Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Published by xpothita, 2020-11-13 03:41:55

Description: พลเมืองผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์ที่เข้าใจบรรทัดฐาน ของการปฏิบัติตัวให้เหมาะสมและมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีโดยเฉพาะการสื่อสารในยุคดิจิทัลเป็นการสื่อ สารที่ไร้พรมแดน พลเมืองดิจิทัลจึงต้องเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม

Search

Read the Text Version

CDIITGIIZTEANLS พลเมอื งดิจทิ ัลและความฉลาดทางดิจทิ ัล

พลเมอื งดิจทิ ัล ความเปนพลเมอื งดิจทิ ัลคือ พลเมอื งผใู้ ชง้ านสอื ดิจทิ ัลและสอื สงั คม ออนไลน์ทีเขา้ ใจบรรทัดฐาน ของการปฏิบตั ิตัวใหเ้ หมาะสมและมคี วามรบั ผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยโี ดยเฉพาะการสอื สารในยุคดิจทิ ัลเปนการสอื สารทีไรพ้ รมแดน พลเมอื งดิจทิ ัลจงึ ต้องเปนพลเมอื งทีมคี วามรบั ผดิ ชอบ มจี รยิ ธรรม เหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผอู้ ืน มสี ว่ นรว่ มและมุง่ เน้นความ เปนธรรมในสงั คม การเปนพลเมอื งมที ักษะทีสาํ คัญ 8 ประการ

1. ทักษะใน(กDาIGรIรTกัALษCาIอTัตIZลENักIษDณENท์TIีดTYีข)องตนเอง ผใู้ ชส้ อื ดิจทิ ัลสรา้ งภาพลักษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแง่บวก ทังความคิดความรูส้ กึ และการกระทําโดยมวี จิ ารณญานในการรบั สง่ ขา่ วสารและแสดงความคิดเห็น มคี วามเห็นอกเห็นใจ ผรู้ ว่ มใชง้ านใน สงั คมออนไลน์ และรูจ้ กั รบั ผดิ ชอบต่อการกระทํา ไมก่ ระทําการทีผดิ กฎหมายและจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์

2. ทักษะการ(คCRิดIวTIเิ CคAรLาTะหHI์มNKวี Iจิ NาGร)ณญาณทีดี สามารถในการวเิ คราะห์แยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลทีถกู ต้องและขอ้ มูลทีผดิ ขอ้ มูลทีมเี นอื หาเปนประโยชนแ์ ละขอ้ มูลทีเขา้ ขา่ ยอันตราย ขอ้ มูลติดต่อ ทางออนไลนท์ ีนา่ ตังขอ้ สงสยั และนา่ เชอื ถือได้

3. ทักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (CYBERSECURITY MANAGEMENT) ทักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรกั ษา ความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอรค์ ือ การปกปองอุปกรณด์ ิจทิ ัลขอ้ มูล ทีจดั เก็บและขอ้ มูลสว่ นตัวไมใ่ ห้เสยี หาย สญู หาย หรอื ถกู โจรกรรมจากผไู้ มห่ วงั ดี ในโลกไซเบอร์ การรกั ษาความปลอดภัยทางดิจทิ ัลมคี วามสาํ คัญดังนี 1. เพอื รกั ษาความเปนสว่ นตัวและความลับ หากไมไ่ ด้รกั ษาความปลอดภัย ให้กับอุปกรณด์ ิจทิ ัล ขอ้ มูลสว่ นตัวและขอ้ มูลทีเปนความลับอาจ จะรวั ไหลหรอื ถกู โจรกรรมได 2. เพอื ปองกันการขโมยอัตลักษณณ์ ์ การขโมยอัตลักษณเ์ รมิ มจี าํ นวน ทีมากเนอื งจากมกี ารทําธุรกรรมทางออนไลนม์ ากยงิ ขนึ หากไมม่ กี าร รกั ษาความปลอดภัยทีเพยี งพอ มจิ ฉาชพี อาจจะล้วงขอ้ มูลเกียวกับบตั ร เครดิตและขอ้ มูลสว่ นตัวของผใู้ ชง้ านไปสวมรอยทําธุรกรรมได้ 3. เพอื ปองกันการโจรกรรมขอ้ มูล เนอื งจากขอ้ มูลต่างๆ มกั เก็บ รกั ษาในรูปของดิจทิ ัล ไมว่ า่ จะเปนเอกสารภาพถ่าย หรอื คลิปวดี ิโอ ขอ้ มูลเหล่านีอาจจะถกู โจรกรรมเพอื นาํ ไปขายต่อ แบล็คเมล 4. เพอื ปองกันความเสยี หายของขอ้ มูลและอุปกรณ์ ภัยคกุ คาม ทางไซเบอรอ์ าจสง่ ผลเสยี ต่อขอ้ มูลและอุปกรณด์ ิจทิ ัลได้

4. ทักษะในการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นตัว (PRIVACY MANAGEMENT) รูจ้ กั ปกปองขอ้ มูลความสว่ นตัวในโลกออนไลน์โดยเฉพาะการ แชรข์ อ้ มูลออนไลน์เพอื ปองกันความเปนสว่ นตัวทังของตนเองและ ผู้อืน รูเ้ ท่าทันภัยคกุ คามทางอินเทอรเ์ น็ต 1. ไมค่ วรตังรหัสผา่ นของบญั ชใี ชง้ านทีง่ายเกินไป 2. ตังรหัสผา่ นหนา้ จอสมารท์ โฟนอยูเ่ สมอ 3. แชรข์ อ้ มูลสว่ นตัวในสอื โซเชยี ลมเี ดียอยา่ งระมดั ระวงั

5. ท(ักSษCRะใEนENกาTรIMจEดั MสAรNรAเGวEลMาEหNนT)า้ จอ การควบคมุ เพอื ให้เกิดสมดลุ ระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถึงอันตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป การทํางาน หลายอยา่ งในเวลาเดียวกัน และผลเสยี ของการเสพติดสอื ดิจทิ ัล

6. ทักษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลทีผใู้ ชง้ าน มกี ารทิงไวบ้ นโลกออนไลน์ (DIGITAL FOOTPRINTS) ธรรมชาติของการใชช้ วี ติ ในโลกดิจทิ ัลวา่ จะหลงเหลือรอ่ ยรอยขอ้ มูลทิงไว้ เสมอ รวมไปถึงเขา้ ใจผลลัพธท์ ีอาจเกิดขนึ เพอื การดแู ลสงิ เหล่านีอยา่ งมี ความรบั ผดิ ชอบ รอยเท้าดิจทิ ัล (DIGITAL FOOTPRINTS) คืออะไร รอยเท้าดิจทิ ัลคือทกุ สงิ ทกุ อยา่ งในโลกอินเทอรเ์ นต็ ทีบอกเรอื งของเรา เชน่

7. ทักษะในการรบั มอื กับการกลันแกล้ง บนโลกไซเบอร์ (CYBERBULLYING MANAGEMENT) การกลันแกล้งบนโลกไซเบอรค์ ือ การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ เปน เครอื งมอื หรอื ชอ่ งทางเพอื ก่อให้เกิดการคกุ คามล่อลวงและ การกลันแกล้งบนโลกอินเทอรเ์ นต็ และสอื สงั คมออนไลน์ โดย กล่มุ เปาหมายมกั จะเปนกล่มุ เด็กจนถึงเด็กวยั รุน่ การกลัน แกล้งบนโลกไซเบอรค์ ล้ายกันกับการกลันแกล้งในรูปแบบอืน หากแต่การกลันแกล้งประเภทนีจะกระทําผา่ นสอื ออนไลนห์ รอื สอื ดิจทิ ัล เชน่ การสง่ ขอ้ ความทางโทรศัพท์ ผกู้ ลันแกล้งอาจ จะเปนเพอื นรว่ มชนั คนรูจ้ กั ในสอื สงั คมออนไลน์ วธิ จี ดั การเมอื ถกู กลันแกล้งบนโลกไซเบอร์ หยุดการตอบโต้กับผกู้ ลันแกล้งLOGOUT จากบญั ชสี อื สงั คม ออนไลนห์ รอื ปดเครอื งมอื สอื สาร ปดกันการสอื สารกับผกู้ ลันแกล้ง โดยการบล็อก จากรายชอื ผตู้ ิดต่อ ถ้าผกู้ ลันแกล้งยงั ไมห่ ยุดการกระทําอีก ควรรายงาน • บอกผปู้ กครอง หรอื ครูทีไวใ้ จ • รายงานไปยงั ผใู้ ห้บรกิ ารสอื สงั คมออนไลนน์ นั ๆ ผกู้ ลันแกล้ง •อบานัจทกรึกะหทลําักกฐารานละกเามรดิ กขลอ้ ันตแกกลลง้งกอาีเรมใลชง้ หารนอื สภอื าอพอทนีบไนัลทนึก์ จาก หนา้ จอ

8. ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมจี รยิ ธรรม (DIGITAL EMPATHY) มคี วามเห็นอกเห็นใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ีดีกับผอู้ ืนบนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเปนการสอื สารทีไมไ่ ด้เห็นหนา้ กัน มปี ฏิสมั พนั ธอ์ ันดีต่อคนรอบขา้ ง ไมด่ ่วนตัดสนิ ผอู้ ืนจากขอ้ มูลออนไลนแ์ ต่เพยี งอยา่ งเดียว และจะเปนกระบอก เสยี งให้ผทู้ ีต้องการความชว่ ยเหลือ คิดก่อนจะโพสต์ลงสงั คมออนไลน์ (THINK BEFORE YOU POST) ใครค่ รวญก่อนทีจะโพสต์รูปหรอื ขอ้ ความลงในสอื ออนไลน์ ไมโ่ พสต์ ขณะกําลังอยูใ่ นอารมณโ์ กรธสอื สารกับผอู้ ืนด้วยเจตนาดี ไมใ่ ชว้ าจาที สรา้ งความเกลียดชงั ทางออนไลน์ ไมน่ าํ ล้วงขอ้ มูลสว่ นตัวของผอู้ ืน ไมก่ ลันแกล้งผอู้ ืนผา่ นสอื ดิจทิ ัล โดยอาจตังความถามกับตัวเองก่อน โพสต์วา่

เอกสารอ้างอิง 6 เหตกุ ารณ์ สะเทือนใจ!! จากภัย CYBERBULLYING - จส. 100 [ONLINE]. แหล่ง ทีมาHTTP://WWW.JS100.COM/EN/SITE/POST_SHARE/VIEW/25700 [4 มกราคม 2561] 9 ขอ้ ควรปฏิบตั ิของพลเมอื งดิจทิ ัลยุคใหม่ [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTP://WWW.OKMD.OR.TH/OKMD-OPPORTUNITY/DIGITAL-AGE/258/ [2 มกราคม 2561] ดีปาจบั มอื พนั ธมติ รขบั เคลือนความฉลาดทางดิจทิ ัลให้เด็กไทยเทียบเท่า มาตรฐาน [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTP://WWW.RYT9.COM/S/PRG/2778991 [3 มนี าคม 2561] โจไ๋ ทยเมนิ ออกกําลังกาย 40% อยากเล่นเนต็ -เกมมากกวา่ [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTP://WWW.MANAGER.CO.TH/QOL/VIEWNEWS.ASPX?NEWSID=9560000154824 [2 มกราคม 2561] ผลวจิ ยั ชวี ยั รุน่ อยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยงิ ผกู พนั กับพอ่ แม-่ เพอื นลดลง [ONLINE]. แหล่ง ทีมาHTTP://WWW.MANAGER.CO.TH/AROUND/VIEWNEWS.ASPX?NEWSID=9530000030132[24 มกราคม 2561] วทิ ยา ดาํ รงเกียรติศักด.ิ พลเมอื งดิจทิ ัล [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTP://WWW.INFOCOMMMJU.COM/ ICARTICLE/IMAGES/STORIES/ICARTICLES/AJWITTAYA/DIGITAL/DIGITAL_CITIZENSHIP.PDF [1 กมุ ภาพนั ธ์ 2561] ววิ รรณ ธาราหริ ญั โชติ. ทักษะทางดิจติ อลทีจาํ เปนสาํ หรบั เด็กในอนาคต [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTP://WWW.BANGKOKBIZNEWS.COM/BLOG/DETAIL/642553 [3 มกราคม 2561] สาํ นกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ. ค่มู อื CYBER SECURITY สาํ หรบั ประชาชน [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTPS://WWW.NBTC.GO.TH/ GETATTACHMENT/NEWS/รวมบทความ-(1)/ค่มู อื -CYBER-SECURITY-สาํ หรบั ประชาชน/ ค่มู อื -CYBERSECURITY-สาํ หรบั ประชาชน.PDF.ASPX [12 มกราคม 2561] DIGITAL SOUTHEAST ASIA / THAILAND IN 2017 – AN OVERVIEW [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTP://MY-THAI.ORG/DIGITAL-SOUTHEAST-ASIA-THAILAND-2017-OVERVIEW/ [12 มกราคม 2561] DIGITAL INTELLIGENCE (DQ) A CONCEPTUAL FRAMEWORK & METHODOLOGY FOR TEACHING AND MEASURING DIGITAL CITIZENSHIP [ONLINE]. แหล่งทีมา HTTPS://WWW.DQINSTITUTE. ORG/WP-CONTENT/UPLOADS/2017/08/DQ-FRAMEWORK-WHITE-PAPER-VER1-31AUG17.PDF [16 มกราคม 2561]

จดั ทําโดย นางสาว อนามกิ า โปธติ า ม.6/3 เลขที21 เสนอ คุณครู วชิ ัย สงิ หนอย โรงเรียนสนั กาํ แพงจงั หวัดเชียงใหม สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 34

TThyhyoaoauunn!!kk


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook