกท่ีเลอะโคลนเลนหรือถูกน้าเค็ม เมื่อเสร็จงานแล้ว ต้องชาระล้าง ดว้ ยนา้ จืดให้สะอาด แลว้ ผ่งึ ให้แหง้ ขดมดั เก็บไวก้ บั ขอหรือบนทีแ่ ขวน (2) เชือกลวดเมอื่ เสร็จงาน ต้องรีบทาความสะอาด ล้างด้วยน้าจืด เช็ดให้แห้ง แลว้ ผง่ึ แดดจนแห้งสนทิ แล้วเอานา้ มันจาระบี หรือยากนั สนมิ ชโลมทาให้ท่ัว จึงเกบ็ ให้เรียบรอ้ ย (3) ปลายเชือกทถี่ กู ตดั จะต้องเอาเชือกเลก็ ๆ พนั หัวเชือกเพ่ือป้องกัน เชือกคลายเกลยี ว กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 3 เง่อื นเชือก (ให้ผู้เรียนไปทากิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 3 ท่สี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา)

83 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกิจกรรมลูกเสอื สาระสาคัญ ลูกเสือมีหลากหลายกิจกรรม ท้ังกิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมผจญภัย กิจกรรม บุกเบิก การสร้างส่ิงต่าง ๆ สาหรับการปีน การข้าม และต้องใช้ท้ังกาลังกาย กาลังความคิด เพอ่ื แกป้ ัญหา และการตัดสินใจ เพ่อื ใหต้ นเองและผู้ที่อน่ื มคี วามสะดวก สบาย และปลอดภยั ลูกเสือ กศน. ควรฝึกทักษะท่ีจาเป็นในการป้องกันภัยอันตรายท่ีจะเกิดข้ึน ต่อตนเอง และผู้อ่ืน รวมถึงการสร้างความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในลักษณะ ของการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ การต้ังสติ และการติดต่อหาความช่วยเหลือ จากบุคคลอืน่ ท่มี ีความสามารถ เช่น หนว่ ยกู้ชีพ หรอื หนว่ ยแพทยฉ์ กุ เฉิน ตวั ชีว้ ดั 1. อธบิ ายความหมาย และความสาคัญของความปลอดภยั ในการเข้าร่วม กิจกรรมลกู เสอื 2. อธิบายและยกตัวอย่างการเฝ้าระวงั เบื้องตน้ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ 3. สาธิตสถานการณ์การช่วยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตุความไมป่ ลอดภยั ในการเข้ารว่ ม กจิ กรรมลกู เสอื 4. อธบิ ายและยกตวั อย่างการปฏิบัตติ นตามหลกั ความปลอดภัย ขอบขา่ ยเนื้อหา เร่อื งที่ 1 ความปลอดภยั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสือ 1.1 ความหมายของความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสอื 1.2 ความสาคญั ของความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลกู เสอื เรอื่ งท่ี 2 การเฝา้ ระวังเบ้ืองต้นในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสอื เรือ่ งที่ 3 การช่วยเหลอื เมื่อเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ เรื่องท่ี 4 การปฏบิ ตั ติ นตามหลักความปลอดภัย

84 เวลาท่ีใช้ในการศึกษา 3 ช่วั โมง สือ่ การเรียนรู้ 1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค12025 2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระกอบชุดวิชา 3. สอ่ื เสริมการเรียนรู้อืน่ ๆ

85 เรอื่ งที่ 1 ความปลอดภยั ในการเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสอื 1.1 ความหมายของความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลกู เสอื ความปลอดภัย หมายถึง การที่ร่างกายปราศจากอุบัติภัย อยู่ในสภาวะท่ี ปราศจากอันตราย หรือสภาวะที่ปราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บป่วย จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการปฏิบตั ิหรือการกระทาของตนเอง 1.2 ความสาคญั ของความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมลูกเสอื ความปลอดภัยช่วยให้เกิดความระมัดระวังในการป้องกันตนเอง และผ้อู ่ืนใหพ้ ้น จากภัยอันตราย หรือการเสียชีวิต โดยการให้คาแนะนาในการใช้เครื่องมือ เคร่ืองใช้ และส่ิง อานวยความสะดวกตา่ ง ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์ และปลอดภยั กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 ความปลอดภัยในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสอื (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 ทสี่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรอ่ื งที่ 2 การเฝา้ ระวงั เบ้ืองต้นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสอื ลูกเสือต้องตระหนักในความสาคัญ และมีจิตสานึกต่อความปลอดภัยในการ รว่ มกิจกรรม ทีอ่ าจเกดิ อุบัติเหตุ เน่ืองจาก 1. ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการร่วมกิจกรรมนั้น ๆ ลูกเสือต้องทา ความเข้าใจในกฎ กตกิ า ของกจิ กรรมน้นั ๆ อย่างถ่องแท้ และปฏิบัติตามอย่างเครง่ ครดั 2. ขาดประสบการณ์ และขาดความชานาญ ลูกเสือต้องขวนขวายในการหา ประสบการณ์ และความรู้ ทกั ษะทจี่ าเปน็ ต่อการร่วมกิจกรรมนั้น ๆ 3. ขาดความพร้อมทางด้านร่างกายและจติ ใจ ลูกเสอื ต้องเตรียมความพร้อม ทางด้านร่างกายและจิตใจกอ่ น 4. ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ์ ความแข็งแรงของอุปกรณ์ที่ใช้ในแตล่ ะ กิจกรรม ลูกเสอื ตอ้ งตรวจสอบอุปกรณท์ ีใ่ ช้ในแต่ละกิจกรรมใหม้ ีสภาพแขง็ แรง พรอ้ มใช้งานอยูเ่ สมอ การเฝา้ ระวังเบือ้ งต้นในการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือเป็นการฝึกตนเองของลูกเสือ ให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ และภัยอันตรายต่าง ๆ เป็นวิธีการในการเตรียมความพร้อมของลูกเสือ ท้ังด้านรา่ งกายและจิตใจ ดังน้ี ด้านร่างกาย ลูกเสือต้องเตรียมร่างกายให้พร้อม โดยออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอ และหาเวลาพกั ผ่อนใหเ้ พยี งพอ เพ่อื สุขภาพและร่างกายจะไดแ้ ข็งแรงอยู่ตลอดเวลา

86 ด้านจิตใจ ลูกเสือต้องทาจิตใจให้สบาย ๆ สร้างความรู้สึกท่ีสนุกสนานพร้อม ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ มีความร่างเริง พร้อมรับการฝึกฝน ปฏิบัติด้วยตนเอง หรือช่วยผู้อ่ืน หาวิธี หลีกเล่ียงอุบตั เิ หตุ อันจะเกิดขนึ้ ไดใ้ นขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรมลูกเสอื กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 การเฝา้ ระวงั เบอื้ งตน้ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 2 ท่สี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา) เร่ืองท่ี 3 การชว่ ยเหลือเมอื่ เกิดเหตุความไมป่ ลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสอื การเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสือ อาจมคี วามไมป่ ลอดภยั ในด้านร่างกายข้ึนได้ ลูกเสือ จึงมีความจาเป็นต้องเรียนรู้ถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ และวิธีการสร้าง ความปลอดภยั ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ ดังนี้ 1. สาเหตุทที่ าให้เกดิ ความไม่ปลอดภัยในการเข้ารว่ มกจิ กรรม มี 3 ประการ คอื 1.1 สาเหตทุ ีเ่ กิดจากมนุษย์ มีดงั นี้ 1) ผู้ปฏิบัติกิจกรรม มีความประมาทโดยคิดว่าไม่เป็นไร ลองผิดลองถูก หรอื รเู้ ท่าไม่ถึงการณ์ 2) ผู้ปฏิบัติกิจกรรม มีความเชื่อใจ ไว้วางใจผู้ใดผู้หน่ึงที่ได้รับมอบหมาย ใหด้ าเนนิ การ และไมม่ กี ารตรวจสอบก่อน จงึ อาจทาใหม้ ขี อ้ ผิดพลาดได้ 3) ผูป้ ฏิบัติกจิ กรรมมีสขุ ภาพไม่แข็งแรง หรือมีโรคประจาตัว แต่เข้าร่วม กจิ กรรมบางอยา่ งทอี่ าจทาให้เกิดอบุ ัตเิ หตไุ ด้ 4) ผ้ปู ฏิบตั กิ ิจกรรมแตง่ กายไม่เหมาะสมในการเขา้ รว่ มบางกิจกรรม 5) ผู้ปฏิบัติกิจกรรมขาดการประเมินตนเอง หรือบางคร้ังประเมินตนเอง ผิดพลาด โดยคิดว่าตนเองสามารถปฏิบัติกิจกรรมน้ันได้ และบางครั้งผู้ปฏิบัติเกิดความคึกคะนอง กลัน่ แกล้ง และหยอกลอ้ กนั 6) ผู้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ขาดระเบยี บวนิ ัย ไมเ่ ชื่อฟังผ้บู งั คบั บัญชา 1.2 สาเหตุที่เกดิ จากเครื่องมอื หรืออปุ กรณ์ มีดงั น้ี 1) ขาดเครื่องมอื และอุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุความไม่ปลอดภัย ในการเข้าร่วมกิจกรรมท่เี หมาะสม หรืออุปกรณบ์ างชนดิ เสอ่ื มสภาพไม่เหมาะทีจ่ ะนามาใช้งาน 2) ขาดความรใู้ นการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ แต่ละประเภท หรือใช้เคร่ืองมือ และอปุ กรณ์ท่ใี ชผ้ ดิ ประเภท

87 3) ขาดทกั ษะ ความชานาญ ในการใช้เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ 4) ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ์ ความแข็งแรงของอุปกรณ์ในฐาน โดยละเอียด และขาดการบารงุ รกั ษาทเ่ี หมาะสม 1.3 สาเหตทุ เี่ กดิ จากภัยธรรมชาติ มดี ังนี้ 1) ภัยทางน้า อาจเกิดความไม่ปลอดภัยในขณะที่ปฏิบัติกิจกรรมได้ เช่น นา้ หลาก น้าไหลเช่ยี ว เปน็ ต้น 2) ภัยทางบก อาจเกิดความไม่ปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมได้ เช่น การสร้างสะพานดว้ ยเชือกที่ไปผกู กบั ตน้ ไม้ ทาใหต้ ้นไม้อาจหัก เปน็ ตน้ 3) ภยั ทางอากาศ อาจเกดิ ความไม่ปลอดภยั ขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรมได้ เช่น เกดิ มีพายุ ลมแรง เป็นตน้ 2. การสร้างความปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ คือ วิธีการป้องกัน ก่อนจัดสร้างอุปกรณ์ และก่อนเข้าร่วมกิจกรรม โดยมีอุปกรณ์ป้องกัน หรือสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ ในกิจกรรมให้ปลอดภัย โดยให้ความรู้ มีมาตรการบังคับ ควบคุมการใช้อุปกรณ์ให้ถูกกับ กิจกรรมจะช่วยสร้างความปลอดภัยให้กับลูกเสือในการปฏิบัติกิจกรรม เช่น กิจกรรมบุกเบิก กิจกรรมผจญภัย และกิจกรรมเดินทางไกล ดังนี้ 2.1 กจิ กรรมบกุ เบิก 1. ลกู เสอื ต้องเตรียมความพรอ้ มทางรา่ งกายและจติ ใจ 2. ลูกเสือต้องมีระเบียบวินัย เช่ือฟังและปฏิบัติตามคาแนะนาของ ผกู้ ากับลกู เสอื 3. ลกู เสอื ตอ้ งตรวจเชค็ อุปกรณ์ในฐานบุกเบิก อย่างสมา่ เสมอ 4. ลูกเสือต้องไมก่ ลนั่ แกลง้ เพ่ือนขณะทากจิ กรรม 5. ลูกเสือต้องเตรียมพร้อมทางด้านความรู้ ศึกษากิจกรรม และทา ความเขา้ ใจกอ่ นเข้าร่วมกิจกรรม 2.2 กิจกรรมผจญภยั 1. ลูกเสือตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มทางร่างกายและจติ ใจ 2. ลูกเสือต้องมีระเบียบวินัย เช่ือฟังและปฏิบัติตามคาแนะนาของ ผ้กู ากับลกู เสอื 3. ลกู เสอื ต้องตรวจเช็คอปุ กรณ์ในฐานบกุ เบกิ อยา่ งสมา่ เสมอ 4. ลกู เสอื ตอ้ งไม่กลน่ั แกลง้ เพ่ือนขณะทากิจกรรม

88 5. ลูกเสือต้องเตรียมพร้อมทางด้านความรู้ ศึกษากิจกรรม และทา ความเข้าใจก่อนเข้ารว่ มกจิ กรรม 2.3 กิจกรรมเดนิ ทางไกล 1. ก่อนท่ีจะกาหนดเส้นทางการเดินทางไกล ลูกเสือต้องสารวจเส้นทาง และสารวจประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นนั้นตามสมควร หากจาเป็นต้องขออนุญาต ก็ต้อง ขออนุญาตผา่ นจากเจา้ ของสถานที่น้ัน ๆ 2. ในการกาหนดเส้นทางเดิน ลูกเสือควรเล่ียงการเดินตามถนนใหญ่ท่ีมี การจราจรคับคง่ั เพ่ือป้องกันการเกิดอบุ ตั ิเหตุ 3. ในระหว่างการเดินทางไกล ลูกเสือไม่ควรแข่งขันหรือแทรกกันเดิน ระหว่างหมู่ 4. ในระหว่างการเดินทางไกล ลูกเสือควรออกเดินทางเป็นหมู่ และต้อง ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของลกู เสือ และกฎจราจรอยา่ งเครง่ ครัด เพ่ือความปลอดภยั กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 3 การชว่ ยเหลอื เม่อื เกิดเหตุความไม่ปลอดภัยในการเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ (ให้ผเู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 3 ที่สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า) เร่อื งท่ี 4 การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ความปลอดภยั ลกู เสอื ต้องปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ความปลอดภัย ดงั น้ี ด้านร่างกาย ต้องเตรียมความพร้อมของร่างกาย การออกกาลังกาย รักษา รา่ งกายไม่ให้เจ็บปว่ ย พรอ้ มปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ได้ ด้านจิตใจ ควรศึกษาหาความรู้ในกิจกรรมลูกเสือโดยเฉพาะลูกเสือ กศน. เป็นการเตรียมความพร้อมด้านหนึ่งในการปฏิบัติตนเอง และพร้อมช่วยเหลือผู้อ่ืนได้ตาม ความเหมาะสม ลูกเสือต้องทาความเข้าใจในความหมายของคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เพื่อนามาใช้ในการอยู่ร่วมกันทั้งเวลาพบกลุ่มและการเข้าค่ายพักแรมร่วมกัน วิเคราะห์ สถานการณ์ความปลอดภัยความไม่ปลอดภัยและความเส่ียง วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย และนา ข้อบกพรอ่ งหรอื ชอ่ งทางทจ่ี ะป้องกันไวเ้ บอ้ื งต้น เป็นมาตรการในการอยู่ร่วมกันและการเข้าร่วม กจิ กรรม ดังน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook