Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Creative Commons

Creative Commons

Published by xpothita, 2020-11-17 00:44:12

Description: อินเทอร์เน็ตจึงมีบทบาท
ในการเชื่อมโยงทั่วทุกมุมโลกเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานมีโอกาสได้เผยแพร่ผลงานหรือองค์ความรู้ของตนเองในรูปแบบสื่อดิจิทัล (Digital Media)
ทั้งข้อความ รูปภาพภาพเคลื่อนไหวและเสียง ผ่านช่องทางที่หลากหลาย

Search

Read the Text Version

CREATIVE COMMONS

จัดทําโดย นางสาว อนาทนิ ี โปธติ า เลขท่ี 25 ชน้ั ม.6/4 เสนอ คณุ ครู วิชัย สิงหน อ ย โรงเรียนสนั กาํ แพงจงั หวดั เชียงใหม สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 34

บทนํา การกา วเขาสูย ุคดจิ ทิ ลั (Digital Age) ทาํ ใหว ิถชี วี ติ ของผคู น ในยุคน้ีมคี วามใกลชิดกับเทคโนโลยีอยา งหลีกเลยี่ งไมไ ด เทคโนโลยีถูก นาํ มาใชอ าํ นวยความสะดวกในดานตา งๆต้ังแตเชา จดคาํ การสือ่ สาร การเขาถึงขา วสารขอ มลู สารสนเทศและความบันเทงิ ทาํ ไดอยาง สะดวกรวดเร็วโดยใชอปุ กรณค อมพวิ เตอร แทบ็ เล็ต หรือสมารทโฟน ท่ีเช่ือมตอ กบั สญั ญาณอนิ เทอรเ น็ต ดังนัน้ อนิ เทอรเน็ตจงึ มบี ทบาท ในการเชือ่ มโยงทวั่ ทกุ มุมโลกเขา ดว ยกัน นอกจากนยี้ ังเปนกญุ แจ สาํ คญั ที่ทาํ ใหผูส รางสรรคผ ลงานมีโอกาสไดเ ผยแพรผลงานหรือ องคค วามรูของตนเองในรูปแบบสอื่ ดจิ ทิ ลั (Digital Media) ทั้งขอ ความ รปู ภาพภาพเคลื่อนไหวและเสียง ผานชอ งทางที่หลาก หลาย

ทรัพยส์ นิ ทางปญญาและกฎหมาย ด้านลิขสทิ ธใิ นประเทศไทย ทรพั ยส์ นิ ทางปญญา (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรอื สรา้ งสรรค์ของมนุษย์ ซงึ เน้นทีผลผลติ ของสติปญญาและความชาํ นาญ โดยไมค่ ํานึงถึงชนิดของ การสรา้ งสรรค์หรอื วธิ ใี นการแสดงออก อาจแสดงออกในรูปแบบของสงิ ทีจบั ต้องได้ ในทางสากลทรพั ยส์ นิ ทางปญญาแบง่ ออกเปน 2 ประเภท ได้แก่ 1. ทรพั ยส์ นิ อุตสาหกรรม หมายถึง ความคิดสรา้ งสรรค์ของมนุษยท์ ีเกียว กับอุตสาหกรรมต่างๆ อาจเปนความคิดในการประดิษฐค์ ิดค้น ซงึ อาจเปนกระ บวนการหรอื เทคนิคในการผลติ ทีได้ 2. ลิขสทิ ธิ หมายถึง สทิ ธแิ ต่เพยี งผู้เดียวทีจะกระทํา การใดๆเกียวกับงานทีผู้สรา้ งสรรค์รเิ รมิ โดยการใชส้ ติปญญาความรู้ ความสามารถ และความวริ ยิ ะอุตสาหะของตนเองในการสรา้ งสรรค์โดยไม่ ลอกเลยี นงานของผู้อืน

พระราชบัญญตั ลิ ิขสิทธิ พ.ศ. 2537 มาตราที 6 สว่ นที 1 บัญญตั วิ ่าผลงานอันมลี ิขสทิ ธิ ไดแ้ ก่ งานสร้างสรรค์ประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิงบันทกึ เสยี ง งานแพร่เสยี งแพร่ภาพหรองานอนื ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทยาศาสตร์ หรอแผนกศิลปะของผสู้ ร้างสรรค์ผลงานทไี มถ่ ือว่าเปนงานอนั มลี ิขสิทธิ ตามพระราชบัญญัติ ไดแ้ ก่ 1. ข่าวสารและขอ้ เทจ็ จรงตา่ งๆ ทีไมใ่ ชง่ านในแผนกวรรณคดี 2. รัฐธรรมนูญและกฎหมาย 3. ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ประกาศ คําสงั 4. คําพพิ ากษา คาํ สัง คําวนจิ ฉยั 5. คําแปลและการรวบรวมสงิ ตา่ งๆ 6. ความคิด ขันตอน กรรมวธีระบบ

ผลงานลิขสทิ ธิ สมบตั ิสาธารณะ และครีเอทีฟคอมมอนส์ สาํ นักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหงชาต(ิ 2559) กลา ววา ผลงานที่ถกู สรา งข้ึนมาโดยไมละเมดิ ลิขสิทธ์ิของผูอื่น จะถูกคุมครองดวยกฎหมายลิขสทิ ธิ์ ถือเปน ทรัพยส ินทางปญญา ทไี่ ดรับสญั ญาอนญุ าตสงวนลขิ สิทธิ์ ทนั ทโี ดยไมตองจด ทะเบียนแตอยางใด ผสู รางผลงานจงึ ควรเก็บตน ฉบบั ผลงาน ลงขอมูลสรางสรรคใ หชัดเจนผเู ปน เจา ของผลงานลขิ สทิ ธ์ิ ทําซํา้ ดดั แปลง จาํ หนา ย ใหเชา

วธิ กี ารนาํ ผลงานนัน้ ไปใช เผยแพร ดดั แปลงทําซ้ําไดโ ดยไมตองขอ อนุญาตและไมถ อื วา เปนการละเมิดลขิ สิทธ์ิ ซง่ึ เวบ็ ไซต Creative Commons ไดก ลา วถึง สัญญาอนญุ าตครีเอทฟี คอมมอนส ประกอบ ดว ย 4 เง่อื นไขหลัก แสดงรายละเอียดดัง ตารางที่ 1 ตารางที 1 เงือนไขและสญั ลักษณส์ ญั ญาอนุญาตครเี อทีฟคอมมอนส์

เม่อื นําทัง้ 4 เง่อื นไขหลกั มาการกําหนดสัญญาอนญุ าตครเี อทฟี คอมมอนสโดย การระบุเงื่อนไงรว มกนั สามารถทาํ ได 6 แบบ ดงั แสดงในตารางที่ 2 ตารางที 2 การระบุเงือนไขร่วมกัน

1. ผลงานลขิ สิทธิ(Copyright) เปนผลงานทผี ู้สร้างสรรค์ผลงาน มีสิทธใิ นผลงานนนั โดยผู้สร้างสรรคผ์ ลงานสามารถปองกนั ลิขสิทธิ ทาํ ซาํ ดัดแปลงผลงาน เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน ใหเ้ ชา่ ต้นฉบับหรอ ทําสาํ เนา ให้ประโยชนอ์ นั เกิดจากลขิ สิทธิแกผ่ ูอ้ ืนอนุญาตใหผ้ ้อู ืนนําไป ใช้ หรอโอนลิขสทิ ธใิ ห้แกผ่ ู้อนื 2. ครเอทฟี คอมมอนส์(Creative Commons) เปนผลงานทีผู้ สร้างสรรค์ผลงานมีสิทธิในผลงานนนั และให้สทิ ธิบางประการหรอสงวน สิทธิบางประการ ดว้ ยการระบเุ งือนไขให้ผู้อนื ทราบถงึ วธกี ารนําผลงาน ไปใช้ซงึ ผูม้ คี วามประสงคใ์ ช้ผลงานครเอทีฟคอมมอนสส์ ามารถนาํ ผล งานไปเผยแพร่ดดั แปลง ทาํ ซาํ ไดต้ ามเงือนไขทกี าํ หนด ไดโ้ ดยไมต่ อ้ ง ขออนุญาตผู้สร้างสรรค์ผลงาน และไม่ถือเปนการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ 3. สมบตั ิสาธารณะ (Public Domain) เปนผลงานทผี ู้สร้างสรรค์ สละสทิ ธิทังหมดและอุทิศผลงานเปนสมบตั ิสาธารณะ เพอื ให้ผูอ้ นื นําผล งานนนั ไปใชป้ ระโยชน์อย่างอสิ รเสร

การเผยแพร่ผลงานภายใต้สญั ญาอนุญาตครเอทฟี คอมมอนส์ สาํ หรบั สญั ญาอนญุ าตภาษาไทย เกดิ จากความรวมมอื กนั ของ Creative Commons International และองคก รตางๆ ภายในประเทศ ไดแก สถาบนั เทคโนโลยีนานาชาตสิ ิรินธร สถาบันChange Fusion และ สํานักงานกฎหมายธรรมนิติ มกี ารประชาสัมพนั ธ สงเสรมิ แนวคดิ วัฒนธรรมเสรี (Free Culture) และ สนับสนนุ ใหผ สู รา งสรรคผ ลงานเหน็ ประโยชนข องการ เผยแพรผ ลงานภายใตสญั ญาอนญุ าตครีเอทฟี คอมมอนส ั ปจ จุบนั ในประเทศไทยไดม หี นวยงานตา งๆ ทนี่ าํ เสนอเนอื้ หา ขอมูล ความรูภายใตส ัญญาอนญุ าตครีเอทฟี คอมมอนส เชน ระบบและศูนยกลาง การจดั การเรยี นการสอนออนไลนระบบเปดสําหรับมหาชนแหงชาติ หรอื Thaimooc เวบ็ ไซตส ํานกั งาน กองทุนสนับสนนุ การสรา งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) เว็บไซตส านกั บรรณ สารสนเทศมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช เปน ตน

ดา้ นของสือดิจิทัลผูเ้ ขยี นได้รวบรวมตวั อยา่ ง เวบ็ ไซตตา งประเทศโดยแยกเปน ประเภทตา งๆ ไดแ ก เวบ็ ไซตท ่บี ริการอัป โหลด รปู ภาพเพื่อแบง บนั ใหผ อู ่นื ดาวนโหลด เชน เวบ็ ไซต flickr เว็บไซต Foter เวบ็ ไซต foodiesfeed เวบ็ ไซต jay mantri เปนตน เวบ็ ไซต์ทรี วบรวมสอื ประเภทหนังสอื เรยนแบบเปด บทความและหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส (e-Book) เชน เวบ็ ไซต doab-Directory of open accessbooks เว็บไซต Open SUNY Textbooks เปนตน เวบ็ ไซตท์ รี วบรวมสอื ประเภทเสยี ง เชน เว็บไซต FMA – Free Music Archive เวบ็ ไซต MusOpen เปนตน เว็บไซตห ลกั สตู รออนไลน เชน เว็บไซต MIT OpenCourseWare เวบ็ ไซต School of Open เปน ตน

บทสรุป เว็บไซตและแอปพลิเคชนั ทถี่ ูกพัฒนาข้ึนในปจ จบุ นั ลวนมี สว นชว ยใหการเขา ถึงส่ือดิจิทัลเปนไปอยา งงา ยดาย ดังนั้นผูใช งานอนิ เทอรเ น็ตจึงควรศกึ ษาวธิ ีการนําผลงานใน รูปแบบของสอ่ื ดจิ ทิ ัลประเภทตา งๆ มาใชอยา งถูกตอ ง โดย เฉพาะผลงานภายใตสญั ญาอนุญาตครเี อทฟี คอมมอนสซ ง่ึ ประกอบดวยเงือ่ นไขในการนาํ ผลงานไปใชห ลายรูปแบบและ กําลังไดรบั ความนยิ มอยางแพรหลายในปจจุบนั นอกจาก สัญญาอนญุ าต ครีเอทีฟคอมมอนสจะเปน ประโยชนต อผทู ีต่ อ งการสรางสรรค ผลงานใหผูอน่ื ไดน ําไปใชป ระโยชนโดยการใหสิทธิต์ ามเงอื่ นไข แลว ยังเปน กลไกสําคัญที่สง ผลกระทบตอวงการการศึกษา

เอกสารอา้ งอิง กรมทรพั ยสินทางปญญา. (2560). คูมอื การประเมินมลู คาทรพั ยสนิ ทางปญญา คนเม่ือ 10 พฤษภาคม 2562. จากhttps://www.ipthailand. go.th. กฎหมายลขิ สิทธ์ิ [ออนไลน] . คน เม่ือ 10 พฤศจิกายน 2563. จาก http://www.ipthailand.go.th/th/dip-law-2.html.. (2560) ความรูเ บอ้ื งตนดานทรพั ยส นิ ทางปญญา [ออนไลน]. คน เม่ือ10 พฤศจิกายน 2563 จาก http://www.ipthailand.go.th/th/faq/item. Creative Commons ตา งกันอยางไร [ออนไลน] . คนเมือ่ 10 พฤศจิกายน 2563 จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda- knowledge/3334-pd-vscc.

TThyhyoaoauunn!!kk


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook