Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

Published by angkasiya monkong, 2020-06-08 22:17:33

Description: แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ปลาย1-2563

Search

Read the Text Version

เป็ นพลงั งานธรรมชาติที่เกิดจากความรอ้ นที่ถกู กกั เกบ็ อยภู่ ายใตผ้ ิวโลก โดยปกตอิ ุณหภมู ิภายใตผ้ วิ โลกจะ เริ่มข้นึ ตามความลึก นน่ั คือ ยงิ่ ลึกลงไปอุณหภมู ิจะยงิ่ สูงข้ึนและในบริเวณส่วนล่างของช้นั เปลอื ก โลก (continental crust) หรือท่ีความลึกประมาณ 25-30 กิโลเมตร อุณหภมู ิจะมีคา่ อยใู่ นเกณฑเ์ ฉล่ีย ประมาณ 250-1,000°C ในขณะที่ตรงจุดศูนยก์ ลางของโลกอุณหภมู ิอาจสูงถึง 3,500 – 4,500°C พลงั งานความรอ้ น ใตพ้ ิภพมกั เกิดในบริเวณที่เรียกวา่ hot spots คือบริเวณที่มกี ารไหลหรือแผ่กระจายของความรอ้ นจากภายใตผ้ วิ โลกข้นึ มาสู่ ผวิ ดินมากกวา่ ปกติ และมีคา่ การเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิตามความลึก (geothermal gradient) มากกว่าปกติ ประมาณ 1.5 – 5 เท่า เพราะบริเวณดงั กล่าว ลกั ษณะธรณีวทิ ยาของเปลือกโลกมีการเคลอื่ นที่ ทาใหเ้ กิดแนวรอยแตกและ รอยเลื่อนของช้นั หิน ซ่ึงปกตขิ นาดของแนวรอยเล่ือนที่ผวิ ดินจะใหญ่และคอ่ ยๆ เล็กลง เม่ือลึกลงไปใตผ้ ิวดิน เม่ือฝนตกใน บริเวณน้ีจะมีน้าบางส่วนไหลซึมไปภายใตผ้ วิ โลกตามแนวรอยแตกน้นั น้าจะไปสะสมตวั และรบั ความรอ้ นจากช้นั หินที่มีความ รอ้ น จนกระทง่ั น้ากลายเป็ นน้าร้อน และไอน้าแลว้ พยายามแทรกตวั ตามแนวรอยเล่ือน รอยแตกของช้นั หินข้ึนมาบนผวิ ดิน และจะปรากฏใหเ้ ห็นในรูปของบ่อน้ารอ้ น น้าพุรอ้ น ไอน้ารอ้ น โคลนเดือดและก๊าซ 3. พลงั งานจากแหล่งพลังงานอ่นื หรือพลังงานชีวมวล พลงั งานชีวมวล หมายถึง พลงั งานท่ีไดจ้ ากพชื และสัตว์ ชีวมวลเป็ นสารอินทรียท์ ี่เป็ น ผลผลิตจาก สิ่งมีชีวติ โดยอาศยั แสงอาทิตย์ และคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากอากาศ สารอินทรียบ์ างชนิดสามารถใชเ้ ป็ นเช้ือเพลิงทาใหเ้ กิด พลงั งาน บางชนิดช่วยในการผลิตพลงั งานโดยเปลี่ยนสารอินทรียใ์ หอ้ ยใู่ นรูปเช้ือเพลิง ซ่ึงอาจเป็ นเช้ือเพลิงแขง็ เหลว หรือ กา๊ ซ แหล่งชีวมวลที่สามารถนามาใชเ้ ป็ นพลงั งาน ไดแ้ ก่ 1. วสั ดุเหลือในการเกษตร ไดแ้ ก่ แกลบ ข้ีเล่ือย ฟางขา้ ว ชานออ้ ย ซงั ขา้ วโพด วสั ดุเหล่าน้ีอาจนามาใช้ เป็ นเช้ือเพลิงไดห้ ลายวิธี เช่น - อดั เป็ นแท่งเพอ่ื ใชเ้ ป็ นเช้ือเพลิง - ใชเ้ ป็ นเช้ือเพลิงในการผลิตความร้อนไอน้า หรือไฟฟ้ า - ใชผ้ ลิตก๊าซเพอื่ ใชข้ บั เคลือ่ นเครื่องยนต์ 2. ฟื นและถ่านไม้ ใชผ้ ลิตกระแสไฟฟ้ าโดยตรง ผลิตก๊าซจากไม้ เรียกว่า กา๊ ซโปรดิวเซอร์

3. ขยะ สามารถนามาใชเ้ ป็ นพลงั งานได้ มีคุณค่าทางพลงั งาน โดยใหค้ วามรอ้ นถึง 1,200 กิโลแคลอรีตอ่ กิโลกรมั 4. แอลกอฮอล์ พืชท่ีสามารถใชเ้ ป็ นวตั ถุดิบสาหรบั ผลิตแอลกอฮอล์ ไดแ้ ก่ มนั สาปะหลงั และออ้ ย 5. พชื น้ามนั เป็ นพชื ที่สามารถนามาสกดั เอาน้ามนั ซ่ึงใชเ้ ป็ นเช้ือเพลิงตน้ กาลงั แก่เคร่ืองยนตด์ ีเซลได้ พืช น้ามนั แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ประเภทท่ใี ชเ้ ป็ นอาหารได้ ไดแ้ ก่ ถว่ั เหลือง ถวั่ ลิสง ละหุ่ง ขา้ วโพด และประเภทท่ีไม่ใช้ เป็ นอาหาร ไดแ้ ก่ พญาไรใ้ บหรือสบ่ดู า การจะนาพืชน้ามนั มาใชป้ ระโยชนจ์ ะตอ้ งคานึงว่าการใชพ้ ืชในการผลิตพลงั งานไม่ควร ขดั กบั การใชเ้ ป็ นอาหาร มีความเหมาะสมในทางเศรษฐกิจ ไม่มีความยงุ่ ยากในการสกดั และไมก่ ่อใหเ้ กิดปัญหากบั สภาวะ แวดลอ้ ม 6. กา๊ ซชีวภาพ เป็ นก๊าซท่ีไดจ้ ากมลู สตั ว์ พชื และวสั ดทุ ี่เหลอื จากอุตสาหกรรมการเกษตร นามาหมกั โดยใชจ้ ุลินทรียย์ อ่ ยสลายจะใหค้ าร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ และไฮโดรเจน การใช้พลงั งานไฟฟ้ าอย่างประหยดั และปลอดภยั การใชไ้ ฟฟ้ าใหป้ ลอดภยั และคมุ้ คา่ ตอ้ งรู้จกั เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้ าและเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าท่ีมีคุณภาพ รู้จกั วิธีใชท้ ี่ถกู ตอ้ ง และ วธิ ีป้ องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้ าลดั วงจร และไฟฟ้ าร่ัว การผลิตพลงั งานไฟฟ้ า ตอ้ งอาศยั พลงั งานจากแหล่งตา่ ง ๆ เช่น พลงั งานจากน้า น้ามนั และแกส๊ ธรรมชาติ จึงมีความจาเป็ น อยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งช่วยกนั ประหยดั พลงั งานและทรพั ยากรธรรมชาติเหล่าน้ีไวใ้ หใ้ ชไ้ ดน้ าน ๆ โดยเลือกใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้ าให้ เหมาะสมกบั สภาพความเป็ นอยู่ ความจาเป็ นที่จะตอ้ งใชแ้ ละจานวนสมาชิกภายในบา้ น เพอื่ จะไดใ้ ชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า ใหเ้ กิด ประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ ริงใชห้ ลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนตแ์ ทนหลอดไฟฟ้ า ปิ ดสวติ ซห์ รือถอดเตา้ เสียบทุก คร้ังเม่ือเลิกใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้ า พร้อมท้งั ตรวจสอบเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าทมี่ ีอยใู่ หอ้ ยใู่ นสภาพดอี ยเู่ สมอ วธิ ีใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างปลอดภยั และประหยดั พลงั งานไฟฟ้ า เคร่ืองรับโทรทศั น์ เคร่ืองรับวทิ ยุ • ปิ ดเคร่ืองทุกคร้ังเม่ือไม่มีคนดู • ควรถอดเตา้ เสียบใหเ้ รียบร้อยเมื่อเลิกใชง้ าน ไม่ควรปิ ดดว้ ยรีโมทคอนโทรล เพราะการปิ ด เครื่อง ดว้ ยรีโมทน้นั กระแสไฟฟ้ ายงั คงไหลผา่ นอยตู่ ลอดเวลา

โคมไฟ • ควรถอดเตา้ เสียบ เมื่อไม่ใชเ้ ป็นเวลานาน • ควรเลือกใชโ้ คมไฟแบบสะทอ้ นแสง เพราะจะทาใหค้ วามสวา่ ง มากข้ึน • ควรใชห้ ลอดฟลูออเรสเซนตป์ ระหยดั พลงั งาน (หลอดผอม) หรือหลอดคอมแพคฟลูออเรส เซนต์ แทนหลอดไฟฟ้ า เตารีดไฟฟ้ า • ตงั้ ป่ มุ ปรับความร้อนให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของผ้า • อย่าพรมนา้ จนเปี ยกแฉะ • ดึงเต้าเสยี บออกก่อนจะรีดเสร็จประมาณ 2 – 3 นาที แล้วรีดต่อไปจนเสร็จ • ควรรีดผ้าคราวละมาก ๆ ติดต่อกนั จนเสร็จ • ควรเร่ิมรีดผ้าบาง ๆ ก่อน • ถอดเต้าเสียบ ออกทกุ ครงั้ เม่ือเลกิ ใช้งาน

พดั ลม • เปิดระดบั ความเร็วของพดั ลมพอสมควร • ขณะเปิดพดั ลม ควรเปิดหน้าต่างเพื่อให้อากาศถา่ ยเทได้ดี ต้เู ยน็ ต้แู ช่ • เลอื กขนาดให้พอเหมาะกบั ความต้องการของครอบครวั • ควรวางต้เู ย็นในบริเวณท่ีอากาศถา่ ยเทได้ดี และไมเ่ กดิ ความร้อน • ตงั้ สวติ ซ์ควบคมุ อณุ หภมู ใิ ห้เหมาะกบั จานวนสงิ่ ของท่ีบรรจุ • อยา่ เปิดต้เู ย็นทงิ ้ ไว้นาน ๆ และไม่ควรนาอาหารร้อนมาแช่ • หมน่ั ละลายนา้ แข็งเมื่อเห็นวา่ นา้ แขง็ เกาะหนามาก เคร่ืองปรับอากาศ • ปิดเคร่ืองทกุ ครงั้ เมื่อไมไ่ ด้ใช้งาน

• ปิดประตหู น้าตา่ งให้สนทิ และติดตงั้ ผ้ามา่ นเพื่อกนั ความร้อนจากภายนอก • อณุ หภมู ทิ ่ีเหมาะสม และไม่สนิ ้ เปลืองพลงั งานไฟฟ้ า ควรอยทู่ ี่ประมาณ 25 0 C • ควรเลือกขนาดของเครื่องปรบั อากาศให้เหมาะสมกบั ขนาดของห้องที่จะติดตงั้ • ควรตดิ ตงั้ เครื่องให้อย่ใู นระดบั ท่ีสงู พอเหมาะ และให้อากาศร้อนระบายออกด้านหลงั เคร่ืองได้สะดวก • ควรบารุงรักษาเคร่ืองให้มีสภาพดีตลอดเวลา • ควรหมน่ั ทาความสะอาดแผน่ กรองอากาศ และแผงระบายความร้อน ข้อควรปฏบิ ตั ิในการใช้พลงั งานไฟฟ้ า 1. ใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟ้ าอยา่ งถูกวธิ ี 2. อุปกรณ์ไฟฟ้ าชารุดใหร้ ีบแกไ้ ขโดยช่างทม่ี ีความรู้ 3. ไม่ควรใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้ าหลายเครื่องจากเตา้ รับอนั เดียว 4. ไม่ควรติดต้งั อุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าเกินไป 5. ไม่ควรซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้ าโดยไม่มีความรู้ 6. สายไฟเปื่ อยหรือชารุด ใหร้ ีบแกไ้ ขโดยช่างทมี่ ีความรู้ 7. การใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้ าประเภทใหค้ วามร้อน ตอ้ งใชด้ ว้ ยความระมดั ระวงั อยา่ งมาก 8. สายไฟขาดอยา่ เขา้ ใกล้ 9. อยา่ ก่อสร้างใกลแ้ นวสายไฟแรงสูง ถา้ จาเป็นตอ้ งสร้างใกลแ้ นวสายไฟแรงสูง ตอ้ งเอา ฉนวนครอบสายไฟแรงสูงไวก้ ่อนชวั่ คราว

10. ก่ิงไมใ้ กลแ้ นวสายไฟเป็นอนั ตราย ไม่ควรตดั เองควรแจง้ ใหก้ ารไฟฟ้ าทราบ 11. ควรหลีกเลี่ยงการติดต้งั เสาเครื่องรับวทิ ยแุ ละเครื่องรับโทรทศั น์ใกลแ้ นวสายไฟฟ้ าแรงสูง

ใบงานท่ี 1 สาระความรพู้ ้ืนฐาน วิชาการใช้พลงั งานไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวัน (พว32023) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ********************************************************************************** ช่ือ-สกลุ ...............................................................รหสั นกั ศึกษา......................................................... คาชแ้ี จง ให้ผู้เรยี นทาเครือ่ งหมาย  หน้าขอ้ ความท่ีถูกตอ้ ง และเคร่อื งหมาย  หน้าขอ้ ความท่ผี ดิ (ขอ้ ละ 2 คะแนน) .......... 1. จากข้อมูลปี พ.ศ. 2553 แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้าสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และ นิวเคลยี ร์ .......... 2. ปัจจุบันมีการใช้ถ่านหินมาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา้ มากท่สี ุดในโลก เน่ืองจากเป็นเช้ือเพลอง ราคาถูก .......... 3. ทั่วโลกมีการกระตุ้นให้มีการใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดมาผลิตไฟฟ้ามากขนึ้ ส่งผลให้มีการใช้เชื้อเพลิง หมนุ เวยี น มากข้นึ นอกจากน้ยี งั มีแนวโนม้ ว่าจะมกี ารนาเอาพลังงานนิวเคลียรม์ าใช้มากขึน้ ดว้ ย ………. 4. แนวทางการจัดการดา้ นพลังงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เน้นการสรา้ งความม่ันคงทางดา้ น พลังงาน การเสรมิ สร้างความมน่ั คงของระบบไฟฟา้ โดยการเลือกใช้เชอ้ื เพลงิ เพียงอย่างเดยี วในการผลิตไฟฟา้ .......... 5. กล่มุ ประเทศอาเซยี นมกี ารใชก้ ๊าซธรรมชาตมิ าเป็นการผลิตเชอื้ เพลงิ ในการผลติ ไฟฟ้ามากท่สี ุด .......... 6. มีการสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกอาเซียนสารองน้ามันภายในประเทศของตน เพื่อความมั่นคง ทางด้านพลงั งานของแตล่ ะประเทศ .......... 7. ปัจจุบันกลุ่มประเทศอาเซียนได้มีการดาเนินโครงการผลิตและใช้พลังงานรว่ มกันอยู่ 2 โครงการ คือ โครงการเชอ่ื มโยงระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน และโครงการเช่อื มโยงท่อส่งกา๊ ซอาเซียน .......... 8. พลังงานนิวเคลียร์ เป็นพลังงานทางเลือกที่หลายประเทศในอาเซียนบรรจุไว้ในแผนพลังงานตนเอง เพื่อ เตรียมรองรับความต้องการไฟฟา้ ท่มี ากขึ้น .......... 9. จากข้อมูลปี พ.ศ. 2555 ประเทศไทยมีการใช้ถ่านหินมาผลิตไฟฟ้าสูงที่สุด ..........10. การผลิตไฟฟ้าในประเทศไทยมาจากหน่วยงานของรัฐหน่วยงานเดียวเท่านั้น คือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย

ก๊าซธรรมชาติ 1. ก๊าซธรรมชาติคืออะไร กา๊ ซธรรมชาติ คือ ส่วนผสมของก๊าซไฮโดรคารบ์ อน และสงิ่ เจือปนต่างๆในสภาวะก๊าซ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนทพ่ี บในธรรมชาติ ไดแ้ ก่ มเี ทน อเี ทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน เป็นต้น ส่งิ เจือปนอืน่ ๆท่ีพบใน กา๊ ซธรรมชาติ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนไดซัลไฟด์ เปน็ ต้น กา๊ ซธรรมชาติเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทม่ี ีสารสาคัญ 2 ชนิด คือ ไฮโดรเจน (H) กบั คาร์บอน (C) รวมตวั กันในสดั สว่ นของอะตอม ทีต่ ่างๆกนั โดยเริ่มตั้งแต่สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนอนั ดบั แรกทม่ี ีคารบ์ อน เพยี ง 1 อะตอม กบั ไฮโดรเจน 4 อะตอม มีชือ่ เรียกโดยเฉพาะว่า \"ก๊าซมีเทน\" จนกระทัง่ มีคารบ์ อนเพิ่มมากขึน้ ถึง 8 อะตอม กับไฮโดรเจน 18 อะตอม มชี ือ่ เรยี กวา่ \"อ๊อกเทน\" 2. การเกดิ กา๊ ซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเกดิ จาก การสะสมและทบั ถมกันของซากพืชซากสตั ว์ สะสมเป็นเวลานาน จนเกิดการ รวมตัวกนั เป็นก๊าซธรรมชาติ ซ่ึงประกอบ ดว้ ย สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนต่างๆ ไดแ้ ก่ มีเทน อเี ทน โพรเพน เพนเทน เฮกเซน เฮปเซน และสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน อนื่ ๆ อีก นอกจากน้ีมีส่ิงเจือปนอน่ื ๆอกี เช่น กา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ฮเี ลยี ม ไนโตรเจนและไอน้า เปน็ ต้น ก๊าซธรรมชาตทิ ีไ่ ด้จากแหลง่ อาจประกอบด้วยกา๊ ซมีเทนล้วนๆ หรืออาจจะมีก๊าซไฮโดรคารบ์ อนชนดิ อน่ื ๆ ปนอยบู่ ้าง ท้ังนี้ขน้ึ อยูก่ ับ สภาพแวดล้อมของแหล่งธรรมชาตแิ ตล่ ะแห่งเป็นสาคญั แตโ่ ดยทัว่ ไปแล้ว ก๊าซ ธรรมชาตจิ ะประกอบด้วยก๊าซมเี ทนตงั้ แต่ 70 เปอร์เซนต์ขน้ึ ไป และมกี า๊ ซไฮโดรคารบ์ อนชนดิ อื่นปนอยู่บ้าง กา๊ ซธรรมชาตทิ ีป่ ระกอบด้วยมีเทนเกอื บทง้ั หมด เรียกว่า \" ก๊าซแหง้ (dry gas)\" แตถ่ ้ากา๊ ซธรรมชาติใดมพี วกโพ รเพน บวิ เทน และพวกไฮโดรคารบ์ อนเหลวหรือก๊าซโซลีนธรรมชาติ เช่น เพนเทน เฮกเทน ฯลฯ ปนอยูใ่ น อัตราทีค่ ่อนขา้ งสงู เรยี กกา๊ ซธรรมชาตินวี้ ่า \"กา๊ ซช้ืน (wet gas)\" ก๊าซธรรมชาติทปี่ ระกอบด้วยมีเทนหรอื อีเทนหรอื ท่ีเรยี กวา่ กา๊ ซแหง้ นั้นจะมสี ถานะเป็นกา๊ ซที่อุณหภมู ิและ ความดันบรรยากาศ ดังน้ัน การขนส่งจงึ จาเป็นต้องวางท่อสง่ กา๊ ซ ส่วนกา๊ ซชื้นท่ีมโี พรเพนและบวิ เทน ซึ่งทว่ั ไป มปี นอยปู่ ระมาณ 4 – 8 เปอร์เซ็นต์ จะมีสถานะเป็นกา๊ ซ ท่ีอุณหภูมแิ ละความดนั บรรยากาศเช่นกนั เรา สามารถแยกโพรเพนและบิวเทนออกจากก๊าซธรรมชาตไิ ด้แล้วบรรจุลงในถงั กา๊ ซ เรียกก๊าซนว้ี า่ กา๊ ซปโิ ตรเลียม เหลวหรือ LPG(Liquefied Petroleum Gas) ส่วนกา๊ ซธรรมชาติเหลวหรอื ก๊าซโซลนี ธรรมชาติ ซึ่งเรียกกันว่า \"คอนเดนเซท\" (Condensate) คือ พวกไฮโดรคาร์บอนเหลว ไดแ้ ก่ เพนเทน เฮกเซน เฮปเทน และอ๊อกเทน ซ่ึงมสี ภาพเปน็ ของเหลว เม่อื ผลิตขน้ึ มาถึงปากบอ่ บนแท่นผลติ สามารถแยกออกจากก๊าซธรรมชาตไิ ด้บนแทน่ ผลิต การขนส่งอาจลาเลยี งทางเรอื หรือสง่ ไปตามทอ่ ได้ 3. พฒั นาการของกา๊ ซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ ซึง่ คร้ังหนง่ึ เป็นสิง่ ทไ่ี ม่ตอ้ งการ เนื่องจากมกี ารใชพ้ ลังงานน้อย และมีนา้ มันดิบอยเู่ หลอื เฟอื เกนิ ความต้องการ แต่ในปัจจุบนั น้ี กา๊ ซธรรมชาตถิ ูกนามาใช้ทดแทนน้ามนั มากข้ึน ทง้ั น้เี นื่องจากน้ามันเหลือ น้อยลงน่ันเอง และราคานา้ มันของโลกกส็ ูงขึน้ ประกอบกบั ก๊าซธรรมชาติจดั เป็นเช้ือเพลงิ ที่สะอาด ดงั นนั้ ดว้ ย เหตุน้ีจึงไดม้ ีการพฒั นาในการนากา๊ ซธรรมชาตมิ าใช้เปน็ พลงั งานทดแทน มากข้นึ ในขณะนป้ี ระเทศไทยไดใ้ ช้ กา๊ ซธรรมชาตเิ ป็นเชอ้ื เพลิงแลว้ โดยได้ทดลองใช้กับรถประจาทางของขนส่งมวลชนและรถแท๊กซ่ี จานวนหนงึ่ ซึ่งตอ่ ไปจะพฒั นาระบบและอานวยความสะดวกเกี่ยวกบั สถานีบริการท่ีรองรับสาหรับผู้ใช้กา๊ ซธรรมชาติ และ ทางภาคอตุ สาหกรรม ไดน้ ากา๊ ซธรรมชาตไิ ปใช้ทดแทนน้ามันและกา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลวแลว้ ซึ่งในอนาคตกา๊ ซ ธรรมชาติจะมีบทบาทมากขึน้ เมอื่ เปรยี บเทียบกับน้ามัน และก๊าซปโิ ตรเลียมเหลว ทัง้ น้ีเน่อื งจากราคาของ

น้ามันและก๊าซปโิ ตรเลยี มเหลวจะสูงขึ้นเรอื่ ยๆเม่อื เทียบกับราคาก๊าซธรรมชาติ จงึ นับวา่ ก๊าซธรรมชาตเิ ป็น ทรัพยากรทส่ี าคญั ยิง่ และควรจะสนบั สนนุ และอกี ประการหนึง่ เพื่อลดการนาเขา้ น้ามนั ได้อกี ดว้ ย (ทีม่ า : 1. เอกสารวิชาการ กองควบคุมนา้ มนั เชื้อเพลงิ และก๊าซ กรมโยธาธิการ 2. เอกสารประกอบการสอน วชิ าวศิ วกรรมแกส๊ ธรรมชาติ โดย ดร. ธารงรตั น์ ม่งุ เจรญิ ภาควชิ าวิศวกรรมเคมี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์) เรียบเรียงโดย : สานกั ความปลอดภัยธุรกิจกา๊ ซธรรมชาติ กรมธรุ กจิ พลงั งาน กระทรวงพลังงาน การสารวจหาแหล่งกา๊ ซธรรมชาตแิ ละการขุดเจาะ ก๊าซธรรมชาติ มักมีการค้นพบในแหลง่ เดียวกนั กับนา้ มนั ดิบและจะถูกนาขนึ้ มาพรอ้ มๆกัน กา๊ ซจะถกู แยก ออกจากนา้ มนั การสารวจเริม่ จากการ ศึกษาสภาพภูมปิ ระเทศและสภาพทางธรณวี ิทยา อยา่ งไรกต็ าม การ สารวจภาคพนื้ ดินจะไดข้ อ้ มูลคร่าวๆ ซึ่งจะนามาใช้ในการคาดคะเนวา่ มีนา้ มนั ดบิ หรือ กา๊ ซธรรมชาติสะสมตัว อยหู่ รือไม่ แตจ่ ะไมท่ ราบแนช่ ดั จะต้องทาการขุดเจาะสารวจ เสียก่อน การศกึ ษาสภาพภมู ิประเทศได้จาก การศกึ ษาแผนที่ทางธรณวี ิทยา ตัวอย่างหิน ภาพถ่ายจากดาวเทยี ม การสารวจโครงสร้าง ทางธรณวี ิทยาของ ชน้ั หนิ ใต้พ้ืนดิน ใช้วิธกี ารทางธรณีฟสิ กิ ส์ เชน่ การวัดค่าสนามแม่เหล็ก การวดั แรงดงึ ดูดของโลก การวดั ความ ไหวสะเทือนของช้นั หนิ ซงึ่ แตล่ ะชนั้ หินจะให้ค่าออกมาตา่ งกนั ในการสารวจสภาพทางธรณีวิทยา การสารวจความไหวสะเทอื นโดยระบบ Seismic มคี วามสาคัญมาก ผลความไหวสะเทอื น ท่ไี ด้ออกมา จะทาให้ทราบลักษณะโครงสรา้ งของช้ันหิน ซึ่งจากขอ้ มูลเกา่ ๆทางด้าน ธรณวี ทิ ยาจะแสดงให้เหน็ วา่ บรเิ วณนัน้ ๆ จะเป็นแหลง่ สะสมของน้ามนั หรอื ไม่ จากการทา Seismic หลายๆจุด จะทาให้สามารถวาดภาพลกั ษณะโครงสรา้ งทางธรณวี ิทยาได้ การศกึ ษาสภาพภูมิประเทศและโครงสรา้ งทาง ธรณีวิทยาจะทาให้ ้ทราบเพียงวา่ อาจจะมีนา้ มันดบิ หรือก๊าซธรรมชาตอิ ยเู่ ท่านั้น ถา้ ให้แน่ชัดตอ้ งทาการเจาะ สารวจอกี ครั้ง ซึง่ ในการเจาะสารวจจะมกี ารศึกษาเพิ่มเติมจากตัวอย่าง หินและเครอื่ งมือท่ตี ดิ ไปกบั แท่นขดุ เจาะ การขดุ เจาะเพ่อื สารวจใหแ้ นช่ ดั ว่ามีน้ามันดิบหรือก๊าซธรรมชาติสะสมตวั หรอื ไมน่ บั เปน็ ขน้ั ตอนทส่ี าคญั มาก เครื่องมือขดุ เจาะมลี ักษณะเป็นแบบสว่าน หมนุ ส่วนประกอบทีส่ าคัญประกอบด้วย หวั เจาะ ท่อเจาะ แท่นยึด และเครื่องยนต์ ซ่งึ ทาหน้าที่หมุนและดันหวั เจาะลงไปใต้พื้นดนิ เน่อื งจากทอ่ เจาะแตล่ ะทอ่ นยาวประมาณ 10 เมตร ดงั นัน้ การขุดเจาะจะตอ้ งหยดุ เพอ่ื ทาการต่อท่อทกุ ระยะ 10 เมตร และหัวเจาะท่ีใช้กอ็ าจทอื่ และ จาเป็นต้องเปล่ียนบอ่ ยๆ การท่จี ะเปลย่ี นหัวเจาะจะตอ้ งถอนท่อเจาะ ทีเ่ จาะไปแลว้ ทง้ั หมดออกมา แลว้ เร่ิมขดุ เจาะใหม่ ซงึ่ ระหวา่ งการขดุ เจาะก็อาจมีปัญหาเกิดขนึ้ มากมาย ไดแ้ ก่ ดินถล่ม หินพังทลาย ในระหว่างการถอน ท่อเจาะออกเพ่ือเปล่ียนหัวเจาะ จงึ จาเป็นต้องใส่ปลอกกันบอ่ พังเสยี กอ่ นที่จะทาการถอนท่อและบางครัง้ ทอ่ เจาะ เมือ่ เจาะลงลึกๆ กอ็ าจมีการหักได้ การแกไ้ ขตอ้ งนาทอ่ เจาะขน้ึ มา กอ่ นทาการเจาะตอ่ แหล่งกา๊ ซธรรมชาติ NGVคืออะไร แหล่งกา๊ ซธรรมชาติ ได้มาจากแหล่งตา่ ง ๆ ทั้งในทะเลและบนบก รวมทงั้ การนาเขา้ จากประเทศเมียนมาร์ จากแหล่งยาคานา และแหล่งเยตากนุ ส่วนแหลง่ ในประเทศได้จากแหล่งเอราวณั บงกช ยโู นแคล 2 และ 3 ทานตะวัน ไพลนิ การแยกกา๊ ซธรรมชาติ คือ การแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึง่ ปะปนกนั หลายชนดิ ตามธรรมชาติ ออกจากกา๊ ซธรรมชาติ มาเปน็ กา๊ ซชนดิ ตา่ ง ๆ เพ่ือนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ามคุณสมบตั ิ และคุณค่าของกา๊ ซ น้นั ๆ โรงแยกก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย เกิดขึ้นหลงั จากทม่ี ีการนาก๊าซธรรมชาติซง่ึ คน้ พบในอา่ วไทยมาใช้

ประโยชน์ เพื่อทดแทนการใชน้ า้ มนั ดบิ ทตี่ ้องนาเข้าจากต่างประเทศ กา๊ ซธรรมชาตปิ ระกอบดว้ ยสาร ไฮโดรคารบ์ อนทเ่ี ป็นประโยชน์ สามารถแยกออกมาใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากกวา่ การนาไปใชเ้ ปน็ เชื้อเพลิง เพียง อยา่ งเดียว ก๊าซธรรมชาติใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ดว้ ยการใช้เปน็ เช้อื เพลิงสาหรบั การผลิตกระแสไฟฟ้า หรอื ใน โรงงานอตุ สาหกรรม เชน่ อุตสาหกรรมการทากระจก อตุ สาหกรรมเซรามคิ อุตสาหกรรมสขุ ภณั ฑ์ ฯลฯ และ เมือ่ นาไปอดั ใส่ถงั ด้วยความดนั สงู กน็ าไปใชเ้ ปน็ เชื้อเพลิงสาหรบั รถยนตไ์ ด้ เรยี กว่ากา๊ ซธรรมชาตสิ าหรบั รถยนต์ (Natural Gas for Vehicles : NGV) ผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ หลังกระบวนการแยกของโรงแยกกา๊ ซ ก๊าซธรรมชาตมิ สี ารประกอบท่ีเป็นประโยชน์ เม่อื ผา่ นกระบวนการแยกที่โรงแยกกา๊ ซแล้ว จะไดผ้ ลิตภัณฑ์ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1.กา๊ ซมเี ทน (C1) : ใช้เป็นเชอื้ เพลงิ สาหรบั ผลติ กระแสไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม และนาไปอัดใส่ถงั ดว้ ยความดนั สงู เรยี กวา่ ก๊าซธรรมชาติอัด สามารถใช้เปน็ เชอ้ื เพลงิ ในรถยนต์ รู้จักกันในชือ่ ว่า “กา๊ ซธรรมชาติ สาหรับยานยนต์” (Natural Gas for Vehicles : NGV) 2.กา๊ ซอีเทน (C2) : ใช้เปน็ วตั ถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมขี นั้ ตน้ สามารถนาไปใช้ผลิตเม็ดพลาสติก เส้น ใยพลาสตกิ ชนดิ ต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้แปรรูปต่อไป 3.ก๊าซโพรเพน (C3) และก๊าซบวิ เทน (C4) : ก๊าซโพรเพนใช้เป็นวตั ถดุ ิบในอตุ สาหกรรมปิโตรเคมี ขน้ั ต้นได้ เชน่ เดียวกนั และหากนาเอากา๊ ซโพรเพนกบั ก๊าซบิวเทนมาผสมกนั อัดใสถ่ งั เปน็ กา๊ ซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas : LPG) หรือทีเ่ รยี กว่ากา๊ ซหงุ ตม้ สามารถนาไปใชเ้ ป็นเชอ้ื เพลงิ ในครัวเรอื น เป็น เชือ้ เพลงิ สาหรับยานยนต์ และใช้ในการเช่ือมโลหะไดร้ วมทงั้ ยงั นาไปใชใ้ นโรงงานอตุ สาหกรรมบางประเภทได้ อีกดว้ ย 4.ไฮโดรคารบ์ อนเหลว (Heavier Hydrocarbon) : อยู่ในสถานะท่ีเปน็ ของเหลวทอี่ ุณหภูมแิ ละความดัน บรรยากาศ เม่ือผลิตขึน้ มาถงึ ปากบ่อบนแทน่ ผลติ สามารถแยกจากไฮโดรคาร์บอนทีม่ ีสถานะเป็นกา๊ ซบนแท่น ผลติ เรยี กวา่ คอนเดนเสท (Condensate) สามารถลาเลยี งขนสง่ โดยทางเรอื หรอื ทางท่อ นาไปกลั่นเปน็ น้ามัน สาเร็จรปู ต่อไป 5.ก๊าซโซลีนธรรมชาติ : แม้วา่ จะมีการแยกคอนเดนเสทออกเมือ่ ทาการผลิตขึน้ มาถึงปากบ่อบนแท่นผลิต แล้ว แต่กย็ ังมีไฮโดรคาร์บอนเหลวบางส่วนหลุดไปกับไฮโดรคารบ์ อนที่มีสถานะเปน็ ก๊าซ เมอ่ื ผา่ นกระบวนการ แยกจากโรงแยกกา๊ ซธรรมชาตแิ ล้ว ไฮโดรคาร์บอนเหลวนีก้ ็จะถกู แยกออก เรยี กวา่ กา๊ ซโซลนี ธรรมชาติ หรือ NGL (natural gasoline) และสง่ เขา้ ไปยงั โรงกลั่นนา้ มัน เปน็ สว่ นผสมของผลิตภัณฑ์น้ามนั สาเร็จรูปได้ เช่นเดยี วกับคอนเดนเสท และยงั เป็นตวั ทาละลาย ซงึ่ นาไปใชใ้ นอุตสาหกรรมบางประเภทไดเ้ ชน่ กนั 6.ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ : เมื่อผ่านกระบวนการแยกแล้ว จะถกู นาไปทาใหอ้ ยใู่ นสภาพของแขง็ เรียกวา่ น้าแขง็ แหง้ นาไปใชใ้ นอตุ สาหกรรมถนอมอาหาร อุตสาหกรรมนา้ อดั ลมและเบยี ร์ ใช้ในการถนอมอาหาร ระหวา่ งการขนส่ง นาไปเปน็ วัตถุดิบสาคญั ในการทาฝนเทยี ม และนาไปใช้สร้างควนั ในอุตสาหกรรมบันเทงิ อาทิ การแสดงคอนเสริ ์ต หรอื การถ่ายทาภาพยนต์ ก๊าซธรรมชาติ อยใู่ นสภาพสถานะต่าง ๆ ดังนี้ 1.Pipe Natural Gas เป็นการขนสง่ กา๊ ซธรรมชาตทิ างทอ่ ซงึ่ เป็นก๊าซมีเทนเป็นสว่ นใหญ่ การขนส่งดว้ ย ระบบทอ่ จะนาไปเปน็ เชื้อเพลิงในการผลติ กระแสไฟฟา้ และในโรงงานอตุ สาหกรรม 2.NGV หรอื Natural Gas for Vehicles เป็นการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเช้อื เพลิงสาหรบั รถยนต์ ซงึ่ สว่ น

ใหญ่เป็นกา๊ ซมีเทน การขนสง่ กา๊ ซธรรมชาตมิ าทางท่อและขนสง่ ทางรถยนต์ เขา้ สสู่ ถานีบรกิ าร และเขา้ ส่รู ะบบ ขบวนการในการบรรจุลงในถงั เกบ็ ก๊าซของรถยนตต์ อ่ ไป 3.LNG หรือ Liquefied Natural Gas เป็นการขนส่งด้วยเรือท่ีออกแบบไวเ้ ฉพาะ โดยการทาก๊าซ ธรรมชาติใหก้ ลายเปน็ ของเหลว เพอื่ ใหป้ ริมาตรลดลงประมาณ 600 เท่า โดยทวั่ ไปจะมีอุณหภูมิ -160 องศา เซลเซยี ส NGV คืออะไร NGV ยอ่ มาจาก Natural Gas for Vehicles เปน็ กา๊ ซธรรมชาติท่ใี ชเ้ ป็นเช้ือเพลงิ สาหรบั รถยนต์ มี สว่ นประกอบหลกั คือกา๊ ซมเี ทน ซึ่งมคี ณุ สมบัติเบากว่าอากาศ ส่วนใหญจ่ ะใชง้ านอยูใ่ นสภาพเปน็ ก๊าซท่ถี กู อัด จนมีความดนั 3,000 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว บางครั้งเรียกก๊าซนี้ว่า CNG ซึง่ ยอ่ มาจาก Compressed Natural Gas หรือกา๊ ซธรรมชาตอิ ดั สถานบี รกิ าร NGV สถานบี ริการ หมายถึง สถานีบรกิ ารก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเปน็ สถานีท่ีทีม่ ไี วใ้ นครอบครองกา๊ ซธรรมชาตทิ ่ีเป็น จุดเก็บรวมหรอื จุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ เพื่อใหบ้ รกิ ารหรอื จาหนา่ ยกา๊ ซแกย่ านพาหนะ ซึง่ ประกอบด้วยถังเก็บ และจ่ายก๊าซ ระบบทอ่ เครอื่ งสบู อดั กา๊ ซและอุปกรณเ์ คร่ืองมอื ตลอดจนระบบ ความปลอดภัยทีเ่ ก่ียวข้อง รวมถึงอาคารบรกิ าร สิ่งปลูกสรา้ งต่าง ๆ ตลอดจนบรเิ วณสถานที่ดังกล่าว เพอ่ื ใช้ในการน้ี ลักษณะของสถานี บรกิ าร NGV 1. สถานีบริการ NGV แบบทว่ั ไป ต้งั อยตู่ ามแนวทอ่ ส่งกา๊ ซธรรมชาติ และบรรจุก๊าซลงถังสง่ ให้สถานี บริการ NGV ท่ีอยใู่ กล้ชุมชนและห่างไกลแนวท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และสามารถบรรจุจาหน่ายกา๊ ซแก่ ยานพาหนะได้ด้วย 2. สถานีบริการ NGV แบบอยหู่ ่างแนวทอ่ ส่งก๊าซธรรมชาติ ส่วนใหญจ่ ะตง้ั อย่ใู กลช้ มุ ชนบรเิ วณท่ไี ม่มีแนว ท่อก๊าซธรรมชาตผิ ่าน ต้องรับกา๊ ซจากสถานบี ริการ NGV แบบทัว่ ไป โดยการขนสง่ ทางยานพาหนะขนส่งก๊าซ จงึ จะทาการบรรจจุ าหน่ายกา๊ ซแก่ยานพาหนะได้ และทตี่ ง้ั ของสถานีบริการ NGV ลักษณะนสี้ ่วนใหญ่ตง้ั อยู่ ร่วมกับสถานบี รกิ ารน้ามันเชือ้ เพลงิ หรอื สถานีบริการกา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว แนวโน้มการใช้ NGV ภายในประเทศและต่างประเทศ การใชก้ ๊าซ NGV ภายในประเทศ ไดม้ ีการกาหนดเป็นนโยบายดา้ นพลังงานของประเทศท่ตี อ้ งการใหม้ ีการ ขยายการใช้กา๊ ซ NGV ในภาคคมนาคมขนสง่ เพ่ือบรรเทาความเดอื ดรอ้ น เนอื่ งจากปญั หาราคานา้ มันท่สี งู ขึ้น และปัญหาดา้ นมลพิษด้วย และขณะนไ้ี ด้มีรถแท็กซ่ีทตี่ ดิ ตง้ั เคร่อื งยนต์ใช้ NGV แล้วจานวนหนงึ่ ซึ่งในอนาคต ขา้ งหนา้ จะมีการตดิ ตงั้ เพ่มิ ขึน้ อีก เพอื่ รองรับการขยายตวั การเปิดสถานีบรกิ าร NGV โดยปัจจุบนั ปตท. ได้ เปดิ ให้บรกิ ารสถานบี รกิ าร NGV แลว้ จานวน 8 สถานี ได้แก่ 1. สถานีบรกิ าร NGV รังสติ ที่ อู่รถ ขสมก. รังสติ 2. สถานบี ริการ ปตท. หจก. ศรเี จรญิ ภัณฑ์ ถนนวิภาวดรี งั สติ 3. สถานบี รกิ าร ปตท. กิมจนี ถนนพหลโยธนิ 4. สถานบี รกิ าร ปตท. สวัสดกิ ารรถไฟ ถนนกาแพงเพชร 2 5. สถานีควบคมุ ความดันกา๊ ซฯ ปตท. ถนนสขุ มุ วิท จังหวดั สมุทรปราการ 6. สถานีบรกิ าร ปตท. ถนนกรุงเทพ – นนทบุรี 7. สถานบี ริการ ปตท. ถนนพัฒนาการ 8. สถานบี รกิ าร ปตท. ถนนพระรามที่ 3

และจากขอ้ มูลของโครงการกา๊ ซธรรมชาติ สาหรบั ยานยนต์ บรษิ ัท ปตท. จากดั (มหาชน) พบวา่ จะมกี ารเพิ่ม จานวนสถานบี ริการ NGV เปน็ 120 สถานี ภายในปี 2551 เพื่อรองรับการเพ่มิ ข้ึนของจานวนรถยนต์ท่ใี ช้กา๊ ซ NGV ในอนาคต ส่วนการขยายจานวนรถยนต์ใช้กา๊ ซ NGV ปตท. มโี ครงการทจี่ ะทาการดดั แปลงรถแท็กซแี่ ละ รถยนต์ของหน่วยงานราชการ โดยจะเริม่ จากรถโดยสาร ขสมก. และรถเก็บขยะของกทม. ก่อน และจงึ จะ ขยายจานวนไปยังรถ กลุม่ อ่นื ตอ่ ไป

ใบงานที่ 2 สาระความรู้พนื้ ฐาน วชิ าการใช้พลงั งานไฟฟ้าในชวี ิตประจาวัน (พว32023) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ********************************************************************************** ชอ่ื -สกลุ ...................................................รหสั นักศกึ ษา.............................................................................. คาช้ีแจง ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ประเทศไทยมกี ารซ้อื ก๊าซธรรมชาติมาผลิตไฟฟ้าจากประเทศใด (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................. 2. การเลอื กใช้เช้อื เพลิงมาผลิตไฟฟา้ ไม่จาเป็นต้องคานงึ ถึงความเหมาะสมด้านใด (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................. 3. โรงไฟฟ้าประเภทใดที่เหมาะสมนามาผลิตไฟฟา้ ตามความตอ้ งการไฟฟ้าพ้ืนฐาน (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................. 4. ในการจัดทาแผนกาลงั ผลติ ไฟฟ้าของประเทศ (PDP) ต้องพิจารณาสิ่งใดบ้าง (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

10 แหลง่ พลงั งานทดแทน เพ่อื การผลิตไฟฟา้ แหง่ อนาคต เราทราบกันดวี า่ เช้ือเพลิงฟอสซลิ เปน็ ทรพั ยากรท่ีมอี ย่อู ยา่ งจากัด และคาดว่าในไม่ช้า เช้อื เพลงิ ชนิดนีจ้ ะ หมดไป เมอื่ ถงึ ตอนนั้นเราจะใช้เชือ้ เพลิงจากท่ีไหนเพอ่ื เปน็ แหลง่ พลังงาน…. คาตอบก็คือ “พลงั งาน ทดแทน” ซึง่ จะกลายเป็นแหล่งพลงั งานหลกั ตอ่ ไป แต่เมอื่ กล่าวถึง “พลังงานทดแทน” คนส่วนใหญ่ อาจจะนึกไปถงึ พลงั งานอย่าง พลังงานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม และพลงั งานน้า ซึ่งเปน็ พลงั งานทางเลอื ก ทเ่ี ปน็ พลังงานทดแทนที่ใชก้ ันมานานแลว้ แตน่ อกจากพลังงานเหล่าน้ี ยังมีคนอกี จานวนหน่งึ ทพ่ี ยายาม ค้นคว้า วิจยั และศึกษาหาความเปน็ ไปไดท้ จี่ ะนาพลงั งานทางเลือกรปู แบบอนื่ ๆ ท่ีเปน็ พลังงานสะอาด และมีประสทิ ธภิ าพสูงกว่าท่ีมีใชอ้ ยู่ในปัจจบุ ันมาเป็นพลังงานทดแทนของเรา ซึ่ง 10 แหล่งพลังงาน ทดแทน ทค่ี าดว่าในอกี 50 ปขี า้ งหน้า อาจกลายเป็นหนง่ึ ในแหล่งพลงั งานทางเลอื กทม่ี นุษยจ์ ะสามารถ นามาใชไ้ ด้ ประกอบด้วย 1. พลังงานเซลลแ์ สงอาทติ ย์จากหว้ งอวกาศ (Space-Based Solar Power) จากขอ้ เท็จจริงท่ีวา่ พลังงานแสงอาทติ ย์กว่า 55-60% นนั้ ไม่สามารถผา่ นชนั้ บรรยากาศของโลกมาได้ ดงั นั้น การผลติ ไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ที่อยบู่ นพ้นื โลกจึงใช้พลงั งานจากแสงอาทติ ย์ได้ไมเ่ ต็มท่ี นอกจากน้ี การผลติ ไฟฟ้าบนพ้ืนโลกยังมีขอ้ จากัด เพราะผลติ ได้เฉพาะในช่วงกลางวัน พนื้ ทต่ี งั้ กต็ ้องเปน็ พืน้ ท่ีเปิดโล่ง สภาพ ภมู อิ ากาศก็ต้องเหมาะสม ทาให้บางประเทศไมส่ ามารถผลิตพลังงานจากแสงอาทิตยไ์ ด้ ดว้ ยข้อจากัดน้ี จงึ มีผู้ คดิ คน้ ว่าหากสามารถติดตง้ั โซลาร์เซลลน์ อกโลก เชน่ เดียวกบั การตดิ ต้ังเซลลแ์ สงอาทิตย์ของดาวเทียมแลว้ ขอ้ จากดั เหลา่ นี้จะหมดไป อกี ทัง้ ยงั สามารถผลิตไฟฟ้าไดอ้ ย่างมหาศาลอีกดว้ ย ปจั จบุ นั นกั วจิ ัยจงึ มคี วามพยายามท่จี ะทดลอง วิจัยหาความเปน็ ไปได้ ที่จะติดตั้งโซลาร์เซลล์ในอวกาศ เพอื่ ผลติ ไฟฟา้ และส่งพลังงานทผี่ ลิตไดก้ ลับมายงั สถานพี ลงั งานบนพ้นื โลกในรูปแบบของคล่ืนไมโครเวฟ โดยให้ แนใ่ จว่าการส่งพลงั งานดงั กล่าวจะไม่เกิดการสญู เสียพลงั งาน และไมส่ ง่ ผลกระทบใด ๆ ตอ่ โลก ซ่งึ ก็มคี วามคบื หน้าเกย่ี วกับการทดลองวจิ ยั ในเรอ่ื งนี้ โดยเม่อื เดอื นมนี าคม ปี 2015 สานักงานสารวจอวกาศ ญปี่ ุ่น (JAXA) เปดิ เผยว่าพวกเขาประสบความสาเร็จในการแปลงกระแสไฟฟ้าขนาด 1.8 กิโลวัตต์ให้เปน็ ไมโครเวฟ หลังจากท่พี วกเขาสง่ พลังงานแบบไร้สายเป็นระยะทาง 50 เมตรได้แลว้ นอกจากนี้ ในปีน้ี (2019) จนี ก็เปน็ อกี หนึง่ ประเทศท่มี คี วามพยายามท่จี ะทาการทดลองผลติ ไฟฟา้ จากโซลาร์ เซลล์จากหว้ งอวกาศ โดยล่าสุดได้เรม่ิ ทดลองตามแนวคดิ นแ้ี ล้วทีเ่ มืองฉงช่งิ ทางตะวนั ตกเฉียงใต้ของประเทศ จนี บนพื้นท่กี วา่ 33 เอเคอร์ ด้วยทุนสนบั สนุนเรม่ิ ตน้ ที่ 15 ลา้ นเหรยี ญฯ เพื่อทาการทดสอบหาวธิ ีการทด่ี ที ่ีสุด ในการส่งพลังงานจากวงโคจรในห้วงอวกาศรอบโลกมายังพนื้ โลก 2. พลังงานจากร่างกายมนษุ ย์ (Human Power) ผเู้ ชียวชาญหลายคนเชอ่ื ว่าวิธีการทง่ี ่ายทส่ี ุดในการสร้างพลงั งานหมนุ เวียน คือ ผา่ นร่างกายของมนุษยเ์ อง โดย แนวคดิ น้มี าจากแนวคดิ ที่วา่ ในปจั จบุ ันอปุ กรณ์ไฟฟ้าตา่ ง ๆ ใช้ไฟฟา้ ที่น้อยกว่าในอดตี มาก ดังนนั้ การผลติ

ไฟฟา้ ขนาดเล็กก็เพียงพอทจี่ ะจา่ ยเป็นพลังงานใหก้ ับอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนดิ ขนาดเล็กจานวนมากได้ โดยผลิต พลังงานผา่ นการเคลือ่ นไหวของรา่ งกายเราเอง เพยี งแค่ใช้ระบบท่ีจะสามารถรวบรวมและแปลงพลงั งานได้ ซึ่งนกั วจิ ัยจากสหราชอาณาจักรได้พฒั นาอุปกรณพ์ ยุงหวั เขา่ ท่ีสามารถรวบรวมอิเลก็ ตรอนในขณะเดนิ ไว้ โดย ทกุ ครง้ั ทเี่ ดนิ หัวเข่าโค้ง โลหะแบบใบพัดจากอุปกรณจ์ ะมีการส้นั สะเทอื นเหมอื นสายกตี าร์ และเกิดการผลิต กระแสไฟฟา้ ขึ้น สามารถนาไปใช้กับอุปกรณ์ทีใ่ ช้พลังงานไมม่ าก 3. พลังงานคลื่น (Wave Power) ความคิดท่จี ะนาพลังงานคลื่นมาใชน้ ั้นมีแนวคดิ มานานแลว้ ซ่งึ ทางเทคนคิ น้นั คลื่น คือรปู แบบท่เี กิดขึ้นจาก พลังงานลมท่พี ดั ผา่ นทะเล พลงั งานคลน่ื ถกู วดั เป็นกโิ ลวตั ต์ (KW) ตอ่ หน่ึงเมตรของแนวชายฝั่ง โดยชายฝงั ทะเล ของสหรฐั ฯ นน้ั มีศักยภาพพลังงานคลนื่ ประมาณ 252 พนั ลา้ นกโิ ลวัตตช์ ั่วโมงตอ่ ปี ปัจจบุ ันมกี วา่ 5 ประเทศ ท่ีพยายามดาเนนิ การสร้างฟารม์ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานคล่ืน หนึ่งในน้ันทนี่ าไป ปฏบิ ัติ คอื ประเทศโปรตุเกส ทีไ่ ดต้ ้ังฟาร์มผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานคลื่นในเชงิ พาณิชย์เป็นแห่งแรกในโลก ตง้ั แต่ ปี 2008 มีกาลังผลิตติดตัง้ รวม 2.25 เมกะวัตต์ 4. พลังงานไฮโดรเจน (Hydrogen Power) ไฮโดรเจนเป็นกา๊ ซไมม่ สี ี ไม่มกี ลน่ิ และมีมากถึง 74% จากท้ังหมดในจักรวาล ในขณะท่ีบนโลกพบไดเ้ ฉพาะ เมื่อรวมกบั ออกซเิ จน คาร์บอน และไนโตรเจน โดยหากตอ้ งการใช้ไฮโดรเจนจะตอ้ งแยกออกมาจาก องค์ประกอบอน่ื ๆ ซง่ึ กา๊ ซท่ีได้จะให้พลงั งานสงู แต่เปน็ ก๊าซทไี่ ม่มีมลพิษ ดงั นัน้ จงึ มคี วามพยายามท่ีจะพัฒนาเซลล์เช้อื เพลิงทีแ่ ปลงไฮโดรเจนให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เพอื่ นามาใช้เปน็ แหล่งงานสาหรับยานยนต์ไฟฟ้า เครือ่ งบนิ ยานพาหนะอ่ืน ๆ รวมถึงเป็นพลงั งานทใ่ี ชใ้ นบา้ นและอาคาร ปัจจุบันนผี้ ้ผู ลิตรถยนตร์ ายใหญ่ คา่ ยญ่ีปนุ่ อย่าง โตโยตา้ ฮอนดา้ และฮุนได ไดม้ กี ารลงทนุ วจิ ัยในเทคโนโลยีที่ ใชไ้ ฮโดรเจนเป็นพลังงานอยา่ งตอ่ เน่ือง 5. พลงั งานความรอ้ นใตพ้ ิภพ (Magma Power) พลงั งานจากความรอ้ นทอี่ ยลู่ กึ ใต้พ้นื พิภพ สามารถผลติ ไอนา้ เพือ่ ใชห้ มุนกงั หนั และผลติ กระแสไฟฟ้าได้ โดย พลังงานความรอ้ นใต้พิภพ 10,700 เมกะวตั ต์ ถกู สร้างขนึ้ ทว่ั โลกในปี 2010 โดยมไี อซ์แลนด์ ฟิลปิ ปินสแ์ ละ เอลซลั วาดอร์ได้นาแนวคดิ นี้ไปปฏบิ ัติแลว้ แนวคดิ พลงั งานความรอ้ นใตพ้ ิภพเร่มิ ไดร้ บั ความสนใจในปี 2008 จากการคน้ พบดว้ ยความบังเอิญจาก โครงการขดุ เจาะ IDDP1 ของไอซ์แลนด์ และภายหลงั ได้รับการปรับปรุงเป็นระบบแรกทใ่ี ห้ความร้อนโดยตรง จากแมกมาหลอมเหลว สามารถสร้างพลงั งานไฟฟ้าได้ 36 เมกะวัตต์ 6. พลงั งานจากกากนิวเคลยี ร์ (Nuclear Waste Power) อะตอมยเู รเนยี มเพียงห้าเปอรเ์ ซน็ ต์เท่านัน้ ทถ่ี ูกนาไปใช้ในปฏกิ ิรยิ านวิ เคลยี รฟ์ ิชชัน ส่วนทเี่ หลือจะถูกเก็บเพม่ิ เข้าไปยงั คลงั ขยะนวิ เคลยี ร์ มกี ากของเสียจากกัมมนั ตรังสกี วา่ 77,000 ตัน ทถ่ี กู เกบ็ สะสมจากโรงไฟฟา้ นวิ เคลียรข์ องอเมริกา ในขณะทเี่ ครอื่ งปฏกิ รณ์เรว็ ซ่งึ เป็นเครอื่ งปฏิกรณ์นิวเคลียร์ขัน้ สงู ที่ไดร้ ับการพัฒนาขึน้

ใหม่ มีประสทิ ธิภาพที่สูงขนึ้ กวา่ เครอ่ื งปฏกิ รณ์แบบเดิม และสามารถแก้ปญั หานไี้ ด้ในอนาคตขา้ งหน้า ซ่งึ จะทา ใหก้ ารใชย้ ูเรเนียมที่มีอยู่เดมิ มปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน สามารถใช้พลงั งานจากแรย่ เู รเนยี มได้ถึง 95% ของ เชือ้ เพลิงพลังงานนิวเคลยี ร์ท่ีผลิตได้ จากแนวคิดท่ตี อ้ งการนากากนวิ เคลยี ร์ทีม่ ีเก็บไวป้ รมิ าณมหาศาลมาใช้ผลิตพลังงานทางเลือก ทาให้ทาง ฮิตาชิ ได้ออกแบบเครอื่ งปฏกิ รณเ์ รว็ Gen-IV ทีเ่ รียกว่า PRISM ซง่ึ เป็นโมดูลเคร่อื งปฏิกรณ์นวตั กรรมพลงั งานขนาด เล็ก ท่ีสามารถเปลี่ยนกากนวิ เคลียร์ให้กลายเป็นพลังงานได้ และยงั ช่วยทาให้ Half Life ของกัมมันตภาพรงั สี (ระยะเวลาทสี่ ารสลายตวั ไปจนเหลือเพยี งคร่ึงหน่ึงของปรมิ าณเดมิ ) เหลือเพียง 30 ปแี ทนที่จะเปน็ พันปดี ว้ ย 7. พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดต้ังไดใ้ นทุกพื้นผวิ (Embeddable Solar Power) เทคโนโลยที ่ีสามารถฝงั หรอื เคลอื บเซลล์แสงอาทิตย์ลงบนพ้ืนผิวของวตั ถุต่างๆ ในลักษณะทีโ่ ปรง่ แสงไม่ สามารถมองเหน็ ได้ แต่สามารถรบั แสงอาทิตย์และแปลงเป็นพลงั งานไฟฟ้าได้ แนวคิดน้ี ปัจจบุ นั ถูกพัฒนาอย่าง รวดเร็ว โดยคาดว่าจะสามารถนามาเคลือบบนพ้ืนผวิ ของอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น หน้าจอคอมพวิ เตอร์ สมารท์ โฟน หรือพัฒนาเพ่มิ เติมสาหรับการใชง้ านในรูปแบบอืน่ ๆ อาทิ เคลอื บบนหน้าตา่ ง หรือกระจกของ อาคาร เพอ่ื เปน็ แหลง่ ผลิตไฟฟา้ ใหแ้ ก่อาคาร เปน็ ต้น 8. พลงั งานชีวภาพจากสาหรา่ ย (Algae Power) สาหร่ายถอื เป็นแหลง่ พลงั งานที่น่าประหลาดใจมาก เพราะมันอดุ มไปนา้ มัน ท่ีสามารถดดั แปลงพันธกุ รรมเพอื่ ผลติ เป็นเช้ือเพลงิ ชวี ภาพได้โดยตรง แม้น้าเสียจะเปน็ อปุ สรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช แตม่ ันกลับมี ประสทิ ธิภาพสงู ในการปลกู พืชชนิดน้ี โดยในพื้นที่ขนาดหนง่ึ เอเคอร์ สามารถให้ผลผลติ ได้สูงถงึ 9,000 แกลลอน ดงั นนั้ เชือ้ เพลิงจากสาหรา่ ยจึงถือเปน็ เชือ้ เพลิงชีวภาพที่สามารถปลูกและสรา้ งข้นึ ได้ Alabama สามารถสรา้ งระบบเชอื้ เพลิงชีวภาพจากสาหร่ายได้เป็นแห่งแรกของโลก โดยใช้เครอ่ื งปฏิกรณ์ ชีวภาพแบบลอยตวั โดยการปลูกสาหร่ายยังชว่ ยบาบดั น้าเสียจากเทศบาล และหลงั จากการเกบ็ เกี่ยวแลว้ นา้ สะอาดท่ีไดจ้ ากการบาบดั จะถูกปลอ่ ยลงสู่แหลง่ นา้ ธรรมชาติตอ่ ไป 9. กงั หันลมแบบลอยบนอากาศ (Flying Wind Power) ฟาร์มกงั หนั ลมตามแนวคดิ นีจ้ ะเปน็ กงั หนั ลมที่ตดิ ตัง้ ลอยตัวอยสู่ ูงในระดบั เดียวกบั ตึกระฟา้ หรอื อยู่สงู เหนือ ระดับพน้ื ดินท่ี 1,000 – 2,000 ฟตุ เพ่อื รบั ความแรงลมท่แี รงกวา่ หา้ ถงึ แปดเท่าของระดับความแรงลมแบบ ติดตงั้ แบบทาวเวอร์ และกงั หนั เหล่าน้ีจะผลิตพลงั งานได้สองเทา่ เม่ือเทียบกบั กังหันลมขนาดใกลเ้ คียงกันท่ตี งั้ แบบทาวเวอร์ โดย Altaeros Energie ไดพ้ ฒั นากงั หนั ลมแบบลอยบนอากาศในเชงิ พาณิชยเ์ ครือ่ งแรก ทเ่ี รียกว่า Buoyant Air Turbine หรือ BAT ซ่งึ เปน็ เซลล์พองลมแบบกลมยาว 35 ฟตุ ที่ทาจากผ้าท่ีมีความแขง็ แรงสูง โดย BAT มี กาลงั การผลติ 30 กิโลวัตต์

10. พลังงานฟิวชั่น (Fusion Power) ฟิวชั่น เปน็ กระบวนการเดยี วกนั กบั การเกิดข้นึ ของดวงอาทิตย์ และมีศักยภาพท่ีสามารถผลิตพลังงานได้แบบ ไม่มีท่ีสิ้นสดุ อกี ทง้ั ไม่ปลอ่ ยมลพิษ หรอื ก๊าซเรอื นกระจก และไม่มีการคุกคามจากการหลอมละลายแบบ นวิ เคลียร์ ซงึ่ แตกตา่ งจากเครอื่ งปฏกิ รณ์นวิ เคลียรฟ์ ชิ ช่ันในปจั จุบัน ฟวิ ชั่นทางานโดยการหลอมรวมไอโซโทป ไฮโดรเจนสองอัน คอื ดิวทเี รียมและทรเิ ทียมซึ่งมีอยู่มากมาย ใบงานท่ี 3 สาระความรู้พืน้ ฐาน วิชาการใช้พลังงานไฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวนั (พว32023) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ********************************************************************************** ชอ่ื -สกลุ ...............................................................รหสั นกั ศกึ ษา.................................................................... คาช้แี จง ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. พลังงานลมจดั เป็นพลงั งานทดแทนประเภทใด (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................. 2. ปัจจบุ นั มีการนาพลังงานลมมาใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. . 3. หลกั การผลติ กระแสไฟฟ้าดว้ ยพลงั งานน้า มหี ลกั การอยา่ งไร (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... 4. การถนอมอาหารโดยการตากแห้งเปน็ การใช้ประโยชนจ์ ากพลังงานใด (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................. 5. ชีวมวล หมายถึง (2 คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คร้ังที่ ……… วันท่ี …………. เดือน …………………………………..……….. พ.ศ. …………….. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวนนกั ศึกษา ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน จานวนนกั ศึกษาท่ีเขา้ เรียน ทงั้ หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จานวนนกั ศึกษาที่ขาดเรยี น ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหาทีพ่ บและการแกไ้ ขปัญหา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ การดาเนินการแก้ไข/พฒั นา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นผูน้ ิเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชือ่ ) ................................................... (ลงชอื่ ) ................................................... ผ้นู ิเทศ (........................................) (........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงชื่อ) ………………………………..…………............. ผอ.กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี (นายศักดชิ์ ัย นาคเอีย่ ม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานกุ รม ทม่ี า : มัลลกิ า ปัญญาคะโป.เอกสารประกอบวิชาวทิ ยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม “ของเสยี อันตราย”คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร.2542. ทม่ี า : ทีมงานทรูปลกู ปญั ญา ที่มา : sites.google.com/site/occupationteacherji2017/bth-thi- 4?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1

คณะผู้จดั ทา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี .......... ปกี ารศึกษา ................... ที่ปรึกษา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี นายศักด์ชิ ัย นาคเอย่ี ม ครพู เ่ี ลีย้ ง จนั ทนะ ครูชานาญการ นางสาวชมพู คณะผจู้ ัดทา 1. ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 3. ครู ศรช. กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี



แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบรู ณาการ ตามรปู แบบ ONIE Model หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 หัวเร่ือง พัฒนาความรู้ สู่อนาคต หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ ……….. ปีการศกึ ษา ……………. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั กาญจนบุรี สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรีได้ดาเนินการ จัดทาแผนกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หัวเรื่อง พัฒนาความรู้ สู่อนาคต เพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นคู่มือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาค เรยี นที่ ......... ปีการศึกษา .................... เอกสารประกอบการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการ เรียนร้ทู ี่ 6 หัวเรอ่ื ง พฒั นาความรู้ สู่อนาคต ประกอบดว้ ยแผนผังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กศน. แบบ ONIE Mode แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู้ แบบประเมินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวตอบ และแบบบันทึกหลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ท่ี .......... ปีการศึกษา ............. ในครั้งนี้ ประสบความสาเร็จได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ นายศักด์ิชัย นาคเอีย่ ม ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชานาญการเป็นอย่างสูงที่เป็น ผใู้ ห้คาปรกึ ษา ในการดาเนนิ การจดั ทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 หัวเรื่อง พัฒนาความรู้ สู่อนาคต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ท่ี ………… ปีการศึกษา ………………… มาโดยตลอดทาให้การดาเนินการ จดั ทาแผนการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการบรรลุตามวตั ถุประสงค์ จดั ทาโดย กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี

สารบญั เรอ่ื ง หนา้ คานา สารบัญ แผนผังการจัดหนว่ ยการเรียนรู้ กศน.แบบบรู ณาการ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบรู ณาการตามรูปแบบ ONIE MODEL ใบความร้ทู ี่ 1 เรื่องหลกั การและแนวคดิ ของโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ ใบความรู้ที่ 2 เร่อื งการเตรียมทาโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ ใบความร้ทู ่ี 3 เรอ่ื งการดาเนนิ งานในการทาโครงงาน เช่น การพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ การทา ไดอาร่ี ออนไลน์ แบบประเมนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวตอบแบบประเมินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ บรรณานุกรม คณะทางาน

แผนผังหน่วยการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน. แบบบรู ณาก หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั กา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเร รายวชิ า รายวิชา โครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะ รายวิชา โครงงานเพอื่ พ การเรียนรู้ (ทร02006) หัวเรื่อง การดาเนินงานใ หวั เรอื่ ง การเตรียมทาโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะ การเรียนรู้ เรียนรู้ การทาไดอาร่ี ออน เนื้อหา เนื้อหา - ข้ันตอนการทาโครงงาน - การพิจารณาเลือกโครงงาน - การตดั สินใจทาโครงงาน กษะในการขยายอาชีพ การสะท้อนความคิดเหน็ ต - การเตรียมนาเสนอโครง รายวิชา โครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการ หัวเรอื่ ง พัฒนาความรู้ ส เรียนรู้ (ทร02006) สภาพปญั หา หัวเรอ่ื ง หลักการและแนวคดิ ของโครงงาน 1. ความมวี นิ ยั และความม เพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ 2. ความรู้ความเข้าใจในบ เนอื้ หา 3. การเป็นจิตอาสาทาคว 4. ลูกเสอื ในภาวะการเปล - หลกั การของโครงงาน 5. ภาวะผนู้ าผู้ตามในสถา - แนวคิดของโครงงาน

การ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 หวั เรอ่ื ง พัฒนาความรู้ สู่อนาคต ารศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รียนที่ .......... ปกี ารศกึ ษา ............ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร02006) กรต. ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง ในการทาโครงงาน เชน่ การพฒั นาแหล่ง นไลน์ (สค31002) น หวั เรื่อง 1 ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ตอ่ โครงงาน งงาน เนื้อหา 1. ค่านิยมทพ่ี ึงประสงคข์ องประเทศตา่ ง ๆ ในโลก - การตรงตอ่ เวลา - ความมรี ะเบยี บ ฯลฯ หน่วยท่ี 6 รายวชิ า ภาษาอังกฤษ (พต31001) สู่อนาคต หัวเรือ่ ง สนุกกบั ศัพท์ภาษาอังกฤษ มรี ะเบียบในชวี ิตประจาวัน บทบาทของการเปน็ พลเมืองดี เน้ือหา วามดีดว้ ยหัวใจ ลี่ยนแปลงเหตุการณโ์ ลกปัจจุบัน คาศัพท์ านการณ์ ความขดั แยง้ ทางการเมือง - Recycle = แปรรปู แลว้ นากลับมา ใช้ใหม่ - Material = วสั ดุ - Economy = เศรษฐกิจ - World scout =ลูกเสือโลก - Religion = ศาสนา

ประเด็น/ปัญหา/ส่ิงจาเปน็ ทต่ี อ้ งเรยี นรู้ ก 1. ผู้เรยี นขาดความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับวนิ ยั ต่อตนเอง ชมุ ชนสังคม 1 2. ผ้เู รยี นขาดความรู้เกย่ี วกบั บทบาทหนา้ ที่ ของตนเองท่ีส่งผลต่อชมุ ชน แ สังคม 2 3. ผ้เู รียนขาดความรเู้ กี่ยวกับการมจี ิตสาธารณะในการอยู่ร่วมกันในสังคมใน พ การเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม แ 4. ผเู้ รยี นขาดความร้เู ก่ียวกบั การนากระบวนการลูกเสือมาใชใ้ นการ 3 ดารงชีวติ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์โลกปัจจุบัน ก 5. ผู้เรยี นขาดความรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับบทบาทของตนในฐานะผู้นาหรอื ผู้ แ ตามในสถานการณเ์ หตุการณ์ทางการเมือง 4 ห ก 5 ไ ใ

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ให้ผเู้ รียนศกึ ษาเร่อื งของการมวี นิ ัยจากผูน้ าในชมุ ชนภมู ิปญั ญา แล้วนามาสรุปเปน็ รายงาน และนามาอภิปรายแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นวนั พบกล่มุ ที่ กศน.ตาบล 2. ใหผ้ ูเ้ รียนศึกษาความรู้เกย่ี วกับกฎหมายเบอื้ งตน้ เพือ่ ให้รูถ้ งึ หนา้ ทสี่ ทิ ธหิ น้าท่ีเป็นการ พลเมอื งทด่ี ี จากห้องสมุดประชาชน สอ่ื ออนไลน์ ภมู ปิ ญั ญา และให้ผู้เรียนยกตัวอย่างสรปุ แผนผังความคิด minemap และอภิปรายในวนั พบกล่มุ ท่ี กศน.ตาบล 3. ใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วมกจิ กรรมจติ อาสาในชมุ ชน ในกิจกรรมอาสาทาความดดี ้วยหัวใจ หรือ กจิ กรรมสาธารณประโยชน์ เพือ่ สรุปและรายงานผลประสบการณ์ที่ไดเ้ ข้ารว่ มและ แลกเปลยี่ นเรียนรู้หน้าชน้ั เรยี นกบั เพื่อนในวันพบกลุ่มท่ี กศน.ตาบล 4. ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาคน้ คว้ากฎและหน้าทีข่ องลูกเสือ ศึกษากระบวนการเรยี นรู้ลกู เสือจาก หอ้ งสมดุ ประชาชนแหลง่ เรยี นรู้ ส่ือออนไลน์ ฯลฯ สรุปและนาเสนอหน้าช้นั เรียนโดยไมซ่ ้า กจิ กรรมกันหนา้ ช้นั เรยี น ในวนั พบกล่มุ ท่ี กศน.ตาบล 5. ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาคน้ คว้าเหตุการณ์ทางการเมอื งทีส่ าคญั ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตของประเทศ ไทยและเหตกุ ารณ์สาคัญในปัจจุบนั จาก ห้องสมดุ ประชาชน สือ่ ออนไลน์ ฯลฯ เพื่อสรปุ ผล ใจความสาคญั และแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ นั

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ก หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หัวเรื่อ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับกา ระดับมัธยมศึก ภาคเรยี นที่ .......... ปีกา ครง้ั ท่ี วนั /เดอื น/ ปี ตัวชี้วัด เนอื้ หาสาระการ หวั เร่ือ เรยี นรู้ 4. มีทกั ษะในการ ปฏบิ ตั ิตน รายวชิ า โครงงาน หน่วยท่ี 6 เพือ่ พัฒนาทกั ษะ พัฒนาความรู้ ส การเรียนรู้ ทร สภาพปัญหา 02006 1. ความมีวนิ ยั แ ความมรี ะเบยี บ หวั เรอื่ ง ชวี ิตประจาวัน การเตรียมทา 2. ความรู้ความ โครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการ ในบทบาทของก เรียนรู้ พลเมอื งดี - ข้ันตอนการทา 3. การเป็นจติ อ โครงงาน - การพิจารณา ความดดี ้วยหวั ใ เลอื กโครงงาน 4. ลกู เสือในภา ทักษะและ กระบวนการท่ี เปล่ียนแปลงเห โลกปจั จุบัน 5. ภาวะผนู้ าผูต้

กศน. ตามรูปแบบ ONIE Model อง พฒั นาความรู้ สู่อนาคต ารศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กษาตอนปลาย ารศึกษา ..................... อง ประเด็น/ปญั หา/ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายเหตุ สง่ิ จาเปน็ ท่ตี ้องเรียนรู้ 1. ผูเ้ รยี นขาดความรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สูอ่ นาคต ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ 1. ให้ผ้เู รียนศึกษาเรือ่ งของ วนิ ัยตอ่ ตนเอง ชุมชน การมวี นิ ัยจากผนู้ าในชมุ ชน และ สังคม ภูมิปัญญา แล้วนามาสรปุ บใน 2. ผ้เู รียนขาดความรู้ เก่ยี วกบั บทบาทหนา้ ที่ เปน็ รายงานและนามา อภปิ รายแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ น มเข้าใจ ของตนเองทส่ี ง่ ผลตอ่ วันพบกลุ่มท่ี กศน.ตาบล การเปน็ 2. ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาความรู้ ชมุ ชนสังคม อาสาทา 3. ผูเ้ รยี นขาดความรู้ เก่ยี วกบั กฎหมายเบอ้ื งต้น ใจ เกี่ยวกบั การมีจติ เพ่อื ใหร้ ถู้ งึ หน้าที่สทิ ธิหน้าที่ าวะการ เปน็ การพลเมืองที่ดี จาก หตกุ ารณ์ สาธารณะในการอยู่ รว่ มกันในสงั คมในการ หอ้ งสมุดประชาชน ส่ือ ตามใน เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม ออนไลน์ ภมู ิปัญญา และให้ 4. ผู้เรยี นขาดความรู้ ผูเ้ รยี นยกตวั อย่างสรุป เกย่ี วกับการนา แผนผังความคิด minemap

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เนื้อหาสาระการ หัวเร่ือ เรยี นรู้ จาเป็นในการ สถานการณ์ คว ทางานโครงงาน ขัดแยง้ ทางกา เพ่อื พฒั นาทกั ษะ การเรยี นรู้ (การหา ข้อมูล การเลือกใช้ ขอ้ มูล การนาเสนอ ข้อมูล การตอ่ ยอด พฒั นาความร)ู้ - ขั้นตอนการทา โครงงาน - การวางแผนก่อน ทาการทดลอง

อง ประเด็น/ปญั หา/ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายเหตุ สง่ิ จาเปน็ ทีต่ ้องเรียนรู้ วาม ารเมือง กระบวนการลกู เสือมา และอภปิ รายในวนั พบกลุม่ ที่ ใช้ในการดารงชวี ิต กศน.ตาบล 3. ใหผ้ ู้เรียนมีส่วนร่วม ทา่ มกลางความ เปลี่ยนแปลงเหตกุ ารณ์ กิจกรรมจิตอาสาในชมุ ชน ใน กิจกรรมอาสาทาความดีดว้ ย โลกปจั จุบัน หัวใจ หรือกจิ กรรม 5. ผู้เรียนขาดความรู้ สาธารณประโยชน์ เพือ่ สรปุ ความเข้าใจเกีย่ วกบั และรายงานผลประสบการณ์ บทบาทของตนใน ฐานะผู้นาหรอื ผูต้ ามใน ที่ไดเ้ ขา้ ร่วมและแลกเปล่ยี น สถานการณ์เหตุการณ์ เรยี นรหู้ นา้ ชัน้ เรียนกับเพ่ือน ทางการเมือง ในวันพบกล่มุ ท่ี กศน.ตาบล 4. ใหผ้ ู้เรยี นศึกษาค้นควา้ กฎ 1. ผเู้ รียนขาดความรู้ และหนา้ ท่ีของลูกเสอื ศึกษา เร่ืองอาหารและ กระบวนการเรยี นรูล้ กู เสือ โภชนาการ จาก ห้องสมุดประชาชน 2. ผเู้ รยี นขาดหลกั การ แหลง่ เรยี นรู้ ส่ือออนไลน์ ความปลอดภยั จากการ ฯลฯ สรุปและนาเสนอหน้า ใชย้ า ช้ันเรียนโดยไม่ซ้ากิจกรรมกนั หน้าชัน้ เรยี น ในวนั พบกลมุ่ ที่ 3. ผู้เรยี นปญั หา กศน.ตาบล เพศศกึ ษา 4. ผเู้ รยี นขาดการ 5. ให้ผ้เู รียนศกึ ษาค้นคว้า เสยี สละการเสรมิ สร้าง เหตกุ ารณ์ทางการเมอื งท่ี

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เน้อื หาสาระการ หัวเร่ือ เรยี นรู้

อง ประเดน็ /ปญั หา/ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ หมายเหตุ สงิ่ จาเป็นที่ตอ้ งเรียนรู้ สขุ ภาพ สาคญั ท่เี คยเกดิ ขึ้นในอดีต ของประเทศไทยและ เหตกุ ารณ์สาคญั ในปัจจุบนั จาก หอ้ งสมดุ ประชาชน สือ่ ออนไลน์ ฯลฯ เพ่อื สรุปผล ใจความสาคัญและ แลกเปล่ียนเรียนรกู้ ัน

โครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ความหมายของการเรียนรูแ้ บบโครงงาน การเรยี นรแู้ บบโครงงาน คือ การจดั ใหน้ กั ศกึ ษารวมกลมุ่ กนั ทากจิ กรรมรว่ มกนั โดยมีจุดมุ่งหมายในการศกึ ษา หาความรู้ หรือทากจิ กรรมใดกจิ กรรมหนงึ่ ตามความสนใจของนกั ศกึ ษา การเรยี นรแู้ บบโครงงานน้ี จึงมุ่ง ตอบสนองความสนใจ ความกระตือรือร้น และความใฝ่เรยี นรู้ของผ้เู รยี นเอง ในการแสวงหาขอ้ มลู ความรตู้ ่างๆ เพอ่ื ทาโครงงานร่วมกนั ใหป้ ระสบความสาเร็จตามจุดม่งุ หมายของโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรู้(Project Centered Learning) ซง่ึ หมายถึง การกระทา กิจกรรมร่วมกนั ชว่ ยเหลอื กันในการแก้ปญั หาที่เกดิ ข้นึ ภายในกลมุ่ ดว้ ยวธิ ีการปฏิบตั ิจรงิ เพอื่ การเรยี นรู้วธิ ีการ แก้ปญั หา อันนาไปสู่ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ แสวงหาขอ้ มลู และแนวทางในการแกป้ ญั หาเหล่านัน้ การเรยี นรู้แบบโครงงาน อาจมชี อื่ เรียกอนื่ ท่ีมคี วามหมายเดียวกัน ได้แก่ การเรียนรูโ้ ดยใชโ้ ครงงาน การเรียนรู้ แบบโครงการ การเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเป็นศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้ การเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเปน็ ศูนย์กลางการเรยี นรู้ ในเร่ืองความหมาย ไดม้ ผี ูก้ ล่าวถงึ ไวห้ ลายคน เช่น จากซิ และโรบิน (Jaques, 1984; Robbins, 1997) ไดใ้ ห้ความหมายของวิธีการเรยี นรู้แบบโครงงาน (Group Project) วา่ หมายถงึ การรวมกลุ่มกันของบคุ คลมากกว่า 2 คนขนึ้ ไปมี ปฏิสัมพนั ธ์กนั รว่ มกนั กระทากิจกรรม อนั นาไปส่จู ุดม่งุ หมายบางประการ นอกจากนั้นแล้วโครงงานเป็นการจดั สถานการณท์ ี่ชว่ ยให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ ทางานร่วมกนั แลกเปลีย่ นขอ้ มลู ซึ่งกันและกันและสนับสนนุ กนั ในการเรยี นรู้ (Fascilitate Learning) สุชาติ วงศ์สุวรรณ (2542) กลา่ วถึงความหมายของ การเรียนร้โู ดยใช้โครงงานว่าหมายถึง การจัดการเรยี นรู้อกี รูปแบบหนง่ึ ท่ีเป็นการให้ผู้เรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัติจริงในลักษณะของการศกึ ษา สารวจ ค้นควา้ ทดลอง ประดิษฐ์ คดิ คน้ โดยมีครูเปน็ ผ้กู ระตุ้น แนะนา และใหค้ าปรกึ ษาอย่างใกลช้ ิด • สรปุ ไดว้ ่า การเรียนรโู้ ดยใช้โครงงานเป็นการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพการเรียนรู้ของแตล่ ะคนใหไ้ ด้รบั การพัฒนาได้ เต็มขดี ความสามารถท่มี อี ยอู่ ย่างแท้จริง ทาให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้เรยี นวิธกี ารเรยี นรู้ สามารถ สรา้ งองค์ความรไู้ ด้ด้วยตนเอง รวมท้ังปลกู ฝังนิสยั รักการเรียนรู้ อันจะนาไปส่กู ารเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรไู้ ด้ ในทส่ี ดุ การเรยี นรู้แบบโครงงาน โครงงาน ( project ) จึงเปน็ เสมือนสะพานเช่อื มระหว่างผ้เู รียน กบั หอ้ งเรยี น และโลกภายนอก ซึง่ ผู้เรียน สามารถจะนาความรู้ที่ได้รบั มาปรับใช้ได้ในชีวิตจริงของผูเ้ รยี น ทั้งนีเ้ พราะวา่ ผู้เรยี นตอ้ งนาเอาความรู้ท่ีได้จาก ชัน้ เรยี นมาบรู ณาการเข้ากับกิจกรรมทจ่ี ะกระทา เพ่ือนาไปสู่ความรใู้ หม่ ๆ ดว้ ยการสรา้ งความหมาย การ แก้ปญั หา และการคน้ พบด้วยตนเอง ผู้เรยี นตอ้ งสร้างและกาหนดความรู้ จากความคิดและแนวคิดที่มีอยู่กับความคดิ และแนวคดิ ที่เกดิ ขึ้นใหม่ ทาให้ เกดิ การปรบั เปลย่ี นความรู้ใหเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในการเรียนรูส้ ่งิ ใหม่ ความสาคญั ของการเรยี นรแู้ บบโครงงานw การที่ผเู้ รียนได้เรียนรผู้ ่านโครงงาน ทาให้มองเห็นความสมั พันธ์ ระหวา่ งความคดิ กบั ข้อเท็จจริง ซงึ่ จะถกู เชอ่ื มโยงเข้าเป็นเร่ืองเดยี วกัน ในลกั ษณะของความสมั พนั ธ์ และการ เชือ่ มโยง อนั จะสามารถนาไปใช้ในสถานการณอ์ ่นื ได้อยา่ งหลากหลาย สามารถบรู ณาการความรมู้ าช่วยกนั ทา โครงงาน เรยี นรจู้ กั การทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ ร้จู ักการหาข้อมูล ความรตู้ ่างๆด้วยตนเอง ฝึกทกั ษะการส่ือสาร รจู้ ักการ การคดิ แก้ไขปัญหา

ในส่วนของผเู้ รยี น การเรียนรจู้ ากโครงงาน ถอื ได้วา่ เป็นการเรียนรู้ร่วมกนั ภายในกลมุ่ เพราะทุกคนได้เขา้ มามี ส่วนรว่ มในการคน้ หาคาตอบ หาความหมาย ตลอดจนแนวทางแกไ้ ขปัญหา ร่วมคิด รว่ มทางาน สง่ ผลให้เกดิ กระบวนการคน้ พบกระบวนการเรียนรู้สิง่ ตา่ งๆไดด้ ้วยตนเองสามารถนาความรูท้ ไี่ ด้รับมาแลกเปลย่ี น ประสบการณ์ และแลกเปล่ยี นพน้ื ฐานความรู้ระหวา่ งผู้เรียนดว้ ยกนั เป็นลักษณะของการเรยี นรู้รว่ มกัน ( Collaboration learning) ความรแู้ ละสามารถด้านตา่ ง ๆ ทีม่ อี ยใู่ นตัวของผเู้ รียน จะถกู กระต้นุ ให้ได้แสดงออกมาอยา่ งเต็มท่ี ขณะท่ี ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เช่นเดียวกบั ทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับชีวิต เช่น ทักษะการทางาน ทักษะการอยูร่ ่วมกนั ทกั ษะการจดั การ ฯลฯ กจ็ ะถูกนาเอามาใช้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ ในขณะท่รี ่วมกันแก้ปญั หาท่เี กิดขนึ้ ระหว่าง การทาโครงงาน การเรียนร้แู บบโครงงานยังช่วยสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทัง้ หลายก็จะถูกปลกู ฝัง และส่ังสมใน ตวั ผเู้ รียนในขณะทที่ ุกคนร่วมกันทางาน รวมทั้งเป็นการปลูกฝงั ความเป็นประชาธิปไตย ฝึกหดั การรู้จกั รบั ฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ่นื เน่ืองจากวา่ แนวคิดหลกั ของการเรียนรแู้ บบโครงงาน จะใช้หลกั การเรียนรู้รว่ มกนั (Team learning) อันจะนาไปสกู่ ารเรียนรู้ด้วยการนาตนเอง ซงึ่ มีผลโดยตรงต่อการเพ่ิมโอกาสในการ เจรญิ กา้ วหนา้ ของบุคคลในการเรียนรู้และพฒั นาความรู้ ความสามารถของตนเอง ความสามารถในการมปี ฏสิ มั พนั ธแ์ ละทางานร่วมกับผู้อื่นไดด้ ีและมีประสทิ ธิภาพ ไม่ใช่สิง่ ที่เกดิ ขึ้นเองได้ หากแตเ่ ป็นสง่ิ ท่ีตอ้ งเกดิ จากการเรียนรู้ เพ่อื จะทาให้ทกั ษะดังกล่าวเกดิ ขนึ้ ในตวั ของบคุ คล การเรียนร้เู พือ่ ให้ เกดิ ความสามารถและทักษะดังกลา่ ว สามารถทาให้เกดิ ไดโ้ ดยใช้ นาหลกั การเรียนรู้โดยให้ผ้เู รยี นรวมกลุ่มกนั มี โอกาสร่วมกันในการเรยี นรแู้ ละทางานร่วมกนั โดยใช้วธิ ี “group assignments in their courses” ซึ่งมคี รู เป็นผู้อานวยความสะดวกให้แก่ผ้เู รียน และชว่ ยให้ผเู้ รียนสามารถเรยี นรู้ทกั ษะดงั กลา่ วจากประสบการณ์ในการ การทาโครงงานรว่ นกนั ดงั นั้นในการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานจงึ ตอ้ งเนน้ และให้ความสาคัญท่ีตัวผเู้ รียน โดยมุ่งใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ ฒั นา ขดี ความสามารถของตนเองอยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ มีความสมดุลทง้ั ดา้ นจิตใจ ร่างกาย ปญั ญา และสังคม เป็น ผู้ร้จู กั คดิ วิเคราะห์ รกั การเรียนรู้ เรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง มีเจตคติทีด่ ี มวี นิ ัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ และมที กั ษะที่ จาเป็นสาหรบั การดารงชวี ติ รวมท้งั ทักษะทางอาชีพ สามารถพ่งึ ตนเอง และรว่ มมอื กบั ผอู้ ่นื อยา่ งสรา้ งสรรค์ การเรียนร้แู บบโคงงานต้องม่งุ พัฒนาความสามารถทางอารมณ์ ได้แก่ ความสามารถในการมสี ตริ ู้ตวั และ ความสามารถในการปรบั ตวั เขา้ กบั สงั คม ซง่ึ ถอื ว่าเปน็ ปจั จัยสาคญั ท่ี จะทาให้คนเราประสบความสาเรจ็ ในชวี ติ เชน่ เดียวกบั ความสามารถทางปญั ญา ความสามารถหรือความฉลาด ทางอารมณ์ทจี่ ะต้องปลกู ฝงั ให้ผู้เรียน ได้แก่ การรู้จักตนเอง การเขา้ ใจตนเอง ความสามารถในการควบคมุ ตนเอง ความเขา้ ใจและเหน็ อกเห็นใจผูอ้ ่ืน มีความเช่อื มัน่ และเหน็ คุณคา่ ในตวั เอง ความสามารถในการแก้ไขขอ้ ขัดแย้งทางอารมณ์

ใบงาน ครงั้ ท่ี 1 ชอื่ -สกุล..............................................รหสั นกั ศกึ ษา......................................รหัสกลมุ่ เรยี น ............ 1. ให้นกั ศึกษาอธิบายความหมายของ คาว่า “โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้” มาโดย ละเอยี ด 2. ให้นกั ศกึ ษาอธิบายความสาคญั ของ “โครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้” 3. โครงงานมกี ่ปี ระเภท อะไรบา้ งจงอธบิ ายโดยละเอียด 4. ถา้ ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษาทาโครงงานมาสง่ จานวน 1 โครงงาน นกั ศกึ ษาจะมกี ระบวนการใน การท าโครงงานช้ินนี้อย่างไรบา้ ง 5. นกั ศกึ ษาสามารถศึกษาคน้ ควา้ การจดั ทาโครงงานท่มี ีความคดิ สรา้ งสรรคจ์ ากแหล่งใด ไดบ้ ้าง ให้ยกตัวอย่างมา อย่างนอ้ ย 3 แหลง่ เรยี นรู้ พรอ้ มอธบิ ายถงึ ความสาคัญของแหลง่ เรยี นรู้นนั้ 6. นกั ศกึ ษาคดิ ว่าการท าโครงงานมคี ุณค่าต่อชวี ิตของนักศึกษาด้านใดบา้ งจงอธิบาย

ขนั้ ตอนการทาโครงงาน การวางแผนทาโครงงาน การทาโครงงานมขี ้นั ตอนกระบวนการ ดงั น้ี 1) การคดิ และการเลอื กหัวเรื่อง ผเู รยี นจะตองคดิ และเลือกหวั เรอื่ งของโครงงานดวยตนเองวา อยากจะศกึ ษาอะไร ทาไมจึงอยาก ศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมกั จะไดมาจากปญหา คาถามหรือความ อยาก รอู ยากเหน็ เกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ของผูเรยี นเอง หวั เรือ่ งของ โครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชดั เจน เม่ือใครไดอ านชือ่ เรือ่ งแลว ควรเขาใจและรูเรอ่ื งวาโครงงานนที้ าจากอะไร และควรคานึงถงึ ประเด็นความเหมาะสมของ ระดับความรู ความสามารถของผูเรยี น วสั ดุ อุปกรณท่ีใช งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภยั และแหลงค วามรู เปนตน 2) การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถงึ การเขียนเคาโครง ของโครงงาน ซง่ึ ตองมีแนวคดิ ท่กี าหนดไว ลวงหนาและเพ่อื ใหการ ดาเนินการเปนไปอยางรดั กุมและรอบคอบ ไมสบั สน แลวนาเสนอตอ ครูประจากลุ มหรือครทู ป่ี รึกษาเพือ่ ขอความเห็นชอบกอนดาเนินการ ขั้นตอไป การเขียนเคาโครงของโครงงาน โดยทัว่ ไป เขยี นเพอ่ื แสดงแนวคดิ แผนงาน และข้ันตอนการทาโครงงาน ซ่งึ ควรประกอบดวยหวั ขอตอไปนี้ 2.1) ช่อื โครงงาน : เปนช่อื เร่ืองทผ่ี ูเรียนจะทาการศกึ ษา คนควาเพื่อหาคาตอบหรือหาแนวทาง ในการแกปญหา การตั้งชอื่ เรอ่ื งควรสอื่ ความหมายใหไดวาเปนโครงงานทจ่ี ะทาอะไร เพื่อใคร /อะไร ควรเปนข อความทก่ี ะทดั รดั ชดั เจน สือ่ ความหมายไดตรง 2.2) ชอื่ ผูทาโครงงาน : เปนการระบุชอ่ื ของผูทาโครงงาน ถา เปนโครงงานกลุมใหระบุชื่อผูทา โครงงานทุกคน พรอมเขียน รายละเอยี ดงานหรอื หนาทคี่ วามรบั ผิดชอบในการทาโครงงานของแต ละคนให ชดั เจน 2.3) ชอ่ื ทปี่ รึกษาโครงงาน : เปนการระบชุ อ่ื ผูท่ใี หคาปรึกษา ใหคาแนะนาในการทาโครงงาน ของผูเรยี น 2.4) หลกั การและเหตผุ ลของโครงงาน : เปนการอธิบายวา เหตใุ ดจึงเลือกทาโครงงานเร่ืองนี้ มี ความสาคญั อยางไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรทเ่ี กย่ี วของ เรอ่ื งท่ที าเปนเรอ่ื งใหมหรือมผี ูอื่นไดศกึ ษา คนควา เร่ืองนี้ไวบางแลว ถามีไดผลอยางไร เร่อื งที่ทาไดขยายเพิม่ เตมิ ปรับปรุงจากเรื่องทีผ่ ูอื่นทาไวอยางไร หรือเป นการทาซ้าเพือ่ ตรวจสอบผล 2.5) จดุ มุงหมายหรือวัตถุประสงค : ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวดั ได เปนการบอก ขอบเขตของงานท่ีจะทาใหชัดเจนขนึ้ ซง่ึ จุดมุงหมาย หรอื วตั ถปุ ระสงคมักเขียนวาเพื่อ ศกึ ษา. . . . . . . . . เพ่ือเปรยี บเทยี บ. . . . เพอ่ื ผลิต. . . . . . . . . เพือ่ ทดลอง. . .. . . . หรือเพอ่ื สารวจ. . . . .. . . . . ซึง่ จุดประสงค

ของโครงงานที่จะบงบอกวาเปนโครงงานประเภทใด (ตามเนอ้ื หาบทท่ี 2) และจุดมุงหมาย ของโครงงานจะเป นทิศทางในการกาหนดวิธกี ารดาเนินโครงการ 2.6) สมมติฐานในการทาโครงงาน (ถาม)ี : สมมติฐานเปน คาตอบหรอื คาอธิบายท่คี าดไวลวง หนา ซ่ึงอาจจะถูกหรือไมก็ได การ เขียนสมมตฐิ านควรมเี หตมุ ผี ลมีทฤษฎหี รอื หลักการรองรบั และที่ สาคัญ คือ เปนขอความท่มี องเห็นแนวทางในการดาเนนิ การทดสอบ ได โครงงานวิจยั ท่ีกาหนดสมมตุ ิฐานควรเป นโครงงานประเภททดลอง ซ่งึ มักจะตองกาหนดตัวแปรในกระบวนการทดลอง นอกจากน้คี วรมี ความสมั พนั ธ ระหวางตัวแปรอสิ ระ (ตน) และตวั แปรตาม ตัวแปรแทรก ซอน ซ่ึงตัวแปรที่เกีย่ วของ : ตวั แปรอิสระ (ตน) ส่ิงที่ เปนเหตุของ ปญหา ตัวแปรตาม คอื สง่ิ ท่ี เปนผล ตัวแปรแทรกซอน คือสง่ิ ท่ีอาจมีผล ตอตัวแปรตาม โดยผู วิจัยไมตองการใหเกดิ เหตกุ ารณนนั้ ขน้ึ 2.7) วธิ ดี าเนินงานและขั้นตอนการดาเนนิ งาน : เปนการ เขียนใหเหน็ ขนั้ ตอนของการทา โครงงานตงั้ แตเริ่มตนจนสน้ิ สดุ การทางาน โดยเขียนใหชัดเจนวา จะตองทาอะไร ทาเมื่อไหร ทีไ่ หน ให ละเอยี ดทุกขน้ั ตอนและกจิ กรรม 2.8) แผนปฏบิ ตั ิงาน : เปนการนาข้ันตอนการทาโครงงานมา เขียนในรูปของปฏิทินตาราง กาหนดการทางานในแตละขน้ั ตอน 2.9) ผลทีค่ าดวาจะไดรบั : เปนการเขยี นใหเห็นถึงประโยชน และผลท่คี าดวาจะไดรบั จากการ ทาโครงงาน โดยใหระบุวาจะเกิด หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาเลอื กโครงงานเพอ่ื พฒั นา ทักษะ การเรียนรู (ทร 02006) 42 ประโยชนแกใคร เกิดข้นึ อยางไร ทงั้ โดยทางตรงหรอื ทางออมและผล ทค่ี าดว าจะไดรบั จะตองสอดคลองกบั จุดมุงหมายหรือวตั ถุประสงค 2.10) เอกสารอางองิ : รายช่อื เอกสารท่ีนามาอางอิงเพอ่ื ประกอบการทาโครงงาน ตลอดจน การเขยี นรายงานการทาโครงงานควรเขยี นตามหลกั การท่นี ยิ มกัน

3) การดาเนินงาน เม่ือทป่ี รกึ ษาโครงงานใหความเหน็ ชอบเคา โครงของโครงงานแลว ตอไปก็ เปนขน้ั ลงมอื ปฏิบัตงิ านตามข้นั ตอนที่ ระบุไว ผเู รียนตองพยายามทาตามแผนงานท่ีวางไว เตรียมวสั ดุ อุปกรณและ สถานท่ใี หพรอมปฏิบัตงิ านดวยความละเอยี ดรอบคอบ คานงึ ถงึ ความประหยัดและความปลอดภัยในการ ทางาน ตลอดจนการ บนั ทึกขอมลู ตาง ๆ วาไดทาอะไรไปบาง ไดผลอยางไร มีปญหาและ ขอคดิ เหน็ อยางไร พยายามบนั ทึกใหเปนระเบียบและครบถวน 4) การเขยี นรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เปนวิธีสอื่ ความหมายวธิ ี หนึ่งที่จะใหผูอน่ื ไดเขาใจถงึ แนวคดิ วิธีการดาเนินงาน ผลท่ีไดตลอดจนขอสรปุ และขอเสนอแนะตาง ๆ จากการศึกษาคนควาตง้ั แต ตนจนจบ การเขยี นรายงานโครงงานอาจไมระบุตายตวั เหมอื นกนั ทกุ โครงงาน สวนประกอบของหัวขอในรายงานตอง เหมาะสมกับประเภท ของโครงงานและระดบั ชน้ั ของผูเรยี น องคประกอบของการเขียน รายงานโครงงาน แบ งกวาง ๆ เปน 3 สวน ดังน้ี 4.1) สวนปกและสวนตน ประกอบดวย (1) ชอื่ โครงงาน หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลือกโครงงานเพอ่ื พัฒนา ทกั ษะ การเรียนรู (ทร 02006) (2)ชือ่ ผูทาโครงงาน ระดับ สถานศกึ ษา และวนั เดอื นปท่ี จดั ทา (3) ชื่อครปู ระจากลุม อาจารยท่ีปรึกษา (4) คานา (5) สารบญั (6) สารบัญตาราง หรอื ภาพประกอบ (ถาม)ี (7) บทคดั ยอสัน้ ๆ ท่บี อกเคาโครงอยางยอ ๆ ซ่งึ ประกอบดวย เรอ่ื ง วัตถปุ ระสงค วิธี การศกึ ษา ระยะเวลา และสรุปผล (8) กติ ติกรรมประกาศ เพ่ือแสดงความขอบคุณบุคคล หรอื หนวยงานท่ใี หความชวยเหลือหรือ มสี วนเก่ยี วของ 4.2) สวนเนื้อเร่ือง ประกอบดวย (1) บทนา บอกความเปนมา ความสาคัญของโครงงาน บอก เหตผุ ล หรอื เหตุจงู ใจในการเลือก หัวขอโครงงาน (2) วตั ถปุ ระสงคของโครงงาน

(3) สมมติฐานของการศกึ ษาคนควา (4) การดาเนินงาน อาจเขยี นเปนตาราง แผนผังโครงงาน เพ่ือใหการดาเนินงานเปนไปตาม หัวขอเรื่อง ตรงตามวตั ถุประสงคของ โครงงาน และพิสูจนคาตอบ (สมมติฐาน) (5) สรปุ ผลการศึกษา เปนการอธิบายคาตอบทไ่ี ดจาก การศกึ ษาคนควา ตามหัวขอยอยทตี่ อง การทราบ วาเปนไปตาม สมมติฐานหรือไม หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนา ทกั ษะการเรียนรู (ทร 02006) (6) อภิปรายผล บอกประโยชน หรอื คณุ คาของผลงานทีไ่ ด และบอกขอจากดั หรอื ปญหา อุปสรรค (ถามี) พรอมท้ังบอก ขอเสนอแนะในการศกึ ษาคนควา โครงงานลักษณะใกลเคยี งกนั 4.3) สวนทาย ประกอบดวย (1) บรรณานกุ รม หรือ เอกสารอางอิง หรอื เอกสารท่ีใช คนควา ซ่งึ มีหลายประเภท เชน หนังสอื ตารา บทความ หรือคอลัมน ซ่งึ จะมีวิธีการเขยี นบรรณานกุ รมตางกนั เชน หนงั สอื ช่อื นามสกลุ . ช่อื หนังสือ. สถานทพ่ี มิ พ : สานกั พิมพ, ปที่พมิ พ บทความในวารสารช่อื ผูเขยี น \"ช่อื บทความ,\" ชือ่ วารสาร. ปที่ หรอื เลมที่ : หนา ;วัน เดือน ป. คอลัมนจากหนงั สือพมิ พ ชื่อผูเขยี น \"ช่อื คอลัมน : ช่ือเร่อื งใน คอลมั น\" ชือ่ หนังสอื พมิ พ. วนั เดอื น ป. หนา. (2) ภาคผนวก เชน โครงรางโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ 5) การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เปนข้นั ตอนสดุ ทาย ของการทาโครงงานและเขาใจถงึ ผลงานนน้ั การนาเสนอผลงานอาจ ทาไดหลายรปู แบบ ขน้ึ อยูกบั ความเหมาะสมตอประเภทของ โครงงาน เน้อื หา เวลา ระดบั ของผูเรียน เชน การแสดงบทบาทสมมติ การเลา

แบบทดสอบ 1.ความหมายของโครงงานเน้นส่วนท่ีสาคญั คอื เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนได้จัดทาเป็นไปตามการเรียนการสอนปกติ เป็นกิจกรรมที่ครูออกแบบให้ เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนปฏิบัตไิ ด้ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมท่ีครูคิดหัวข้อให้ 2.การได้หัวขอ้ โครงงานอาจจะไดม้ าจากการทากจิ กรรมใด ถูกทุกข้อ การศึกษาจากภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ การศึกษาดูงาน การศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต 3.ข้อใดไม่ใช่ความสาคญั ของโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการท่ีสามารถสร้างองค์ความรไู้ ด้ด้วยตนเอง เป็นการพฒั นาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการีท่ผู้เรยี นดูโทรทัศน์แล้วอยากทา เป็นการพฒั นากระบวนการ 4.ข้อใดคอื จุดม่งุ หมายของการทาโครงงาน เพ่ือให้ผู้เรียนร้รู ักสามัคคี เพื่อให้ผู้เรียนได้ผลประโยชน์จากกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนรู้ถงึ ความเป็นไทย เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกซ่งึ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ 5.จุดเนน้ ของการปฏิรูปการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานคอื ข้อใด ยึดทักษะกระบวนการ ยึดกระบวนการคิด ยึดผู้เรียนเปน็ สาคัญ ยึดเหตุผล

ทกั ษะท่ีจาเป็นในการทาโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ 1.1.ทกั ษะดา้ นการจดั การขอ้ มลู สารสนเทศ การจัดทาขอมูลใหเปนสารสนเทศ (www. krutong.) การจัดทาขอมลู ใหเปนสารสน เทศ ท่จี ะเปนประโยชนตอการใชงาน จาเปนตองอาศัยเทคโนโลยี เขามาชวยในการ ดาเนินการ เร่ิมตงั้ แตการรวบรวม และตรวจสอบขอมูล การดาเนินการประมวลผลขอมลู ใหกลายเปนสา รสนเทศ และการดแู ลรักษาสารสนเทศเพอื่ การใชงาน ดังตอไปน้ี ก. การรวบรวมและตรวจสอบขอมูล 1) การเก็บรวบรวมขอมูล เปนเร่ืองของการเก็บรวบรวมขอมูลซ่งึ มีจานวนมาก และตองเก็บ ใหไดอยางทนั เวลา เชน ขอมูลการลงทะเบียนเรยี น ขอมูลประวัตบิ คุ ลากร ปจจุบันมีเทคโนโลยีชวยในการ จดั เก็บอยู เปนจานวนมาก เชน การปอนขอมูลเขาเครอื่ งคอมพิวเตอร การอานขอมลู จากรหัสแท ง การตรวจใบลงทะเบยี นทมี่ ีการฝนดินสอดาในตาแหนงตาง ๆ เปนวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมูลเชนกนั 2) การตรวจสอบขอมลู เมือ่ มกี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู แลวจาเปนตองมีการตรวจสอบขอมูล เพอ่ื ความถกู ตอง ขอมูลทเี่ ก็บเขาในระบบตองมคี วามเช่ือถอื ได หากพบท่ี ผิดพลาดตองแกไข การ ตรวจสอบ ขอมลู มีหลายวธิ ี เชน การใชผูปอนขอมูลสองคนปอนขอมลู ชุดเดียวกนั เขาคอมพวิ เตอรแลวเปรียบ เทียบกัน ข. การประมวลผลขอมูล แบงออกเปน 3 ประเภท คอื 1) การประมวลผลดวยมือวิธีน้เี หมาะกบั ขอมลู จานวนไมมากและไมซับซอน อปุ กรณในการ คานวณไดแก เครือ่ งคิดเลข ลูกคิด 2) การประมวลผลดวยเครื่องจกั ร วธิ นี ี้เหมาะกับขอมลู จานวนปานกลาง และไมจาเปน ต องใชผลในการคานวณทันทีทันใดเพราะตองอาศยั เครอื่ งจักร และแรงงานคน 3) การประมวลผลดวยคอมพวิ เตอร วิธีนีเ้ หมาะกับงานท่มี จี านวนมาก ไมสามารถ ใช แรงงานคนได และงานมีการคานวณท่ยี ุงยาก ซบั ซอน การคานวณดวยเครอ่ื งคอมพิวเตอร จะใหผลลพั ธท่ี ถูกตอง แมนยา และรวดเรว็ 4) การส่อื สาร ขอมูลตองกระจายหรอื สงตอไปยงั ผูใชงานท่ีหางไกลไดงาย การส่ือสารขอมูล จงึ เปนเร่อื งสาคัญและมีบทบาทที่สาคัญยง่ิ ทีจ่ ะทาใหการสงขาวสารไปยงั ผูใชทาไดรวดเรว็ และทนั เวลา 1.2.ทกั ษะการคิดอย่างเปน็ ระบบ ทักษะการคิดเปนศกั ยภาพที่สาํ คญั สาํ หรบั ผูเรียนทีจ่ ะตองใชในการวางแผนดาํ เนนิ งาน และนํา ผลการจัดทําโครงงานไปใช อยางไรกต็ ามขอเสนอแนะวา ทกั ษะการคิดท้ังหลายผูเรียนควรใหความ สนใจพัฒนาฝกฝนทกั ษะการคิด เพราะเปนเคร่อื งมือสาํ คัญที่จะติดตวั และนาํ ไปใชไดตลอดกาล อยาง ไมมีขดี จาํ กัด และเปนพิเศษสําหรบั ทักษะการคิดแบบอยางเปนระบบ (System Thinking) เปน ลกั ษณะการคิดที่ตองมีสวนประกอบสองสวนท้ังการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking)และการคิด เชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซึง่ ตองเปนกระบวนการคิดทีม่ ปี ฏิสัมพนั ธกนั โดยกอใหเกิดพลังอยา งใดอยางหนึง่ หรือหลายอยาง สาํ หรับการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking)มีเทคนคิ ในการพฒั นา ตนเอง ดวยการ ฝกแยกแยะประเด็น ฝกเทคนคิ การคิดในการนําแนวคิดทฤษฎี ที่ไดเรียนรูมา

ประยุกตใชกับโครงงาน ที่ จะทาํ และใชเทคนิค STAS Model มาชวยในการคิดวิเคราะห ไดแก Situation Theory Analysis Suggestion สวนเทคนคิ การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) เปนการฝกทกั ษะการ คิดแบบความสมั พนั ธเชิงเหตผุ ล ทั้งความสัมพันธในแนวดิ่ง และความสัมพันธในแนวนอน 1.3.ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การทาโครงงานผูเรยี นจาเปนตองมีทกั ษะ ซ่งึ อาจแบงออกได เปน 2 กลมุ ไดแก 1. ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรขั้นพนื้ ฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก การสงั เกต การลงความเห็น จากขอมลู การจาแนกประเภท การวดั การใชตวั เลข การพยากรณ การหาความสมั พันธระหวางสเปสกบั สเปส และสเปสกบั เวลา การจดั กระทาและสื่อความหมายขอมูล 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นสูง มี 5 ทกั ษะ ไดแก การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร การ ต้ังสมมตุ ิฐาน การกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการ การทดลอง การตคี วามหมายขอมูลและการลงข อสรปุ ทกั ษะท้ัง 5 นี้เปนเรอื่ งใหม และมคี วามสาคญั ในการทาวิจัย ผูเรยี นจาเปนตองทาความเขาใจให ชดั เจนกอน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรขน้ั พื้นฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก 1. การสงั เกตเปนการใชประสาทสมั ผสั ทง้ั 5 คอื ตา หู จมูก ผวิ กาย และล้นิ หรอื อยางใดอยางหนง่ึ ในการสารวจวัตถุ หรอื ปรากฏการณตาง ๆ หรือจากการ ทดลอง เพ่ือคนหา รายละเอียด ตาง ๆ ของขอมลู ขอมูลจากการสงั เกตแบงเปน 2 ประเภท คือ - ขอมูลเชงิ คุณภาพ เปนขอมูลจากการสงั เกตคุณลกั ษณะของส่งิ ตาง ๆ เชน สี รูปราง รส กล่ิน ลักษณะ สถานะ เปนตน - ขอมลู เชิงปรมิ าณ เปนขอมลู ที่ไดจากการสงั เกต ขนาด ความยาว ความสงู นา้ หนกั ปริมาตร อุณหภูมิ ของสิ่งตาง ๆ เปนการอธบิ ายเพ่ิมเติมเกีย่ วกับ 2. การลงความเหน็ จากขอมลู 3. การจาแนกประเภท เปนการแบงพวก จัดจาแนกเรียงลาดบั วตั ถุ หรอื ปรากฏการณตาง ๆ ทีต่ องการศกึ ษาออกเปนหมวดหมู เปนระบบ ทาใหสะดวก รวดเร็ว และงายตอการศกึ ษาคนควา โดย

การหาลกั ษณะหรือคุณสมบัตริ วมบางประการ หรอื หาเกณฑความเหมอื น ความตาง ความสมั พันธ อยางใด อยางหน่งึ เปนเกณฑในการแบง 4. การวัด เปนความสามารถในการเลือกใชเครอ่ื งมือไดอยางถูกตองในการวัดสง่ิ ตาง ๆ ที่ตอง การศึกษา เชน ความกวาง ความสูง ความหนา นา้ หนกั ปริมาตร เวลา และอุณหภูมิ โดยวัดออกมาเปน ตวั เลขไดถกู ตอง รวดเร็ว มีหนวยกากับ และสามารถอานคาที่ใชวัดไดถกู ตองใกลเคยี งความเปนจรงิ มากทีส่ ุด 5. การใชตวั เลข การใชตัวเลขหรือการคานวณ เปนการนบั จานวนของวัตถุ และนาคาตวั เลขที่ ไดจากการวดั และการนบั มาจัดกระทาใหเกิดคาใหม โดยการนามา บวก ลบ คูณ หาร เชน การ หาพนื้ ที่ การหาปริมาตร เปนตน 6. การพยากรณ เปนความสามารถในการทานาย คาดคะเนคาตอบโดยใชขอมูลท่ีไดจากการสงั เกต ประสบการณทเ่ี กดิ ซา้ บอย ๆ หลกั การ ทฤษฎี หรอื กฎเกณฑตาง ๆ มาชวยสรุปหาคาตอบเร่ือง นั้น การพยากรณจะแมนยามากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับผลทไ่ี ดจากการสงั เกตทร่ี อบคอบ การวัดที่แม นยา การบนั ทึกที่เปนจริง และการจัดกระทาขอมูลที่เหมาะสมผลหรือขอมูลทไี่ ดจากการสังเกตอยางมี เหตุผล โดยใชความรูหรือประสบการณมาอธบิ ายดวยความเห็นสวนตวั ตอขอมูลนน้ั ๆ 7. การหาความสัมพนั ธระหวางสเปสกบั สเปส และ สเปสกับเวลา สเปส (Space)หมายถึง ท่ีวางในรูปทรงของวัตถุ มี 3 มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความสงู (หนา ลึก) ความสัมพนั ธระหวางสเปสกบั สเปสของวัตถุ หมายถึงความสมั พนั ธระหวางวตั ถุ 2 มิติ กับ วตั ถุ 3 มติ ิ และ ความสัมพันธระหวางตาแหนงท่ีอยูของวัตถหุ นึ่งกบั อกี วตั ถหุ นึง่ คือการบงช้รี ปู 2 มิติ รูป 3 มิติ ได หรอื สามารถวาดภาพ 3 มิติ จากวตั ถุหรอื ภาพ 3 มิติได เปนตน ความสัมพันธระหวางสเปสกบั เวลา หมายถึง ความสัมพันธระหวางสเปสของวัตถุทีเ่ ปลีย่ นไปกบั เวลา หรอื การเปลีย่ นตาแหนงท่ีอยขู องวัตถุกบั เวลา น่ันคือการบอกทิศทางหรือตาแหนงของวัตถเุ ม่ือเทยี บกับ ตวั เองหรือสงิ่ อื่น ๆ 8. การจดั กระทาและส่อื ความหมายขอมูล การจดั กระทาคอื การนาขอมลู ดิบมาจดั ลาดบั จดั จาพวก หาความถ่ี หาความสัมพันธ หรอื คานวณ ใหม

การสื่อความหมายขอมลู เปนการใชวิธีตาง ๆ เพือ่ แสดงขอมูลใหผอู ื่นเขาใจ เชน การบรรยาย ใช แผนภมู ิ แผนภาพ : วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เปนตน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข้นั สงู มี 5 ทักษะไดแก 1. การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร ตัวแปร หมายถงึ ส่งิ ทแ่ี ตกตาง หรอื เปล่ียนแปลงไปจาก เดิมเมือ่ อยูในสถานการณตาง ๆ กัน ตัวแปรทเ่ี กี่ยวของกบั การทดลองทางวิทยาศาสตรมอี ยู 3 ประเภท ไดแก 1) ตวั แปรตน (ตัวแปรอิสระ ตวั แปรเหตุ) เปนตวั แปรเหตุที่ ทาใหเกดิ ผลตาง ๆ หรือ ตวั แปร ท่ี เราตองการศึกษา หรอื ทดลองดวู าเปนสาเหตุที่ทาใหเกดิ ผลตามทเี่ ราสังเกตใชหรือไม 2) ตัวแปรตาม (ตวั แปรไมอสิ ระ ตวั แปรผล) เปนตัวแปรท่ี เกิดมาจากตวั แปรเหตุ เม่อื ตวั แปรเหตุ เปล่ียนแปลงอาจมีผลทาใหตัวแปร ตามเปล่ียนแปลงไปได ตวั แปรตามจาเปนตองควบคุมใหเหมือน ๆ กัน เสยี กอน 3) ตวั แปรแทรกซอน(Extraneous Variables) เปนตวั แปรอน่ื ๆ ท่อี าจมีผลตอ ตัวแปรตาม โดยผวู ิจยั ไมตองการใหเกิดเหตกุ ารณนั้นขนึ้ 2. การต้ังสมมติฐาน เปนการคาดคะเนคาตอบของปญหาอยางมีเหตุผล หรือการบงบอกความสมั พนั ธ ของตวั แปรอยางนอย 2 ตวั กอนทีจ่ ะทาการทดลองจรงิ โดยอาศัยทกั ษะสงั เกต ประสบการณ ความรูเดมิ เป

นพืน้ ฐาน 3. การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ าร นิยามเชงิ ปฏิบัติการหมายถงึ ความหมายของคาหรือขอความที่ ใชในการทดลองท่สี ามารถสังเกต ตรวจสอบ หรอื ทาการวดั ได ซ่งึ จาเปนตองกาหนดเพ่ือความเขาใจที่ ตรงกันเสยี กอนทาการทดลอง นิยามเชิงปฏิบตั กิ าร จะแตกตางจากคานยิ ามทว่ั ๆ ไป คือ “ตองสามารถวดั หรือ ตรวจสอบได” ซึ่งมักจะเปนคานิยามของตวั แปรนนั่ เอง 4. การทดลอง เปนกระบวนการปฏบิ ตั ิการเพ่อื หาคาตอบจากสมมุติฐานท่ีตง้ั ไวในการ ทดลอง ประกอบดวยขัน้ ตอนตาง ๆ 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1) การออกแบบการทดลอง คอื การวางแผนการทดลองก อนลงมือปฏบิ ัติ จริง โดยกาหนดวาจะใชวสั ดอุ ปุ กรณอะไรบาง จะทาอยางไร ทาเม่ือไร มขี ้ันตอนอะไร 2) การปฏิบัติการทดลอง คอื การลงมือปฏิบตั ิตามทอ่ี อกแบบไว 3) การบนั ทึกผลการทดลอง คือ การจดบนั ทึกขอมลู ตาง ๆ ทไ่ี ดจากการทดลอง ซงึ่ ใชทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน 8 ทกั ษะทกี่ ลาวไปแลว

5. การตคี วามหมายขอมลู และการลงขอสรปุ การตคี วามหมายขอมูล คอื การแปลความหมาย หรือ การบรรยายผลของการศึกษาเพื่อใหคนอนื่ เขาใจว าผลการศึกษาเปนอยางไร เปนไปตามสมมติฐานทต่ี งั้ ไวหรอื ไม่ การลงขอสรุป เปนการสรุปความสัมพันธของขอมูลทั้งหมด เชน การอธบิ ายความสมั พนั ธระหวางตัว แปรบนกราฟ การอธิบายความสมั พันธของขอมูลท่ีเปนผลของการศึกษา การฝกทกั ษะท่ีจาเปนของการทาโครงงานทกุ ข้ันตอนอยางเปนระบบจะทาใหผเู รียนไดโครงงานและได ผลสาเรจ็ ของโครงงานท่ี มปี ระสทิ ธภิ าพและเช่อื ถือได 1.4.ทกั ษะการนาเสนอ ทักษะการนาเสนอ (www. panyathai.or.th) “การนาเสนอ” หมายถงึ การส่อื สารเพอื่ เสนอขอมลู ความรู ความคดิ เห็น หรอื ความตองการไปสูผูรับสาร โดยใชเทคนคิ หรอื วธิ กี ารตาง ๆ ความสาคญั ของการนาเสนอ ในปจจุบันนก้ี ารนาเสนอเขามามบี ทบาทสาคญั ในองคกรทาง ธุรกิจ ทางการเมอื ง ทางการศกึ ษา หรือแมแตหนวยงานของรฐั ทุกแหงกต็ องอาศยั วธิ ีการนาเสนอเพื่อ สื่อสารขอมูล เสนอความเหน็ เสนอขออนมุ ัติ หรือเสนอขอสรุปผลการดาเนินงานตาง ๆ กลาวโดยสรุปการ นาเสนอมีความสาคญั ตอการปฏบิ ตั งิ านทกุ ประเภท เพราะ ชวยในการตดั สินใจในการดาเนินงาน ตลอดจน เผยแพร ความกาวหนาของงานตอผูบังคบั บัญชาและบคุ คลผูทสี่ นใจ จดุ มุงหมายในการนาเสนอ 1. เพื่อใหผรู ับสารรับทราบความคดิ เห็นหรือความตองการ 2. เพอื่ ใหผรู ับสารพิจารณาเร่อื งใดเร่อื งหน่ึง 3. เพอ่ื ใหผูรบั สารไดรับความรูจากขอมูลทีน่ าเสนอ 4. เพ่ือใหผูรับสารเกิดความเขาใจที่ถกู ตอง ประเภทของการนาเสนอ การนาเสนอแบงออกไดเปน 2 รปู แบบ ดังนี้ 1. การนาเสนอเฉพาะกลุม 2. การนาเสนอทวั่ ไปในท่สี าธารณะ

ลกั ษณะของขอมลู ทนี่ าเสนอ ขอมลู ที่จะนาเสนอแบงออกตามลกั ษณะของขอมูล ไดแก 1. ขอเท็จจรงิ หมายถึง ขอความที่เก่ียวของกบั เหตกุ ารณ เรอ่ื งราวทเี่ ปนมาหรอื เปนอยูตามความจริง 2. ขอคดิ เห็น เปนความเห็นอันเกดิ จากประเดน็ หรือเร่อื งราวทชี่ วนใหคิด ขอคิดเหน็ มีลกั ษณะตาง ๆ กนั การนาเสนอ เปนการนาขอมลู ท่รี วบรวมขอมูลทไี่ ดจากการศกึ ษามานาเสนอ หรือทาการเผยแพรใหผูที่สนใจได รบั ทราบ หรือนาไปวิเคราะหเพอื่ ไปใชประโยชน แบงออกได 2 ลกั ษณะ คอื 1. การนาเสนออยางไมเปนแบบแผน 1. 1 การนาเสนอในรูปของบทความ 1. 2. การนาเสนอขอมลู ในรปู ของขอความกง่ึ ตาราง 2. การนาเสนอขอมลู อยางเปนแบบแผน 2. 1. การนาเสนอขอมูลโดยใชตาราง 2. 2. การนาเสนอขอมลู โดยใชแผนภูมิแทง 2. 3 การนาเสนอขอมลู โดยใชแผนภูมิวงกลม 2. 4 การนาเสนอขอมูลโดยใชแผนภมู ิรปู ภาพ 2. 5 การนาเสนอขอมูลโดยใชแผนทส่ี ถิติ 2. 6 การนาเสนอขอมลู โดยใชแผนภูมแิ ทงเปรียบเทียบ 2. 7 การนาเสนอขอมลู โดยใชกราฟเสน ในการนาเสนอขอมูลแบบใดนนั้ ข้นึ อยูกบั ความ เหมาะสมของขอมูล เชน ตองการแสดงอณุ หภมู ิของภาคตาง ๆ ควรแสดงดวยกราฟเสน ตองการแสดงการ เปรยี บเทียบจานวนนกั เรยี นแตละระดับการศกึ ษา ควรใชแผนภูมิแทง เปนตน 1.5.ทักษะการพฒั นาต่อยอดความรู้ (gotoknow. Org. และth.wikipedia.org/wiki/การจัดการความรู ) การตอยอดความรู มคี นจดั ประเภทความรูไว สองลกั ษณะ ไดแก ความรูฝงลึก (tacit knowledge) กบั ความรูประจกั ษ หรือชัดแจง (explicit knowledge) โดยความรูแบบฝงลกึ (Tacit Knowledge) เปนความรูท่ี ไม สามารถอธิบาย โดย ใชคาพดู ได มรี ากฐานมาจากการกระทาและประสบการณ มีลกั ษณะเปนความเช่ือ ทกั ษะ และเป นอัตวสิ ัย (Subjective) ตองการการฝกฝนเพือ่ ใหเกิดความชานาญ มลี กั ษณะเปนเรอ่ื งสวนบคุ คล มีบริบท เฉพาะ (Contextspecific) ทาใหเปนทางการและสื่อสารยาก เชน วิจารณญาณความลับทางการคา วฒั นธรรม องคกร ทักษะ ความเชยี่ วชาญในเรือ่ งตางๆ การเรยี นรขู ององคกร ความสามารถในการชิมรส ไวน หรอื กระทั่งทักษะในการสงั เกตเปลวควนั จากปลองโรงงานวามปี ญหาในกระบวนการผลิตหรอื ไม เปนค วามรูที่ ใชกันมากในชีวิตประจาวนั และมกั เปนการใชโดยไม รตู วั และความรูประจกั ษ หรอื ชดั แจง (explicit knowledge) เปนความรูท่รี วบรวมไดงาย จดั ระบบและถายโอนโดยใชวิธกี ารดจิ ิทลั มีลักษณะเปนวตั ถุดิบ (Objective) เปนทฤษฏี สามารถแปลงเปนรหัสในการถายทอดโดยวิธีการท่ี เปนทางการ ไม จาเปนตอง อาศัยการปฏสิ มั พนั ธกบั ผูอื่ นเพื่ อถ ายทอดความรู เช น นโยบายขององคกร กระบวนการทางาน ซอฟตแวร เอกสาร และกลยุทธ เปาหมายและความสามารถขององคกร

แบบทดสอบ 1 การประมวลข้อมูลแบ่งออกเปน็ กีป่ ระเภท * 4 ประเภท 5 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 2.การทาของใช้จากกระป๋องโค๊กเป็นโครงงานประเภทใด * โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ 3.กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขัน้ ตอนใดทจ่ี ะนาไปสู่การสรปุ ผลการศกึ ษาตอ่ * การสังเกต การตั้งสมมติฐานและการออกแบบการทดลอง การหาความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริง การรวบรวมข้อมูล 4.การตอ่ ยอดความรู้มีก่ีลกั ษณะ 2 1 3 4 5.ขอ้ ใดเป็นโครงงานประเภทสารวจ * ดอกกุหลาบจากธนาบตั ร ดอกกไม้จากผ้าใยบัว การศึกษาคาควบกล้าในหน้าหนังสือพิมพ์ การศึกษาผลของนา้ เสียต่อการตายของปลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook