50 การป้ องกนั ประเทศ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในมาตรา ๕๒ ก�ำหนดไว้ว่ารัฐ ตอ้ งพทิ กั ษร์ กั ษาไวซ้ ง่ึ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เอกราช อธปิ ไตย บรู ณภาพแหง่ อาณาเขตและเขตทป่ี ระเทศไทย มสี ทิ ธอิ ธปิ ไตย เกยี รตภิ มู แิ ละผลประโยชนข์ องชาติ ความมน่ั คงของรฐั และความสงบเรยี บรอ้ ยของประชาชน เพือ่ ประโยชน์แห่งการน้ี รฐั ต้องจัดใหม้ ีการทหาร การทูต และการขา่ วกรองท่ีมีประสิทธิภาพ ก�ำลงั ทหาร ให้ใช้เพ่ือประโยชน์ในการพฒั นาประเทศด้วย จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รัฐบาลโดยกระทรวงกลาโหมจึงมีความจ�ำเป็นต้องจัดเตรียมก�ำลัง กองทพั ใหม้ ีความพร้อมไว้ตงั้ แตย่ ามปกติ ทั้งในเรอ่ื งของกำ� ลังพล หลกั นยิ ม การฝกึ ศึกษา และโครงสรา้ งการ จดั หน่วย รวมไปถึงเตรียมความพรอ้ มของอาวุธยทุ โธปกรณ์ให้มคี วามทันสมยั เพยี งพอต่อการปฏิบัตภิ ารกิจ และสอดคลอ้ งกบั หลกั นยิ มการรบทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป โดยมเี ปา้ หมายหลกั ในการเตรยี มกำ� ลงั เพอื่ การปอ้ งกนั ตนเอง การปกป้องผลประโยชน์ของชาติ และมีความพร้อมในการใช้ก�ำลังเพื่อการป้องปราม มิได้ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อคกุ คาม หรือรุกรานประเทศอ่ืนแตอ่ ยา่ งใด แมว้ า่ สถานการณป์ จั จบุ นั จะยงั ไมม่ แี นวโนม้ ทปี่ ระเทศจะเผชญิ กบั ภยั คกุ คามขนาดใหญแ่ ตจ่ ากปญั หา เสน้ เขตแดนทย่ี งั ไมม่ คี วามชดั เจนทงั้ เขตแดนทางบกและทางนำ้� ระยะทางกวา่ ๕,๖๗๑ กโิ ลเมตร (เปน็ เขตแดน ทางบก ๓,๕๒๗ กิโลเมตร และเขตแดนทางน�ำ้ ๒,๑๔๔ กิโลเมตร) รวมถึงทางทะเลซ่งึ มพี ้นื ทีน่ า่ นน้ำ� ตามแนว เขตแดนความยาวกวา่ ๑,๖๘๐ ไมลท์ ะเล และตามแนวชายฝง่ั ความยาวกวา่ ๑,๕๐๐ ไมลท์ ะเล รวมพนื้ ทที่ ะเลกวา่ ๓๒๓,๔๐๐ ตารางกโิ ลเมตร รวมไปถงึ การซอ้ นทบั ของเขตเศรษฐกจิ จำ� เพาะ (Exclusive Economic Zone: EEZ) ๒๐๐ ไมล์ทะเล ซึ่งความไม่ชัดเจนเหล่านี้อาจน�ำไปสู่การปกป้องแหล่งผลประโยชน์ของชาติ และอาจเกิด เป็นความขัดแย้งในระดับต�่ำ และอาจพัฒนาไปสู่การใช้ก�ำลังในลักษณะสงครามจ�ำกัด (Limited War) ได้ ซ่งึ กองทัพจะต้องมีความพร้อมที่จะสามารถรองรบั สถานการณ์ตา่ งๆ ไดต้ ลอดเวลา ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
51 กระทรวงกลาโหมจึงได้ก�ำหนดแนวทางในการเตรียมก�ำลังทางบก ก�ำลังทางเรือ และก�ำลัง ทางอากาศโดยค�ำนึงถึงภาระด้านงบประมาณของประเทศ ซึ่งก�ำลังในส่วนน้ีจะมีการจัดหน่วยท่ีมีความ ทันสมัย เป็นอเนกประสงค์ สามารถปฏิบัติภารกิจได้หลายรูปแบบ มีขีดความสามารถในการรบผสมเหล่า มีอ�ำนาจการยิงและความคล่องแคล่วในการเคล่ือนท่ี มีระบบอ�ำนวยการยุทธ์ท่ีคล่องตัว มีความพร้อมรบ และมีขีดความสามารถในการป้องกัน ป้องปราม และต่อต้านภัยคุกคามท่ีมีต่ออธิปไตยของดินแดน น่านนำ�้ และน่านฟา้ รวมท้ังคุ้มครองเสน้ ทางคมนาคมทางทะเล ตลอดจนรกั ษาผลประโยชนข์ องชาติได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพในทุกระดับของสถานการณ์ ดา้ นการป้ องกนั ชายแดน ภั ย คุ ก ค า ม ท่ี ส ่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต ่ อ ค ว า ม มั่ น ค ง ของชาติในปัจจุบัน เป็นผลกระทบมาจากกระแสความ เชื่อมโยงกันของโลกหรือโลกาภิวัตน์ กระทรวงกลาโหมจึง ได้จัดเตรียมและพัฒนาก�ำลังพลให้มีความพร้อมท้ังร่างกาย และจิตใจ รวมท้ังปลูกฝังจิตวิญญาณของทหารอาชีพ โดยเฉพาะด้าน “ความเสียสละเพื่อประเทศชาติ” และได้ เตรียมยุทโธปกรณ์เพื่อให้พร้อมใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ อยู่เสมอ โดยด�ำเนินการจัดหายุทโธปกรณ์และเคร่ืองมือ ท่ีทันสมัยเพื่อป้องปรามการรุกราน และปกป้องการรุกล�้ำ อธิปไตย รวมทงั้ เพื่อรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยภายในชาติ กระทรวงกลาโหม โดยกองทัพไทยได้พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของท้ังก�ำลังพลและ เคร่ืองมือ รวมท้ังยุทโธปกรณ์ โดยมุ่งเน้นการซ่อมปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและยืดอายุการใช้งาน ให้สามารถด�ำรงการปฏิบัติภารกิจได้อย่างต่อเน่ืองเป็นหลัก ส�ำหรับการจัดหายุทโธปกรณ์ใหม่จะจัดหา เฉพาะเท่าที่จ�ำเป็นเพือ่ ใหส้ ามารถรองรบั ความเสยี่ งจากภยั คุกคามในหว้ งนั้นๆ ได้ “พนี่ อ้ งทหารทกี่ ำ� ลังทำ� หนา้ ทเี่ ป็นรัว้ ของประเทศอยตู่ ามป่ าเขา เพ่อื ดูแลรกั ษาอธิปไตยและปกป้ องผลประโยชนข์ องชาตติ ามแนวชายแดน มุง่ หวังให้พีน่ อ้ งประชาชนในพ้นื ทีส่ ว่ นหลังใช้ชวี ิตอยา่ งมีความสขุ กบั ครอบครัวในทกุ ๆ วัน” กองทพั ได้จดั กองก�ำลงั ป้องกันชายแดน จำ� นวน ๘ กองก�ำลงั ไดแ้ ก่ กองก�ำลงั บรู พา กองกำ� ลังสุรนารี กองกำ� ลงั สรุ สหี ์ กองกำ� ลงั นเรศวร กองกำ� ลงั ผาเมอื ง กองกำ� ลงั เทพสตรี กองกำ� ลงั สรุ ศกั ดมิ์ นตรี และกองกำ� ลงั ปอ้ งกนั ชายแดนจนั ทบรุ -ี ตราด โดยการหมนุ เวยี นกำ� ลงั พลเขา้ ไปปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในพน้ื ที่ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความพรอ้ ม และความสดใหม่ของก�ำลังพลอยู่เสมอ รวมท้ังมีขวัญก�ำลังใจท่ีดี ซ่ึงกองก�ำลังป้องกันชายแดนจะท�ำหน้าท่ี ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
52 หลักในการป้องกันชายแดน โดยการสกัดก้ัน ยับย้ังโต้ตอบ และผลักดันการละเมิดอธิปไตยของกองกำ� ลัง ต่างชาตใิ นพนื้ ทีร่ ับผิดชอบ รวมถงึ การลาดตระเวนเฝ้าตรวจ การจัดระเบยี บพ้นื ทช่ี ายแดน และการเสรมิ สร้างความสมั พันธ์อันดีกบั ประเทศเพ่อื นบา้ น นอกจากนัน้ ยงั ไดร้ บั มอบภารกิจเพ่ิมเตมิ ไดแ้ ก่ การป้องกัน และปราบปรามยาเสพติดตามแนวชายแดน การสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวและผู้หลบหนีเข้าเมือง โดยผดิ กฎหมาย การปอ้ งกนั การลกั ลอบทำ� ลายทรพั ยากรปา่ ไม้ รวมถงึ การสนบั สนนุ การดบั ไฟปา่ ตามหว้ งฤดู เพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การลาดตระเวน ทั้งทางบกและทางทะเล ตลอดจนการเฝ้าตรวจทางอากาศและห้วงอวกาศอย่างต่อเน่ือง รวมท้ัง การวางเครอ่ื งกดี ขวาง รวั้ ลวดหนามตามชอ่ งทางผา่ นแดนทางธรรมชาตใิ นพนื้ ทเี่ พง่ เลง็ ตา่ งๆ การตดิ ตง้ั ระบบ ไฟสอ่ งสวา่ งเพอื่ ชว่ ยในการตรวจการณ์ และการใชเ้ ครอื่ งมอื พเิ ศษสนบั สนนุ การลาดตระเวน/เฝา้ ตรวจเพม่ิ เตมิ ได้แก่ โดรน (Drone) และกล้องตรวจจับความเคล่ือนไหว นอกจากนี้ กองทัพยังได้พัฒนาสถานีตรวจวัตถุ ในอวกาศด้วยกล้องโทรทรรศน์ เพ่อื ตดิ ตามและเฝา้ ระวงั วัตถุในอวกาศ และพฒั นาดาวเทยี มสำ� รวจระยะไกล เพื่อเสริมมาตรการการตรวจการณ์จากห้วงอวกาศ ซ่ึงสามารถตรวจสอบพ้ืนท่ีต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อความม่ันคง ของชาติ เพื่อปกปอ้ งไวซ้ ึง่ อธปิ ไตยของชาติ และรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยตามแนวชายแดน รวมทั้งการดแู ล รักษาทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรทางทะเล ซ่ึงจากผลการด�ำเนินการทั้งหมดในภาพรวมน้ัน ท�ำให้พ่ีน้อง ประชาชนทอ่ี าศยั อยู่ตามแนวชายแดนสามารถค้าขายไดอ้ ยา่ งปกติ และดำ� เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
53 ถงึ แมว้ า่ ระยะทางตามแนวชายแดนจะมมี ากกวา่ จำ� นวนกำ� ลงั พลและเครอ่ื งมอื ทม่ี อี ยู่ รวมถงึ ลกั ษณะ พน้ื ที่ท่เี ป็นป่ารกทบึ ซึ่งค่อนขา้ งเป็นขอ้ จ�ำกดั ต่อการเฝ้าตรวจใหค้ รอบคลมุ แนวชายแดนอยา่ งท่วั ถงึ ไดต้ ลอด เวลา อย่างไรกต็ าม ก�ำลงั พลทุกนายได้ทมุ่ เททัง้ แรงกายและแรงใจในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอย่างเตม็ ความสามารถ โดยตลอดปี ๒๕๖๓ ท่ีผ่านมา สามารถสกัดกั้นและจับกุมผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย รวมถึงแรงงานต่างด้าว ไดก้ ว่า ๕,๗๐๐ ราย สกัดจับและยึดยาเสพติดได้จ�ำนวนมาก เช่น ยาบ้า จ�ำนวนกว่า ๙๓ ล้านเม็ด กัญชาอัดแท่ง จ�ำนวนกว่า ๑๑,๐๐๐ กิโลกรัม เฮโรอีน จ�ำนวนกว่า ๒๐,๐๐๐ กิโลกรัม ยาไอซ์ จ�ำนวนกว่า ๕ ล้านกรัม และยาเคตามีน จ�ำนวนกวา่ ๔๐,๐๐๐ มิลลลิ ติ ร รวมทงั้ สามารถจบั ยดึ ของกลางทเ่ี ปน็ ไมม้ คี า่ ไดห้ ลายรายการ เชน่ ไมพ้ ะยงู จำ� นวนกวา่ ๑,๘๐๐ ทอ่ น ไม้สัก จำ� นวนกว่า ๖๐๐ ท่อน และไมป้ ระดแู่ ปรรปู จ�ำนวนกวา่ ๑๐๐ แผ่น ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
54 ส�ำหรับภารกิจในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้านนั้น กระทรวงกลาโหม ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาสัมพันธ์ และเสริมสร้างความไว้เน้ือเช่ือใจกับประเทศเพ่ือนบ้าน เพ่ือป้องกัน และลดปัญหาความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนจากความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือน รวมทั้งมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาตาม แนวชายแดนอย่างสันติวิธี ความร่วมมือในการบริหารจัดการชายแดน รวมถึงการจัดระเบียบและพัฒนา ชายแดนไปพร้อมกันในลักษณะคู่ขนาน อันจะก่อให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อปัญหาต่างๆ และความสัมพันธ์อันดี ของประชาชนท้ังสองประเทศ โดยมีเป้าหมายที่ครอบคลุมในทุกมิติ ได้แก่ การค้า การเกษตร การรักษา ส่ิงแวดล้อม การสาธารณสุข และการท่องเท่ียว รวมถึงการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ การลกั ลอบหลบหนีเข้าเมอื งโดยผิดกฎหมาย และการสกดั กัน้ ยาเสพตดิ กลไกการประสานงานกับกองทัพประเทศเพอ่ื นบา้ นท่ีส�ำคัญในระดับต่างๆ • ไทย - เมยี นมา ไดแ้ ก่ ๑) คณะกรรมการระดบั สงู ไทย - เมยี นมา (HLC) มผี บู้ ญั ชาการทหารสงู สดุ เป็นประธานร่วม ๒) คณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค ไทย - เมียนมา (RBC) มีแม่ทัพภาคท่ี ๓ เปน็ ประธานรว่ ม และ ๓) คณะกรรมการชายแดนสว่ นทอ้ งถน่ิ ไทย - เมยี นมา (TBC) มผี บู้ งั คบั หนว่ ยเฉพาะกจิ ในพ้ืนทีเ่ ปน็ ประธานรว่ ม • ไทย - ลาว ไดแ้ ก่ ๑) คณะกรรมการรว่ มมอื รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยตามชายแดนทวั่ ไป ไทย - ลาว (GBC) มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็นประธานร่วม และ ๒) คณะอนุกรรมการร่วมมือรักษา ความสงบเรยี บรอ้ ยตามชายแดนทว่ั ไป ไทย - ลาว (Sub - GBC) มเี จา้ กรมกจิ การชายแดนทหาร กองบญั ชาการ กองทพั ไทย • ไทย - กัมพูชา ได้แก่ ๑) คณะกรรมการชายแดนทั่วไป ไทย - กัมพูชา (GBC) มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม เปน็ ประธานรว่ ม ๒) คณะกรรมการรว่ มมอื รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยบรเิ วณชายแดน ไทย - กมั พชู า (BPKC) มผี บู้ ญั ชาการทหารสงู สดุ เปน็ ประธานรว่ ม และ ๓) คณะกรรมการชายแดนสว่ นภมู ภิ าค ไทย - กมั พูชา (RBC) ประกอบดว้ ย ๓ พนื้ ท่ี โดยมีแม่ทัพภาคท่ี ๑ แมท่ พั ภาคที่ ๒ และผู้บัญชาการกองกำ� ลัง ปอ้ งกนั ชายแดนจนั ทบุรี - ตราด เป็นประธานรว่ มตามพน้ื ที่รบั ผดิ ชอบ • ไทย - มาเลเซีย ได้แก่ ๑) คณะกรรมการชายแดนท่ัวไป ไทย - มาเลเซีย (GBC) มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม เปน็ ประธานรว่ ม ๒) คณะกรรมการระดับสงู ไทย - มาเลเซยี (HLC) มผี ู้บัญชาการ ทหารสูงสดุ เปน็ ประธานรว่ ม และ ๓) คณะกรรมการชายแดนส่วนภมู ิภาค ไทย - มาเลเซยี (RBC) มแี ม่ทัพ ภาคท่ี ๔ เปน็ ประธานร่วม ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
55 การแกไ้ ขปั ญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาในพ้ืนท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใตม้ กี ารทบั ซอ้ นของปญั หาในหลายด้าน ซงึ่ เชือ่ มโยงกันหลายมิติ ทั้งด้านเศรษฐกจิ การเมอื ง และสังคม เชน่ ชาตพิ นั ธ์ุ ศาสนา วัฒนธรรม และประวัตศิ าสตรซ์ ึง่ เป็นอัตลกั ษณ์ เฉพาะของพื้นท่ี ดังนั้นการแก้ไขปัญหาท่ีมีความละเอียดอ่อนเช่นนี้ จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการอย่างรอบคอบ เพอ่ื ให้เกดิ ความยง่ั ยืน รฐั บาลจงึ ไดก้ ำ� หนดแนวทางการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนระดับรองตั้งแต่แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นความม่ันคง และนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ซ่ึงเป็นแผนระดับ ๒ และนโยบายการบริหาร และพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ.๒๕๖๒ - ๒๕๖๕) ซ่ึงเป็นแผนระดับ ๓ เป็นเคร่ืองมือแปลงนโยบายไปสู่ การปฏบิ ตั ิ มี ๓ กลมุ่ กลยุทธห์ ลัก ประกอบดว้ ย ๑) กลมุ่ กลยทุ ธก์ ารแกป้ ัญหาทมี่ ุ่งด�ำเนนิ การต่อศูนย์ดลุ ของปญั หาในพืน้ ท่ี ๒) กลมุ่ กลยทุ ธก์ ารปอ้ งกนั ปญั หาทมี่ ุง่ ขจดั เงือ่ นไขเกา่ และไมใ่ หเ้ กดิ เงอ่ื นไขใหม่ และ ๓) กลุ่มกลยุทธก์ ารเสริมความมั่นคงเพื่อการพัฒนาที่มงุ่ สรา้ งความยัง่ ยนื โดยไดน้ ้อมน�ำยทุ ธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา” และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาขบั เคลอื่ นในลกั ษณะบรู ณาการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เนน้ การเสรมิ สรา้ งเอกภาพของหนว่ ยงานภาครฐั และประสานภาคีเครือข่ายนอกภาครัฐท้ังในและต่างประเทศ ให้เกิดพลังร่วมบนพื้นฐานหลักธรรมาภิบาล ทมี่ งุ่ ขจดั เงอ่ื นไขรากเหงา้ ของปญั หา การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และความเปน็ อยขู่ องประชาชน โดยมี สำ� นกั งาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเจ้าภาพรับผิดชอบในภาพรวม มีกองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคงภายใน ราชอาณาจักร รับผิดชอบด้านความมั่นคง และศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ รับผิดชอบ ด้านการพัฒนา ทผ่ี า่ นมานนั้ รฐั บาลมคี วามมงุ่ มน่ั ในการดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ในพนื้ ทอ่ี ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลการด�ำเนินงานที่เป็นรูปธรรมและชัดเจน ท้ังด้านความมั่นคงและด้านการพัฒนา จนสถานการณ์ความ ไม่สงบในพื้นที่ดีขึ้นมาตามล�ำดับ ซ่ึงก็เป็นผลจากการบูรณาการการท�ำงานของทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องและ ความร่วมมือของพ่ีน้องประชาชน โดยในปี ๒๕๖๓ มีผลการด�ำเนินงานที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนท่ีเกิดขึ้น ทง้ั ดา้ นความมนั่ คงและด้านการพัฒนา ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
56 โดยกระทรวงกลาโหมไดจ้ ดั กำ� ลงั พลและยทุ โธปกรณจ์ าก กองทพั บก กองทพั เรอื และกองทพั อากาศ เพื่อสนับสนุนกองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ในการแก้ไขปัญหา ด้านความมั่นคงในพื้นที่ตามนโยบายของรัฐบาล เพ่ือเร่งน�ำสันติสุข ความสงบสุข และความปลอดภัย ทงั้ ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของพนี่ อ้ งประชาชนกลบั มาสพู่ นื้ ทโ่ี ดยเรว็ ถงึ แมว้ า่ กำ� ลงั พลจำ� นวนมากจะไดร้ บั บาดเจบ็ และเสียชีวิตก็ตาม แต่ทหารทุกนายยังคงมุ่งมั่นปฏิบัติภารกิจอย่างเต็มความสามารถ เพื่อที่จะท�ำให้พ่ีน้อง ประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยและมีความสุขเช่นเดียวกับคนไทยในภาคอ่ืน โดยผลการด�ำเนินการในการแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคง สามารถลดระดับความรุนแรงลงได้อย่างมี นัยส�ำคัญ เมื่อพิจารณาจากสถานการณ์ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ สถิติเหตุการณ์และการสูญเสียลดลง อย่างมนี ัยส�ำคัญเมือ่ เปรยี บเทยี บกับปี ๒๕๖๒ กลา่ วคอื เหตกุ ารณล์ ดลง ร้อยละ ๕๖.๘๐ และการสญู เสีย ลดลง ร้อยละ ๒๖.๙๒ เกนิ กวา่ เป้าหมายตามตวั ช้ีวัดของแผนปฏบิ ตั กิ ารด้านการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา ความไมส่ งบในพ้ืนท่ีจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ทก่ี ำ� หนดใหเ้ หตุความรุนแรงลดลง ร้อยละ ๒๐ นอกจากน้ี สัญญาณท่ีบ่งบอกว่าสถานการณ์ในพ้ืนที่ดีข้ึน สามารถพิจารณาได้จากความเป็นจริงท่ีเกิดขึ้นในพ้ืนที่หลายจังหวัด ซ่ึงได้มีร้านค้า โรงแรม และปั๊มน้�ำมัน เกิดข้ึนบริเวณสองข้างถนน เพิ่มข้ึน และมีจ�ำนวนนักท่องเท่ียวมากข้ึน ก่อนเกิดการแพร่ระบาด ของโควิด-19 ที่ส�ำคัญ ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจและให้ความ ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐเพิ่มข้ึน รวมท้ัง การพูดคุยเพ่ือสันติสุขกับกลุ่ม ผู้เห็นต่าง ก็เป็นไปในทิศทางที่ดีข้ึน ซึ่งผลจากการด�ำเนินการต่างๆ ของกระทรวงกลาโหมในการสนบั สนนุ รฐั บาลในการแกไ้ ขปญั หาความ รนุ แรง ในพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตท้ ผี่ า่ นมานนั้ เปน็ สง่ิ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความทุ่มเทและความมุ่งมั่นของทหารทุกนาย ที่ต้องการน�ำความ สงบสขุ และสันติสขุ กลับมาส่พู ้ืนทโี่ ดยเรว็ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
57 ดา้ นการรกั ษาความสงบเรยี บร้อยภายในประเทศ กระทรวงกลาโหม ไดเ้ ข้าไปมสี ว่ นรว่ มในการสนับสนุนการดำ� เนินการของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยเฉพาะในช่วงที่มีการประกาศใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ เพ่ือจ�ำกัดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ให้เป็นผล อย่างรวดเร็ว โดยรับผิดชอบการจัดตั้งและด�ำเนินการของศูนย์ปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ด้านความม่ันคง เพ่ือให้การด�ำเนินการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยใหม้ กี ารจดั ตง้ั กองบญั ชาการ ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารแกไ้ ขสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นความมน่ั คง และศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร แกไ้ ขสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ด้านความม่นั คง กองทัพบก กองทัพเรอื กองทัพอากาศ ส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่างๆ โดยได้จัดก�ำลังพลทหาร ต�ำรวจ และฝ่ายปกครอง จัดต้ังจุดตรวจ/ จุดคัดกรองในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งก�ำกับดูแลการด�ำเนินการตามมาตรการผ่อนปรนและ การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำ� หนดซง่ึ ออกตามประกาศภายใต้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ เช่น การจัดก�ำลังพลจัดตั้งจุดตรวจร่วม ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ กว่า ๒๕๐ จุด และ จดั ชดุ สายตรวจ กวา่ ๕๐๐ ชดุ รวมถงึ จดั ชดุ สนบั สนนุ การตรวจคัดกรองประจ�ำจุดผ่านแดนทางบก ทางท่าเรือ และท่าอากาศยาน จนท�ำให้การควบคุม การแพร่ระบาด เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ เม่ือสถานการณ์ดีข้ึน รัฐบาลจึงได้ออกมาตรการ ผ่อนปรนเป็นระยะๆ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
58 นอกจากนี้ ในชว่ งทพ่ี น่ี อ้ งประชาชนไดห้ ยดุ ยาว ในช่วงเทศกาลที่ส�ำคัญต่างๆ และได้มีการเดินทาง กลับภูมิล�ำเนาและท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ มีการ ใช้รถใช้ถนนเป็นจ�ำนวนมาก กระทรวงกลาโหม โดยส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการ กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และ กองทัพอากาศ ในฐานะหน่วยสนับสนุนการด�ำเนิน การของศูนย์อ�ำนวยการความปลอดภัยทางถนน ได้จัดก�ำลังพลและยานพาหนะ เพื่อดูแลความปลอดภัย และอ�ำนวยความสะดวกให้แก่พี่น้องประชาชน ในการเดินทางทั้งไปและกลับ โดยได้มอบหมายให้หน่วยทหารที่มีท่ีต้ังอยู่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะตามถนน สายหลักและสายรอง จัดต้ังจุดอ�ำนวยความสะดวกหรือจุดพักรถ และจัดเจ้าหน้าท่ีเพื่อท�ำการตรวจสภาพ และซ่อมแซมยานพาหนะ เพ่ือให้การบริการแก่พี่น้องประชาชนในการเดินทาง รวมทั้งจัดเตรียมชุดแพทย์ และพยาบาลเคลือ่ นที่ และโรงพยาบาลทหารในสงั กัด ส�ำรองเตียงไวร้ องรับผ้เู จบ็ ป่วยฉกุ เฉินอีกดว้ ย ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
ดา้ นการสนับสนนุ รฐั บาลในการแกไ้ ขปั ญหา 59 ทีส่ ำ� คัญของชาติ การแกไ้ ขปั ญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) ทผี่ า่ นมา ในกรณที ีเ่ กดิ สถานการณ์สาธารณภยั ต่างๆ กระทรวงกลาโหมโดยศนู ย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม ไดป้ ระสานงานกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย อย่างใกล้ชดิ เพ่ือน�ำทรัพยากรทางทหารทั้งก�ำลังพล เคร่ืองมือ และยุทโธปกรณ์ ไปสนับสนุนการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีต่างๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงเป็นไปตามบทบาทหน้าท่ีภายใต้กรอบของ พ.ร.บ.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐ พ.ร.บ.การจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ ตลอดจนกฎหมายและระเบียบตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รวมถึงมติของคณะรฐั มนตรี ส�ำหรับกรณีการแพร่ระบาดของโรคติดต่อโดยเฉพาะโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก โรคซาร์ส และโรคเมอร์สนั้น กระทรวงกลาโหมภายใต้การบูรณาการและประสานงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหมได้ให้การสนับสนุนกระทรวงสาธารณสุขภายใต้กรอบของ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๒๓ ซง่ึ ปจั จบุ นั เราใช้ พ.ร.บ.โรคตดิ ตอ่ พ.ศ.๒๕๕๘ จนทำ� ใหก้ ารแกไ้ ขปญั หาการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ อบุ ตั ใิ หม่ ภายในประเทศเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ลดความสญู เสียทเี่ กดิ ข้ึนกับชวี ติ ของพี่นอ้ งประชาชน ในกรณีของการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-19) ทเ่ี กิดข้ึนในประเทศต้ังแต่ เดอื นธันวาคม ๒๕๖๒ นัน้ กระทรวงกลาโหม ได้ปฏิบตั ิตามนโยบายของรฐั บาลและศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 รวมทงั้ สนบั สนนุ และรว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหา การแพร่ระบาดของโควิด-19 อย่างต่อเน่ือง โดยได้น�ำศักยภาพของกองทัพท้ังก�ำลังพล ยุทโธปกรณ์ โรงพยาบาล และหนว่ ยแพทย์ทหาร ตลอดจนการอำ� นวยการและประสานงาน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
60 ในการด�ำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 มาอย่างต่อเนื่อง และเม่ือสถานการณก์ ารแพร่ระบาดมีแนวโนม้ ท่จี ะขยายตัวเปน็ วงกว้าง จงึ ได้ยกระดับการปฏิบัตงิ านภายใต้ กรอบการด�ำเนินงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม และศูนย์ปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์ ด้านความมั่นคง เพ่ือติดตามสถานการณ์ ควบคุม และก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของหน่วยทหารและ หนว่ ยงานดา้ นความมน่ั คงทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รวมทงั้ รว่ มบรู ณาการในการแกไ้ ขปญั หาการแพรร่ ะบาดใหเ้ ปน็ ไปอยา่ ง มีประสิทธิภาพและทันต่อสถานการณ์ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ กระทรวงกลาโหม โดยกองทัพเรือได้สนับสนุนอาคารรับรองฐานทัพเรือสัตหีบ ซ่ึงเป็นสถานท่ีพักของคนไทยที่เดินทางกลับจาก เมืองอู่ฮั่น สาธารณรัฐประชาชนจีน จ�ำนวน ๑๓๘ คน โดยเฝ้าสังเกตอาการประมาณ ๑๔ วัน ตลอดจน จัดเจ้าหน้าท่ีแพทย์และพยาบาลจากโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ กรมแพทย์ทหารเรือ สนับสนุน ตลอดหว้ งระยะเวลาการเฝ้าสงั เกตอาการ รวมถงึ ให้การรกั ษากรณพี บผู้ตดิ เช้อื ด้วย ซ่ึงต่อมา ได้ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการจัดการฝึกจําลอง สถานการณ์เพ่ือเตรียมความพร้อมในการรับมือ กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ใน พื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ในห้วงกลาง เดือนมีนาคม ๒๕๖๓ โดยน�ำประสบการณ์จากการ ฝึกซ้อมด้านการบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับทหาร มิตรประเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการฝึกซ้อมแผน บนโตะ๊ หรอื Table Top Exercise (TTX) ซงึ่ เปน็ การจำ� ลองสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 และซกั ซอ้ ม ความเข้าใจของหนว่ ยงานตา่ งๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ในเรอื่ งบทบาทและอำ� นาจหนา้ ท่ี ของแต่ละหน่วยงานในการร่วมกันแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ตลอดจนการปฏิบัติ ตามแผนของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้การด�ำเนินการแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เกิดการ บูรณาการและเป็นเอกภาพ รวมทั้งเพ่ือจัดเตรียมทรัพยากรที่จ�ำเป็นให้เพียงพอและพร้อมในการด�ำเนินการ อกี ดว้ ย ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
61 และเพ่ือเป็นการเตรียมการรองรับการแพร่ ระบาดเป็นวงกว้าง กระทรวงกลาโหมได้จัดเตรียม โรงพยาบาลสนาม โดยได้ปรับปรุงอาคารโรงเรือน ภายในค่ายทหารตามพื้นที่ต่างๆ ท่ัวทุกภูมิภาค ให้เป็นโรงพยาบาลสนาม ซ่ึงมีขีดความสามารถ ในการรองรบั ผตู้ ดิ เชอื้ ไดจ้ ำ� นวน ๒,๔๕๐ เตยี ง รวมทงั้ จัดเตรียมโรงพยาบาลทหาร จ�ำนวน ๕๔๕ เตียง สำ� หรบั รองรบั ผปู้ ว่ ยอาการไมห่ นกั จำ� นวน ๔๕๑ เตยี ง และสำ� หรบั รองรบั ผปู้ ว่ ยอาการปานกลางถงึ อาการหนกั จำ� นวน ๙๔ เตยี ง ท้ังน้ีเมื่อปลายเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 ได้มอบหมายให้กองทัพไทย รบั ผดิ ชอบศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารแกไ้ ขสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นความมนั่ คง เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ การการแกไ้ ขสถานการณ์ ฉุกเฉินเป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยให้มีการจัดตั้งกองบัญชาการ ศูนย์ปฏิบัติการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉินด้านความมั่นคง และศูนย์ปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินด้านความม่ันคง เหล่าทัพ สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร และจงั หวดั ตา่ งๆ โดยไดจ้ ดั กำ� ลงั พลทหาร ตำ� รวจ และฝา่ ยปกครอง จดั ตง้ั จดุ ตรวจ/จดุ คดั กรองในพน้ื ทต่ี า่ งๆ ทว่ั ประเทศ รวมทง้ั กำ� กบั ดแู ลการดำ� เนนิ การตามมาตรการผอ่ นปรน และการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดซ่ึงออกตามประกาศภายใต้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ เชน่ การจดั กำ� ลงั พลจดั ตง้ั จดุ ตรวจรว่ มในพนื้ ทตี่ า่ งๆ ทว่ั ประเทศ กวา่ ๒๕๐ จดุ และจดั ชดุ สายตรวจ กว่า ๕๐๐ ชุด รวมถึงจัดชุดสนับสนุนการตรวจคัดกรองประจ�ำจุดผ่านแดนทางบก ทางท่าเรือ และ ท่าอากาศยาน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
62 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากยังมีพ่ีน้องคนไทยท่ีเดินทางไปต่างประเทศและติดค้างอยู่ในประเทศต่างๆ เป็นจ�ำนวนมาก รัฐบาลภายใต้การด�ำเนินงานของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 ได้วางแผนน�ำคนไทย กลบั มาสบู่ า้ นเกดิ อยา่ งปลอดภยั และปอ้ งกนั การเปน็ พาหะนำ� เชอื้ โควดิ -19 มาแพรร่ ะบาดภายในประเทศดว้ ย ดังนั้น ต้ังแต่เดือนเมษายน ๒๕๖๓ จนถึงปัจจุบัน กระทรวงกลาโหมได้ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่นๆ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในการจัดตั้งพื้นที่กักกันโรคแห่งรัฐ (State Quarantine) และพ้ืนท่ีกักกันโรคทางเลือก (Alternative State Quarantine) เพ่ือรองรับพี่น้องคนไทย ท่ีเดินทางกลบั จากต่างประเทศ และตอ้ งคุมไว้สงั เกตอาการเป็นเวลาอยา่ งนอ้ ย ๑๔ วัน เพ่อื ป้องกันไมใ่ หเ้ กิด การแพรก่ ระจายของเชอ้ื โรค โดยปจั จบุ นั มพี นื้ ทกี่ กั กนั โรคแหง่ รฐั (State Quarantine) ซงึ่ เปน็ สถานทร่ี าชการ จ�ำนวน ๒ แห่ง และสถานประกอบการของภาคเอกชน รวมจำ� นวน ๒๔ แหง่ และพ้ืนที่กักกนั โรคทางเลอื ก (Alternative State Quarantine) จ�ำนวน ๑๒๕ แหง่ ซ่ึงได้รบั การพฒั นามาโดยล�ำดบั จากการรองรับคนไทย ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ จ�ำนวนวันละ ๑๐๐ คน ๒๐๐ คน ๓๐๐ คน ๔๐๐ คน และ ๕๐๐ คน ตามล�ำดับ จนมีจ�ำนวนห้องรองรับได้ประมาณ ๒๓,๐๐๐ ห้อง โดยกระทรวงกลาโหมได้จัดชุดแพทย์ และพยาบาลเพ่ือดูแลสุขภาพ ความเป็นอยู่และความปลอดภัยให้แก่ผู้เข้าพักตลอด ๒๔ ชั่วโมง ซึ่งตั้งแต่ ด�ำเนินการเร่ือยมาจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ มีผู้เข้าพักสะสมเพ่ือคุมไว้สังเกตอาการ จ�ำนวนกว่า ๑๙๐,๐๐๐ คน และเสร็จสิ้นกระบวนการคุมไว้สังเกตอาการแล้วกว่า ๑๘๐,๐๐๐ คน ยังคงอยู่ระหว่าง การคุมไว้สังเกตอาการ ณ พน้ื ที่กักกนั โรคแห่งรฐั ตา่ งๆ และพ้ืนท่กี ักกันโรคแหง่ รัฐทางเลือก รวมจ�ำนวนกว่า ๑๒,๐๐๐ คน โดยสามารถตรวจคดั กรองผู้ติดเชือ้ ได้มากกว่า ๑,๕๐๐ คน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
63 สำ� หรบั การเตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 ระลอกที่ ๒ ไดก้ ระทรวงกลาโหม ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขในการจัดการฝกึ เตรียมพร้อม ในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ เพ่ือทดสอบ แผนเผชิญเหตุการควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในระดับต่างๆ และทดสอบแนวทางการจัดสรร และบริหารทรัพยากรทางการแพทย์ในภาวะวิกฤตด้านการสาธารณสุข ที่ผ่านมา โดยมีการฝึกเฉพาะหน้าท่ี ผสมผสานกับการฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ ณ ศาลาว่าการกลาโหม และผ่านระบบการประชุมทางวีดิทัศน์ ซึ่งมี ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมการฝึกประมาณ ๓๖ หนว่ ยงาน กรงุ เทพมหานคร และ ๑๐ จังหวดั ได้แก่ จ.ชลบรุ ี จ.สมุทรสาคร จ.พระนครศรีอยุธยา จ.เชยี งใหม่ จ.ตาก จ.สระแก้ว จ.ระนอง จ.สุราษฎร์ธานี จ.กระบ่ี และ จ.ภเู กต็ สำ� หรบั อีก ๖๖ จังหวดั ไดเ้ ขา้ รว่ มสงั เกตการณ์ฝึกผา่ นระบบการประชมุ ทางวดี ิทศั น์ดว้ ย กระทรวงกลาโหมได้เล็งเห็นถึงความเดือดร้อนของพ่ีน้องประชาชนซึ่งได้รับผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของโควิด-19 จงึ ไดน้ ำ� ศักยภาพทง้ั ด้านกำ� ลงั พลและเครื่องมือ รวมถงึ ยุทโธปกรณ์ มาใชใ้ นการบรรเทา ความเดือดร้อนที่เกิดข้ึนด้วยการจัดรถยนต์บรรทุกน้�ำผสมสาร ฆ่าเชื้อโรคเข้าด�ำเนินการฉีดล้างส่ิงปนเปื้อนบนท้องถนนในพื้นที่ กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดอย่างต่อเน่ือง ตลอดจนการจัด ท�ำโครงการเพ่ือประดิษฐ์นวัตกรรมส�ำหรับการแก้ไขปัญหาการ ระบาดของโควดิ -19 เชน่ กองทพั บกไดร้ ว่ มกบั วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทยและภาคเอกชน ได้ร่วมวิจัยและประดิษฐ์นวัตกรรม ห้องแยกโรคส�ำหรับผู้ติดเชื้อที่แพร่กระจายเชื้อทางอากาศ แบบประยุกต์ (Mobile Modified Airborne Infection Isolation Room: Modified AIIR) ชนดิ เคลอ่ื นทีไ่ ด้ โดยได้มีการผลิตและแจกจ่ายให้แก่โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและใช้ในโรงพยาบาลในสังกัด ของกองทัพบก ส�ำหรับในส่วนของกองทัพอากาศ ได้วิจัยและประดิษฐ์เครื่องช่วยหายใจ เคร่ืองวัดอุณหภูมิ ห่นุ ยนต์ลำ� เลยี งส่งอาหาร ยา เส้อื ผา้ แก่ผู้ป่วยโควิด-19 อุปกรณ์สำ� หรบั ปอ้ งกนั ละอองลอยจากผู้ป่วยตดิ เชื้อ โควิด-19 ท่ีอยู่ในข้ันวิกฤตในขั้นตอนการใส่เคร่ืองช่วยหายใจส�ำหรับป้องกันการติดเช้ือไปสู่บุคลากร ทางการแพทย์ และอปุ กรณ์ป้องกนั การแพร่กระจายเช้อื ระหวา่ งผโู้ ดยสารกับคนขับรถแท็กซ่ี เปน็ ต้น ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
64 นอกจากน้ี กระทรวงกลาโหมยังได้ด�ำเนินโครงการเพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อน ของพนี่ อ้ งประชาชนในพน้ื ทตี่ า่ งๆ อาทิ การจดั ทำ� โครงการตปู้ นั สขุ การจดั ทำ� อาหารและแจกจา่ ยใหแ้ กพ่ นี่ อ้ ง ประชาชน โดยเฉพาะในพ้ืนทีห่ า่ งไกลทรุ กนั ดาร การจดั ชุดชา่ งเคล่ือนทีเ่ พอ่ื ให้บรกิ ารซอ่ มแซมเครื่องใชไ้ ฟฟ้า ให้บรกิ ารตดั ผม การช่วยเหลือเกษตรกรทั้งการสนบั สนุนแรงงาน ยานพาหนะในการขนสง่ รวมถึงการรับซ้อื ผลผลติ เพื่อน�ำไปจำ� หนา่ ย การสนบั สนนุ โครงการปลาแลกขา้ ว ซงึ่ เปน็ การแลกเปลยี่ นสนิ ค้าตามภมู ิภาค เชน่ อาหารทะเล และขา้ วสาร เป็นต้น ส�ำหรับการสนับสนุนมาตรการสกัดก้ันการหลบหนีเข้าเมืองน้ัน ภายหลังจากท่ีมีการตรวจพบว่า มคี นไทยทที่ ำ� งานในเขตทา่ ขเี้ หลก็ สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาไดห้ ลบหนเี ขา้ เมอื งมาและเปน็ ตน้ เหตใุ หเ้ กดิ การแพร่ระบาดในพืน้ ที่ จ.เชยี งใหม่ และ จ.เชยี งราย นั้น กองทัพได้จัดก�ำลังป้องกนั ชายแดนทางบกเพมิ่ เติม เพอ่ื เสรมิ ชอ่ งวา่ งทเี่ ปน็ จดุ เสยี่ งตา่ งๆ เนอื่ งจากในหว้ งนเ้ี ปน็ ฤดแู ลง้ บางชว่ งของลำ� นำ�้ แหง้ จนสามารถเดนิ ขา้ มได้ ดงั นน้ั จึงไดม้ ีการวางลวดหนามและเครือ่ งมอื พิเศษเพิม่ เติมเพอ่ื ปดิ ชอ่ งวา่ งในการลาดตระเวนอกี ด้วย รวมทงั้ ได้มอบหมายให้กองทัพเรือเป็นหน่วยหลักในการบูรณาการการปฏิบัติในพ้ืนที่ชายแดนด้าน จ.จันทบุรี และ จ.ตราด ตลอดจนการสกดั กั้นการลักลอบเข้าออกราชอาณาจักรทางทะเล ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
65 และเพ่ือเป็นการเสริมมาตรการด้านสาธารณสุข กองทัพได้จัดก�ำลังพลและยานพาหนะสนับสนุน การจัดตั้งโรงพยาบาลสนามของกระทรวงสาธารณสุขในพ้ืนท่ี จ.สมุทรสาคร รวมถึงได้ด�ำเนินการจัดตั้ง โรงพยาบาลสนาม จ�ำนวน ๒๙ แห่ง ในพื้นที่ ๑๕ จังหวัด ได้แก่ จ.กาญจนบุรี จ.ราชบุรี จ.สมุทรสาคร จ.ชลบุรี จ.จันทบุรี จ.นครปฐม จ.ฉะเชิงเทรา จ.ลพบรุ ี จ.ปราจนี บรุ ี จ.นครราชสมี า จ.ร้อยเอด็ จ.เพชรบรู ณ์ จ.พษิ ณุโลก จ.นครศรธี รรมราช และกรุงเทพมหานคร ซ่งึ จะสามารถรองรบั ได้ จ�ำนวนกวา่ ๖,๗๐๐ เตยี ง และจากกรณีที่สภากาชาดไทยและโรงพยาบาลหลายแหง่ ประสบปัญหาขาดแคลนโลหิตนั้น กองทัพ ยงั ได้จดั ก�ำลงั พลรว่ มบรจิ าคโลหติ เปน็ จ�ำนวนกวา่ ๘ ลา้ นซีซี อกี ด้วย ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
66 การรัักษาความมั่่น� คงและผลประโยชน์ข์ องชาติิทางทะเล กระทรวงกลาโหม โดยกองทััพเรืือได้้จััดกำำ�ลัังพล เครื่�องมืือ และยุุทโธปกรณ์์ให้้การสนัับสนุุน ศูนู ย์อ์ ำ�ำ นวยการรักั ษาผลประโยชน์ข์ องชาติทิ างทะเล (ศรชล.) ซึ่ง่� เป็น็ หน่ว่ ยงานหลักั ในด้า้ นการรักั ษาความ มั่�นคงและผลประโยชน์์ของชาติิทางทะเล โดยดำ�ำ เนิินงานตามแผนย่่อยการป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาที่่�มีี ผลกระทบต่่อความมั่�นคง และเป็็นหน่่วยสนัับสนุุน ร่่วมดำ�ำ เนิินงานในด้้านอื่�่นๆ สำำ�หรัับการป้้องกัันและ แก้ไ้ ขปัญั หาด้้านความมั่�นคงของชาติิ ในการดำำ�เนิินงานของ ศรชล. นั้้�นได้้มุ่�งเน้้นการปฏิิบััติิงานตาม แผนงานยุุทธศาสตร์์ป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาที่�่มีีผลกระทบต่่อความมั่ �นคง ซึ่ง�่ มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่อ� ให้ห้ น่ว่ ยงานภาครััฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีีความพร้้อมที่�่จะแก้้ไขปััญหาที่�่ส่่งผลกระทบต่่อความมั่ �นคงของประเทศ ทุุกรููปแบบ ทุุกมิิติิ และทุุกระดัับความรุุนแรง โดยการรัักษาความมั่ �นคง และผลประโยชน์์ทางทะเลนั้้�น ศรชล. ได้้รัับมอบหน้้าที่่�ในการกำำ�หนด แนวทางพััฒนาการรัักษาความมั่ �นคงและผลประโยชน์์ของชาติิทางทะเล ภายใต้้แผนย่่อยการป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาที่�่มีีผลกระทบต่่อความมั่ �นคง ส่่วนการรัักษาความมั่ �นคง ภายในราชอาณาจัักรและการพััฒนาประเทศ เป็็นไปตามแนวความคิิดการบริิหารจััดการ แผนแม่่บทภายใต้้ ยุทุ ธศาสตร์ช์ าติิ ประเด็น็ ความมั่น� คง ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
67 ในการดำำ�เนิินการป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาที่�่มีีผลกระทบต่่อความมั่�นคงทางทะเล ได้้ดำ�ำ เนิินการตาม แนวทางการปฏิิบัตั ิิ ในการแก้ไ้ ขปัญั หาความมั่น� คงทางทะเลในปัจั จุบุ ันั การติดิ ตาม เฝ้า้ ระวังั ป้อ้ งกันั และแก้ไ้ ข ปััญหาที่่อ� าจอุบุ ัตั ิขิึ้�นใหม่่ และการรักั ษาความมั่ น� คงและผลประโยชน์ท์ างทรัพั ยากรธรรมชาติิและสิ่ง� แวดล้้อม ทางทะเล รองรับั ภัยั คุกุ คามทางทะเล ๙ ด้า้ น ได้แ้ ก่่ ๑) การช่ว่ ยเหลืือผู้้�ประสบภัยั ๒) การทำำ�ประมงผิดิ กฎหมาย ๓) การค้้ามนุุษย์์/ลัักลอบเข้้าเมืือง ๔) ปััญหายาเสพติิด/สิินค้้าผิิดกฎหมาย/อาวุุธสงคราม ๕) การทำ�ำ ลาย สิ่�งแวดล้้อมทางทะเลและชายฝั่�ง ๖) การป้้องกัันและบรรเทาสาธารณภััย ๗) โจรสลััด/การปล้้นเรืือ ๘) การก่่อการร้า้ ย ๙) การขนส่ง่ สินิ ค้า้ รวมทั้้�งภััยคุกุ คามด้้านอื่่�นๆ โดยในปีีงบประมาณ ๒๕๖๓ มีีการดำ�ำ เนินิ การที่ส�่ ำำ�คััญ ยกตัวั อย่า่ งเช่่น การช่่วยเหลืือผู้�ประสบภััยในทะเล เช่่น เมื่�่อ ๒๕ พฤศจิิกายน ๒๕๖๒ เรืือสำ�ำ ราญขนาดใหญ่่ ชื่่�อ LA BELLE DES OCEAN สััญชาติิเบลเยีียม มีผู้�โดยสารจำ�ำ นวน ๗๘ คน ประสบอุุบััติิเหตุุเกยหิิน ท้อ้ งเรืือทะลุุ บริเิ วณเกาะพีีพีี จัังหวัดั กระบี่�่ ในการนี้้� กองทััพเรือื ได้้จััด เรือื หลวงศรีีราชา สนับั สนุุนภารกิจิ การช่่วยเหลืือ โดยส่่งชุุดป้้องกัันความเสีียหายขึ้�นเรืือ และประคองเรืือกลัับเข้้าฝั่�งจัังหวััดภููเก็็ตโดยปลอดภััย รวมทั้้ง� ประสานงานกัับหน่่วยงานที่เ�่ กี่�่ยวข้้องเพื่�่อร่่วมให้้ความช่่วยเหลืือที่่�ท่า่ เรืือ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
68 การบัังคับั ใช้ก้ ฎหมายกรณีสีิ่ง� ก่่อสร้้างในทะเล (Sea Steading) เป็็นการบัังคับั ใช้ก้ ฎหมายต่อ่ ผู้้�ที่่� ฝ่า่ ฝืนื กฎหมายโดยการก่อ่ สร้า้ งบ้า้ นลอยน้ำ��ำ ในเขตต่อ่ เนื่อ�่ งทางทะเลของไทย บริเิ วณจังั หวัดั ภูเู ก็ต็ โดย กองทัพั เรืือ จััดกำำ�ลัังพลและเรืือสนัับสนุุนการบููรณาการหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องภายใต้้ ศรชล. เพื่�่อดำำ�เนิินการบัังคัับใช้้ กฎหมายในฐานละเมิดิ สิทิ ธิอิ ธิปิ ไตยตามกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๙ และตามอนุสุ ัญั ญาสหประชาชาติวิ ่า่ ด้ว้ ย กฎหมายทะเล (UNCLOS) ค.ศ.๑๙๘๒ ข้อ้ 56B และ ข้อ้ ๖๐ วรรค ๗ และวรรค ๘ โดยเก็บ็ สิ่�งก่่อสร้้าง ดังั กล่่าวเป็น็ ของกลางในการดำำ�เนิินคดีี ณ สำ�ำ นักั งานเจ้า้ ท่า่ ภูมู ิิภาค สาขาภููเก็ต็ ตั้�งแต่่เดืือนเมษายน ๒๕๖๒ การแก้้ไขปััญหาทำ�ำ ลายสิ่�งแวดล้้อมทางทะเลและ ชายฝั่่�ง และปััญหาการทำ�ำ ประมงผิิดกฎหมาย เช่น่ กรณีีเหตุุการณ์์การบุุกรุุกพื้้�นที่่�สาธารณะและการเกิิด ความขััดแย้้งจากการทำำ�ประมงคอกหอยในพื้้�นที่่�บริิเวณอ่่าว บ้า้ นดอน จ.สุุราษฎร์์ธานีี ศรชล. โดย กองทััพเรืือและหน่่วยงาน ที่�่เกี่�่ยวข้้อง ได้้เข้้าทำ�ำ การเจรจาและทำ�ำ ความเข้้าใจกัับประชาชน กลุ่�มต่่างๆ ในพื้้�นที่�่ เพื่่�อทำำ�ให้้สถานการณ์์ความขััดแย้้งระหว่่าง ชาวประมงพื้้�นบ้้านกัับกลุ่�มทุุนผู้้�ประกอบการคอกหอย ได้้ คลี่�ค่ ลายความขัดั แย้้งลงและทำำ�ให้เ้ กิิดความสงบเรีียบร้อ้ ย ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
69 กรณีกี ารทำำ�ประมงผิิดกฎหมาย ศรชล. โดยการบูรู ณาการของกองทััพเรืือและหน่ว่ ยงานที่เ�่ กี่ย�่ วข้้อง ได้้ทำ�ำ การจัับกุุมเรืือประมงต่่างชาติิลัักลอบทำำ�การประมงในน่่านน้ำ�ำ� ไทย และจัับกุุมเรืือลัักลอบลำำ�เลีียงน้ำ�ำ� มััน โดยผิดิ กฎหมายประกอบด้ว้ ย การจับั เรืือประมงต่า่ งชาติใิ นพื้้น� ที่ร�่ ับั ผิดิ ชอบได้ม้ ากกว่า่ ๒๐ ครั้ง� รวม ๓๙ ลำ�ำ เช่น่ เรืือประมง UTHAIWAN เข้า้ มาในราชอาณาจักั รโดยไม่ไ่ ด้ร้ ับั อนุญุ าต ในเดืือนกันั ยายน ๒๕๖๒ เรืือประมง GRAND MARINE 5 ชัักธงปานามา ในเดืือนธัันวาคม ๒๕๖๒ นอกจากนี้้� ยัังสามารถจัับกุุมเรืือลัักลอบ ลำำ�เลีียงน้ำ�ำ� มัันโดยผิดิ กฎหมาย รวม ๙ ครั้�ง การขจััดคราบน้ำำ�� มัันในทะเล เมื่�่อวัันที่�่ ๓ ธัันวาคม ๒๕๖๒ เรืือชื่่อ� GOLDEN BRIDGE 2 ได้้จมลงบริิเวณปากร่่องน้ำำ�� เจ้้าพระยา กองทััพเรืือ ได้้จััด เรืือหลวงเทพา เรืือหลวงแสมสาร เรืือหลวง หลีีเป๊ะ๊ สนับั สนุุน ศรชล. โดยร่ว่ มกับั เรืือเด่น่ สุุทธิิ ของกรมเจ้า้ ท่า่ และอากาศนาวีี เข้า้ ตรวจสอบพื้้น� ที่่� และขจัดั คราบน้ำ��ำ มันั ในทะเล พร้อ้ มทั้้ง� กู้�เรืือเข้า้ ฝั่ง� ที่�่ จ.สมุุทรปราการ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
70 การสกััดกั้�นการลัักลอบเข้้าเมืืองทางทะเล โดยผิิดกฎหมาย ในพื้้�นที่่�ปากแม่่น้ำำ��กระบุุรีี และ แนวเขตแดนทางทะเลพื้้�นที่่�ติิดต่่อ ไทย - เมีียนมา โดยจััดตั้้�งหน่่วยเฉพาะกิิจสกััดกั้้�นผู้ �หลบหนีีเข้้าเมืือง ด้ว้ ยการสนธิกิ ำ�ำ ลังั จากกองทัพั เรืือ และหน่ว่ ยงานด้า้ น ความมั่�นคงในพื้้�นที่่� จ.ระนอง ภายใต้้การบููรณาการ ของ ศรชล. ซึ่ง่� ผลการปฏิบิ ัตั ิสิ ามารถสกัดั กั้้น� การแพร่่ ระบาดของโควิิด-19 ที่�่อาจมาจากผู้�ลัักลอบเข้้าเมืือง ทางทะเลได้เ้ ป็น็ อย่า่ งดีี ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
71 การส่ง่ เสริิมความร่่วมมือื กัับมิติ รประเทศและประเทศสมาชิิกอาเซียี น กรอบยุุทธศาสตร์์ชาติิระยะ ๒๐ ปีี ด้้านความมั่ �นคงได้้วางกรอบแนวทางในการรัักษาความมั่ �นคง และความสงบเรีียบร้้อยภายในประเทศ ตลอดจนการบริิหารจััดการความมั่�นคงชายแดนและชายฝั่�งทะเล การพัฒั นาระบบกลไก มาตรการและความร่ว่ มมืือระหว่า่ งประเทศทุกุ ระดับั และรักั ษาดุลุ ยภาพความสัมั พันั ธ์์ กัับประเทศมหาอำำ�นาจ เพื่่�อป้้องกัันและแก้ไ้ ขปัญั หาความมั่�นคงรููปแบบใหม่่ ทั้้�งนี้้� จากการประเมิินสถานการณ์์สภาวะแวดล้้อมทางยุุทธศาสตร์์ทำำ�ให้้พบว่่า การเสริิมสร้้างความ สัมั พันั ธ์ท์ ี่ด่� ีีกับั ประเทศรอบบ้า้ น การรักั ษาความสมดุลุ ในการพัฒั นาความสัมั พันั ธ์์ และความร่ว่ มมืือด้า้ นความ มั่น� คงกับั ประเทศที่ม�่ ีีบทบาทสำำ�คัญั ในภูมู ิภิ าค รวมทั้้ง� การรับั มืือต่อ่ ปัญั หาภัยั คุกุ คามรูปู แบบอื่น�่ ๆ ซึ่ง่� มีีลักั ษณะ ไร้้พรมแดน และเกี่ย�่ วข้อ้ งกัับปััจจัยั ภายนอกประเทศ เป็็นความท้า้ ทายด้า้ นความมั่น� คงของไทย ดังั นั้้น� จึึงมีี ความจำำ�เป็็นต้้องกำำ�หนดท่่าทีี และแนวทางที่�่ชััดเจนในการพััฒนาความสััมพัันธ์์ และความร่่วมมืือกัับ มิิตรประเทศ เพื่�อ่ ให้ไ้ ด้้รับั ประโยชน์ส์ ูงู สุุดบนพื้้�นฐานของความมีีเกีียรติิ ศัักดิ์ศ� รีี และความเท่า่ เทีียมกััน กระทรวงกลาโหมในฐานะกลไกการดำำ�เนินิ การด้า้ นความมั่่น� คงที่่ส� ำ�ำ คัญั ของรัฐั บาลมีบี ทบาทและ หน้้าที่่ต� ามที่่ไ� ด้ก้ ำ�ำ หนดไว้ใ้ น พ.ร.บ.จััดระเบีียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ ในการพิทิ ักั ษ์ร์ ักั ษา เอกราชและความมั่ �นคงแห่่งราชอาณาจัักร การพิิทัักษ์์รัักษาสถาบัันพระมหากษััตริิย์์ ผลประโยชน์์แห่่งชาติิ และการปกครองระบอบประชาธิิปไตยอัันมีีพระมหากษััตริิย์์ทรงเป็็นประมุุข รวมถึึงการพััฒนาประเทศและ การช่ว่ ยเหลืือประชาชน ซึ่่�งนอกเหนืือจากบทบาทหน้้าที่�ด่ ัังกล่า่ วแล้้ว กระทรวงกลาโหมยัังมีีบทบาทสำ�ำ คััญ ในมิติ ิดิ ้า้ นการต่่างประเทศอีกี ด้้วย ซึ่่�งความร่ว่ มมืือด้า้ นความมั่่�นคง โดยเฉพาะด้า้ นการทหารที่่�เป็็นกลไก สำ�ำ คััญของความร่่วมมือื ระหว่่างประเทศ การดำำ�เนิินงานด้้านการต่่างประเทศของกระทรวงกลาโหมเป็็นการดำ�ำ เนิินการภายใต้้แนวคิิดใน การพิิจารณาใช้้ทรััพยากรทางทหารในการสนัับสนุุนรััฐบาลโดยสร้้างความร่่วมมืือกัับประเทศรอบบ้้าน ประเทศสมาชิิกอาเซีียน มหาอำำ�นาจ มิิตรประเทศ และองค์์การระหว่่างประเทศ ทั้้�งในระดัับทวิิภาคีีและ พหุภุ าคีี เพื่�อ่ เสริมิ สร้า้ งความสัมั พัันธ์์และความไว้้เนื้้อ� เชื่่อ� ใจระหว่า่ งกันั ลดเงื่อ� นไข และลดโอกาสที่่�จะนำ�ำ ไปสู่่� ความขััดแย้้ง รวมทั้้�งป้้องกัันมิิให้้ความขััดแย้้ง ขยายขอบเขตออกไปจนอยู่ �นอกเหนืือการควบคุุม โดยยึึดมั่่�นในหลัักการแนวความคิิดเชิิงป้้องกััน ซึ่ง่� เป็น็ การแก้ป้ ัญั หาในเชิงิ รุกุ ก่อ่ นที่่ค� วามขัดั แย้ง้ จะเกิิดขึ้้�น และแม้้ความขััดแย้้งเกิิดขึ้้�นก็็สามารถ ควบคุมุ ได้ท้ ันั เวลา โดยมาตรการดังั กล่า่ วจะต้อ้ งอยู่� บนพื้้�นฐานของความมีีเกีียรติิและศัักดิ์ �ศรีีในเวทีี การเมืืองระหว่่างประเทศ รวมทั้้�งผลประโยชน์์ ที่่�ประเทศพึึงจะได้้รับั ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
72 นอกจากนี้้� กระทรวงกลาโหมยัังให้้ความสำ�ำ คััญต่่อการพััฒนาความร่่วมมืือด้้านความมั่�นคงกัับ มิิตรประเทศทั้้�งในระดัับทวิิภาคีีและพหุุภาคีี ในการเสริิมสร้้างศัักยภาพและพััฒนาขีีดความสามารถในการ ปฏิบิ ัตั ิกิ ารร่ว่ มกันั เพื่อ�่ ให้ส้ ามารถรับั มืือกับั ความท้า้ ทายด้า้ นความมั่น� คงในปัจั จุบุ ันั ซึ่ง�่ มีีลักั ษณะเป็น็ ภัยั คุกุ คามร่ว่ ม และมีีปััจจััยความเชื่่�อมโยงระหว่า่ งชาติิ เช่น่ ปัญั หายาเสพติิด การหลบหนีีเข้้าเมืือง การค้า้ มนุษุ ย์์ การเคลื่�่อน ย้า้ ยถิ่น� ฐานอย่า่ งไม่ป่ กติิ การกระทำำ�อันั เป็น็ โจรสลัดั และการเกิดิ ภัยั พิบิ ัตั ิทิ างธรรมชาติขิ นาดใหญ่่ ซึ่ง�่ ส่ง่ ผลต่อ่ เสถีียรภาพและความมั่น� คงของภููมิิภาค กระทรวงกลาโหมได้แ้ บ่่งกลุ่�มประเทศเป้า้ หมาย ไว้้ดังั นี้้� ๑) ประเทศรอบบ้้านและประเทศสมาชิกิ อาเซียี น โดยมุ่�งส่่งเสริิมความสัมั พัันธ์์และเสริิมสร้า้ งความ ไว้้เนื้้อ� เชื่�่อใจกับั ประเทศรอบบ้้านที่ม�่ ีีพรมแดนทางบกหรืือทางทะเลติิดกับั ไทย ผ่่านกลไกการหารืือในรูปู แบบ ของคณะกรรมการในระดัับต่่างๆ ตั้�งแต่่ระดัับท้้องถิ่�น ระดัับกองทััพ จนถึึงระดัับรััฐบาลเพื่่�อเสริิมสร้้างความ มั่น� คงร่ว่ มกันั สร้า้ งบรรยากาศความเป็น็ มิติ ร ลดเงื่อ� นไข และลดโอกาสที่จ่� ะนำำ�ไปสู่่�ความขัดั แย้ง้ สำ�ำ หรับั ประเทศ สมาชิกิ อาเซียี นจะมุ่�งส่ง่ เสริมิ การพัฒั นาความร่ว่ มมืือเพื่อ่� เสริมิ สร้า้ งความไว้เ้ นื้้อ� เชื่อ่� ใจ และการรักั ษาเสถีียรภาพ และความมั่ �นคงในภููมิิภาค ทั้้�งนี้้� ในส่่วนของการดำำ�เนิินความร่่วมมืือระดัับพหุุภาคีีภายใต้้กรอบอาเซีียนนั้้�น กระทรวงกลาโหมให้ค้ วามสำ�ำ คัญั ต่อ่ ความเป็น็ ปึกึ แผ่น่ และการเป็น็ แกนกลางของอาเซีียน (ASEAN Centrality) ในการส่่งเสริิมเสถีียรภาพและความมั่�นคงในภููมิิภาค โดยกระทรวงกลาโหมมีีบทบาทสำ�ำ คััญในเสาหลััก ประชาคมการเมืืองและความมั่ �นคงซึ่่�งเป็็นหนึ่�่งในสามเสาหลัักของประชาคมอาเซีียนภายใต้้กลไกการประชุุม รัฐั มนตรีีกลาโหมอาเซีียน หรืือ ADMM ซึ่ง่� มีีพัฒั นาการก้า้ วหน้า้ เป็น็ อย่า่ งยิ่ง� ทั้้ง� บทบาทในการเสริมิ สร้า้ งความ ไว้เ้ นื้้อ� เชื่อ่� ใจและการส่ง่ เสริมิ ความร่ว่ มมืือในการพัฒั นาขีีดความสามารถในการรับั มืือต่อ่ ภัยั คุกุ คามรูปู แบบใหม่่ ร่่วมกััน ๒) ประเทศมหาอำำ�นาจและประเทศคู่่�เจรจาของการประชุมุ รัฐั มนตรีกี ลาโหมอาเซียี นกับั รัฐั มนตรีี กลาโหมประเทศคู่่�เจรจา หรือื ADMM - Plus โดยมุ่�งดำ�ำ เนิินความร่ว่ มมืือทางทหารกับั ประเทศมหาอำ�ำ นาจ และประเทศคู่�เจรจาของอาเซีียนอย่่างสมดุลุ เพื่่�อส่ง่ เสริิมสภาวะแวดล้อ้ มระหว่่างประเทศที่่เ� หมาะสมกับั การ รัักษาผลประโยชน์์ของไทย โดยในการพััฒนาความร่่วมมืือจะส่่งเสริิมการสร้้างความสััมพัันธ์์และความเข้้าใจ ร่ว่ มกันั รวมทั้้ง� มุ่�งเน้น้ การแลกเปลี่ย�่ นความเชี่ย�่ วชาญและการเสริมิ สร้า้ งศักั ยภาพในการปฏิบิ ัตั ิกิ ารของกองทัพั เพื่อ่� ให้ม้ ีีขีีดความสามารถในการรับั มืือต่อ่ ความท้า้ ทายด้า้ นความมั่น� คงในปัจั จุบุ ันั ได้อ้ ย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพ สำำ�หรับั ความร่่วมมืือในกรอบพหุุภาคีีเป็็นการดำำ�เนิินการภายใต้้กลไกการประชุุม ADMM - Plus ซึ่่�งเป็็นกลไก ความร่่วมมืือระหว่่างประเทศสมาชิิกอาเซีียนกัับ ประเทศคู่�เจรจาจำ�ำ นวน ๘ ประเทศ ซึ่่�งต่่างเป็็น ประเทศที่่�มีีบทบาทสููงในทางการเมืืองระหว่่าง ประเทศ อีีกทั้้ง� ยังั เป็น็ ประเทศที่ม�่ ีีขีีดความสามารถ ด้้านการทหารอยู่�ในระดัับต้้นของโลก ส่่งผลให้้ การประชุุม ADMM - Plus นัับเป็็นกลไกความ ร่ว่ มมืือทางทหารที่ม�่ีีความสำ�ำ คัญั อย่า่ งสูงู ในภูมู ิภิ าค นอกจากนี้้� การประชุุม ADMM - Plus ได้้ทำ�ำ ให้้ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
73 เกิดิ ความร่ว่ มมืือทางทหารที่เ่� ข้ม้ ข้น้ และเป็น็ ระบบระหว่า่ งชาติิ โดยได้จ้ ัดั ตั้้ง� คณะทำ�ำ งานผู้�เชี่ย�่ วชาญรับั ผิดิ ชอบ ในการพััฒนาศัักยภาพและขีีดความสามารถในการปฏิิบััติิการร่่วมกัันเพื่่�อรัับมืือต่่อปััญหาภััยคุุกคามรููปแบบ ใหม่่ เช่่น การต่่อต้้านการก่่อการร้้าย ความมั่ �นคงทางทะเล การให้้ความช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรมและการ บรรเทาภััยพิิบััติิ ความมั่น� คงไซเบอร์์ และการปฏิบิ ัตั ิิการรักั ษาสัันติิภาพ เป็็นต้้น ซึ่่�งทำ�ำ ให้เ้ กิดิ การส่ง่ เสริมิ การ มีีปฏิสิ ัมั พันั ธ์แ์ ละความเข้า้ ใจร่ว่ มกันั ระหว่า่ งประเทศสมาชิกิ รวมถึึงได้ย้ กระดับั ศักั ยภาพและขีีดความสามารถ ในการปฏิิบััติกิ ารร่่วมกัันอีีกด้้วย ๓) มิิตรประเทศอื่่น� ๆ หมายถึึง มิติ รประเทศนอกเหนืือจากกลุ่�มประเทศที่่�ได้้กล่่าวมาแล้้วที่�่มีีความ สััมพัันธ์์ทางทหารที่�่ดีีกัับไทยมาอย่่างต่่อเนื่่�อง รวมถึึงมิติ รประเทศที่่�มีีความก้้าวหน้้าด้้านอุุตสาหกรรมป้้องกััน ประเทศ โดยมีีการดำำ�เนินิ การเพื่อ่� รักั ษาระดับั ความสัมั พันั ธ์แ์ ละการส่ง่ เสริมิ ความร่ว่ มมืือในการพัฒั นาศักั ยภาพ ของกองทัพั นอกจากนี้้� ยังั มุ่�งเน้น้ ไปที่ก่� ารพัฒั นาความร่ว่ มมืือเพื่อ�่ เสริมิ สร้า้ งขีีดความสามารถด้า้ นอุตุ สาหกรรม ป้อ้ งกัันประเทศของไทย ส่่งเสริมิ นโยบายพึ่่�งพาตนเองและสนับั สนุุนการเพิ่่ม� ความสามารถในการแข่่งขันั ของ ภาคเอกชน ซึ่�่งกระทรวงกลาโหม อยู่�ระหว่า่ งการศึึกษาและเตรีียมการจัดั ตั้้ง� เขตส่ง่ เสริมิ เศรษฐกิจิ พิิเศษ เพื่่อ� รองรับั อุตุ สาหกรรมป้อ้ งกันั ประเทศ และสนับั สนุนุ การพัฒั นาเขตพัฒั นาพิเิ ศษภาคตะวันั ออก ซึ่ง�่ ได้้กำำ�หนดให้้ อุุตสาหกรรมป้อ้ งกัันประเทศเป็น็ อุุตสาหกรรมเป้้าหมายพิิเศษลำ�ำ ดับั ที่�่ ๑๑ หรืือ New S-curve ที่�่ ๑๑ ในห้้วงที่่�ผ่่านมา กระทรวงกลาโหมได้้ดำ�ำ เนิินความร่่วมมืือด้้านความมั่ �นคงกัับมิิตรประเทศในระดัับ ทวิิภาคีี โดยคำ�ำ นึึงถึึงความสมดุุลของดุุลยภาพระหว่่างประเทศ และการสร้้างความเชื่่�อมโยงกัับมิิติิด้้านอื่�่นๆ ของรัฐั บาลทั้้ง� ในด้้านความมั่น� คง เศรษฐกิิจ และสังั คม ซึ่่ง� มีีเครื่่�องมืือในการดำ�ำ เนินิ การที่ส�่ ำำ�คัญั เช่่น การแลก เปลี่�ยนการเยืือนของผู้้�บัังคัับบััญชาระดัับสููง การประชุุมหารืือในระดัับต่่างๆ ตั้้�งแต่่ระดัับนโยบายจนถึึง ระดับั ปฏิบิ ัตั ิิ การฝึกึ ร่ว่ ม/ผสม การให้ห้ รือื รับั การสนับั สนุนุ ทางทหารจากมิติ รประเทศ และการแลกเปลี่ย� น ที่่น� ั่่�งศึึกษา เป็น็ ต้น้ และในปีี ๒๕๖๒ ประเทศไทยเป็็นประธานอาเซีียน นั้้�น กระทรวงกลาโหมได้้ดำำ�เนิินการอย่่าง ต่อ่ เนื่อ�่ งตั้ง� แต่ป่ ีงี บประมาณ ๒๕๖๑ จนถึึงปีงี บประมาณ ๒๕๖๓ โดยได้เ้ ป็น็ เจ้า้ ภาพจัดั การประชุมุ รัฐั มนตรีีกลาโหม อาเซีียน หรืือ ADMM การประชุุมรััฐมนตรีีกลาโหมอาเซีียนกัับรััฐมนตรีีกลาโหมประเทศคู่�เจรจา หรืือ ADMM - Plus รวมถึึงการประชุุมต่่างๆ ที่�่เกี่�่ยวข้้อง โดยได้้ผลัักดัันแนวคิิดหลัักในการดำ�ำ เนิินความร่่วมมืือ ด้้านความมั่�นคงของกระทรวงกลาโหม คืือ “ความมั่่�นคงที่่�ยั่�งยืืน” ภายใต้้กรอบแนวความคิิด 3S ได้้แก่่ ๑) Sustainable Security : เสริิมสร้้างความร่่วมมืือด้้านความมั่�นคงที่่�ยั่�งยืืน ๒) Strengthening Consolidating and Optimising Defence Cooperation : เสริิมสร้้างความเข้้มแข็็ง บููรณาการ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
74 ขัับเคลื่่�อนและเพิ่่�มประสิิทธิิภาพความร่่วมมืือด้้านความมั่�นคงไปข้้างหน้้าร่่วมกััน และ ๓) Supporting Cross - Pillar Activities : สนับั สนุนุ กิจิ กรรมคาบเกี่ย�่ วระหว่า่ ง ๓ เสาความร่ว่ มมืือและส่ง่ เสริมิ ความเชื่อ�่ มโยง ในภููมิิภาคในการพััฒนาความอยู่่�ดีีกิินดีีของประชาชนอาเซีียนให้้เท่่าเทีียมกััน ซึ่่�งสอดคล้้องกัับนโยบายที่่� นายกรััฐมนตรีีต้้องการสร้้างประชาคมอาเซีียนที่่�มีีประชาชนเป็็นศููนย์์กลาง ไม่่ทิ้้�งใครไว้้ข้้างหลััง และ มองไปสู่�อนาคต โดยมีีความสมดุุลในทั้้�ง ๓ เสาความร่่วมมืือโดยมีีผลงานที่่�เป็น็ รูปู ธรรม ได้้แก่่ การยกระดับั ศููนย์์แพทย์์ทหารอาเซีียน (ACMM) ให้เ้ ป็็นองค์์กรภายใต้ก้ รอบความร่่วมมืือของการประชุมุ รััฐมนตรีีกลาโหม อาเซีียน การเสนอแนวความคิิดให้้ฝ่่ายทหารอาเซีียนมีีบทบาทในการสนัับสนุุนการบริิหารจััดการชายแดน และการร่ว่ มหารืือในเรื่�่องการทำำ�ประมงผิิดกฎหมายขาดการรายงาน และไร้้การควบคุมุ หรืือ IUU Fishing ภายหลัังจากการส่่งต่่อประธานอาเซีียนให้้แก่่สาธารณรััฐสัังคมนิิยมเวีียดนามในปีี ๒๕๖๓ แล้้ว พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีีและรััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงกลาโหม ได้้มอบหมายให้้ พลเอก ประวิิตร วงษ์์สุุวรรณ รองนายกรััฐมนตรีี เป็็นผู้�แทนเข้้าร่่วมการประชุุมรััฐมนตรีีกลาโหมอาเซีียน ครั้�งที่�่ ๑๔ (14th ADMM) และการประชุุมรััฐมนตรีีกลาโหมอาเซีียนกัับรััฐมนตรีีกลาโหมประเทศคู่�เจรจา ครั้�งที่�่ ๗ (7th ADMM - Plus) รวมทั้้�งการประชุุมที่่�เกี่�่ยวข้้อง ระหว่่างวัันที่่� ๙ - ๑๐ ธัันวาคม ๒๕๖๓ โดยกระทรวงกลาโหมเวีียดนามเป็็นเจ้้าภาพจััดการประชุุมด้้วยระบบการประชุุมผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ (Video Teleconference: VTC) ซึ่�่งได้้มีีการลงนามในปฏิิญญาร่่วมของการประชุุมทั้้�งสอง รวมทั้้�งรัับรอง เอกสารความร่่วมมืือริิเริ่ม� ใหม่่ จำำ�นวน ๕ ฉบัับ ได้แ้ ก่่ ๑) ระเบีียบปฏิบิ ัตั ิปิ ระจำ�ำ กองกำ�ำ ลังั เตรีียมพร้อ้ มอาเซีียน ด้า้ นการให้ค้ วามช่ว่ ยเหลืือด้า้ นมนุษุ ยธรรม และการบรรเทาภััยพิิบัตั ิิ ๒) ระเบีียบปฏิบิ ัตั ิปิ ระจำำ�ในการแลกเปลี่ย่� นข่า่ วสารทางยุทุ ธศาสตร์ข์ องเอกสารแนวความคิดิ ASEAN OUR EYES ๓) เอกสารแนวความคิดิ ว่า่ ด้ว้ ยการประดับั ธงอาเซีียนร่ว่ มกับั ธงประจำ�ำ ชาติขิ องหน่ว่ ยทหารประเทศ สมาชิิกอาเซีียนที่เ�่ ข้า้ ปฏิิบัตั ิิภารกิจิ รัักษาสัันติภิ าพของสหประชาชาติิ ๔) เอกสารแนวความคิดิ ว่า่ ด้ว้ ยการพัฒั นาความเชื่อ่� มโยงระหว่า่ งการประชุมุ รัฐั มนตรีีกลาโหมอาเซีียน กัับการประชุมุ ผู้้�บััญชาการทหารสูงู สุุดอาเซีียน ๕) เอกสารแนวความคิิดว่่าด้้วยการส่่งเสริิมบทบาทตำ�ำ แหน่่งผู้้�ช่่วยทููตฝ่่ายทหารระหว่่างประเทศ สมาชิกิ อาเซีียน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
75 นอกจากนี้้� ที่่ป� ระชุมุ ADMM ยัังให้ก้ ารรัับรองแผนงาน ๓ ปีี ของ ADMM (ปีี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) และ เห็น็ ชอบการฝึกึ ผสมทางทะเลระหว่า่ งอาเซีียน - สหพันั ธรัฐั รัสั เซีีย ในปีี ๒๕๖๔ รวมถึึง ที่ป�่ ระชุมุ ADMM - Plus ยัังได้้ร่่วมแลกเปลี่่�ยนมุุมมองด้้านความมั่ �นคงของภููมิิภาคโดยเห็็นพ้้องกัับการรัักษาความต่่อเนื่่�องของความ ร่่วมมืือด้้านความมั่ �นคงที่่�เป็็นผลประโยชน์์ร่่วมกััน และได้้แสดงความกัังวลในการแก้้ไขปััญหาทะเลจีีนใต้้ โดยให้้แสวงหาแนวทางอย่่างสัันติิและสร้้างสรรค์์ อีีกทั้้�งยัังเห็็นพ้้องถึึงแนวทางการดำำ�เนิินความร่่วมมืือ ด้า้ นความมั่น� คงในอนาคต การปรับั ตัวั ของหน่ว่ ยงานและองค์ก์ รต่า่ ง ๆ ภายในประเทศ ให้ส้ ามารถขับั เคลื่อ�่ นได้้ ภายใต้้ฐานวิถิ ีีชีีวิิตใหม่่ (New Normal) นอกจากนี้้� กระทรวงกลาโหมยังั ได้ส้ ่ง่ เสริมิ บทบาทของไทยในเวทีรี ะหว่า่ งประเทศ โดยได้ม้ ีีส่ว่ นร่ว่ ม ในการปฏิิบัตั ิกิ ารร่ว่ ม/ผสมระหว่า่ งประเทศมาอย่า่ งต่อ่ เนื่อ่� ง ทั้้ง� การเข้า้ ร่ว่ มในการปฏิิบัตั ิเิ พื่อ่� สันั ติภิ าพภายใต้้ กรอบสหประชาชาติิ การให้้ความช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรมและการบรรเทาภััยพิิบััติิและการปฏิิบััติิการ เพื่่อ� ความมั่�นคงทางทะเล ทั้้ง� ในระดัับหน่่วยและระดับั บุุคคล ยกตััวอย่่างเช่่น การส่่งกำ�ำ ลัังทหารไปร่่วมปฏิิบััติิภารกิิจรัักษาสัันติิภาพภายใต้้กรอบขององค์์การ สหประชาชาติิในสาธารณรััฐเซาท์์ซููดาน (UNMISS) ซึ่่�งองค์์การสหประชาชาติิได้้จััดตั้้�งภารกิิจนี้้�ตั้�งแต่่การ ได้้รัับเอกราชของประเทศซููดานใต้้ (South Sudan) ในปีี ๒๕๕๔ เพื่่�อช่่วยเหลืือสร้้างเสริิมสัันติิภาพและ สร้้างเสถีียรภาพของประเทศซููดานใต้้ แต่่ภายหลัังความขััดแย้้งระหว่่างผู้้�นำำ�ในรััฐบาลและกองกำำ�ลัังติิดอาวุุธ ต่า่ งๆ จนลุกุ ลามเป็น็ สงครามกลางเมืืองรอบใหม่่ เมื่อ�่ ปีี ๒๕๕๖ ต่อ่ เนื่อ�่ งมาถึึงป ๒๕๕๙ คณะมนตรีีความมั่น� คง แห่่งสหประชาชาติิ (UNSC) ได้้มีีมติิให้้เพิ่่�มกองกำำ�ลัังทหารและตำำ�รวจในภารกิิจ เพื่�่อบัังคัับใช้้มาตรการ ตามอาณััติิฯ (Mandate) โดยเฉพาะการปกปองคุ้�มครองพลเรืือนและการช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรมให้้กัับ ประชาชนที่อ�่ ยู่�ในภาวะสงคราม ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
76 ประเทศไทยในฐานะสมาชิิกขององค์์การสหประชาชาติิ ได้้รัับการทาบทามให้้เข้้าร่่วมภารกิิจรัักษา สันั ติภิ าพในซูดู านใต้้ (UNMISS) ซึ่ง่� เป็น็ การปฏิบิ ัตั ิงิ านภายใต้ก้ รอบขององค์ก์ ารสหประชาชาติิ ร่ว่ มกับั ประเทศ ต่า่ งๆ กว่า่ ๔๒ ชาติิ และเป็น็ ประเทศที่ส�่ ่ง่ ทหารในรูปู แบบกองกำ�ำ ลังั เป็น็ ชาติทิ ี่่� ๑๕ ทั้้ง� นี้้� องค์ก์ ารสหประชาชาติิ เป็น็ ผู้�รับผิดิ ชอบค่า่ ใช้จ้ ่า่ ยในการเคลื่อ่� นย้า้ ยยุทุ โธปกรณ์แ์ ละเครื่อ�่ งมืือทางการช่า่ งทั้้ง� ไปและกลับั เพื่อ่� ใช้ใ้ นการ ปฏิิบััติิ รวมทั้้�งค่่าใช้้จ่่ายทั้้�งในส่่วนของค่่าเบี้้�ยเลี้�ยงกำำ�ลัังพลและค่่าเช่่าเครื่่�องมืือที่่�ประเทศไทยนำ�ำ มาใช้้ในการ ปฏิิบัตั ิิงาน โดยคืืนเป็็นเงิินให้ก้ ัับประเทศไทย โดยตั้�งแต่่เดืือนธัันวาคม ๒๕๖๑ กองร้้อยทหารช่่างของไทยได้้เดิินทางไปปฏิิบััติิหน้้าที่่�ตามที่�่ได้้รัับ มอบหมายในการก่อ่ สร้า้ งเส้น้ ทางและสิ่ง� อำ�ำ นวยความสะดวกต่า่ งๆ เพื่อ่� ให้เ้ จ้า้ หน้า้ ที่ร�่ ักั ษาสันั ติภิ าพและองค์ก์ ร ความช่่วยเหลืือต่่างๆ ของสหประชาชาติิ สามารถเข้้าไปช่่วยเหลืือปกป้้องคุ้�มครองพลเรืือนในพื้้�นที่่�สงคราม และนำำ�สิ่่ง� ของบรรเทาทุกุ ข์์ ตลอดจนการช่ว่ ยเหลืือด้า้ นมนุษุ ยธรรมให้แ้ ก่พ่ ลเรืือนซูดู านใต้้ นอกจากนี้้� กองร้อ้ ย ทหารช่่างของไทยยัังได้้สร้้างความสััมพัันธ์์กัับประชาชนท้้องถิ่�น ได้้จััดตั้้�งศููนย์์การเรีียนรู้�เศรษฐกิิจพอเพีียง นำำ�พืืชผลทางการเกษตรไปเพาะปลููก พร้้อมเผยแพร่่องค์์ความรู้�ให้้กัับชาวซููดานใต้้และทหารมิิตรประเทศ รวมทั้้�งเผยแพร่ว่ ััฒนธรรมไทยตามวาระและโอกาสต่่างๆ ควบคู่่�กัันไป ซึ่ง่� ผลการปฏิบิ ัตั ิงิ านอย่า่ งทุ่�มเทเพื่อ่� ดำ�ำ รงไว้ซ้ ึ่ง�่ เกีียรติแิ ละศักั ดิ์ศ� รีีของประเทศ ทำำ�ให้ไ้ ด้ร้ ับั ความชื่น่� ชม ทั้้�งจากชาวซููดานและสหประชาชาติิเป็็นอย่่างมาก โดยเฉพาะ นายเดวิิด เชีียเรอร์์ (Mr. David Shearer) ผู้�แทนพิเิ ศษของเลขาธิกิ ารสหประชาชาติิ ผู้�บริหิ ารสูงู สุดุ ของภารกิจิ ได้ก้ ล่า่ วชื่น�่ ชมทหารไทยว่า่ แม้จ้ ะต้อ้ งอยู่� ภายใต้้สถานการณ์์อัันยากลำ�ำ บากและความเสี่่�ยงจากการแพร่่ระบาดของโควิิด-19 แต่่ทหารไทยได้้แสดงให้้ เห็็นถึึงความอดทนและความเป็็นมืืออาชีีพในการรัักษาสัันติิภาพ ที่�่จะยืืนหยััดในภารกิิจและธำ�ำ รงไว้้ซึ่�่งการ ปฏิิบัตั ิงิ านตามอาณัตั ิิฯ ของคณะมนตรีีความมั่�นคงแห่ง่ สหประชาชาติิได้้อย่า่ งยอดเยี่ย�่ ม ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
77 นอกจากนี้้� พลโท ไซลีีส ทิไิ นคาร์์ (Lt.Gen. Shailesh Tinaikar) ผู้้�บัญั ชาการกองกำ�ำ ลัังสหประชาชาติิ ในภารกิิจฯ ยัังได้้อนุุมััติิและลงนามในใบประกาศเกีียรติิคุุณยกย่่องการปฏิิบััติิงานให้้กัับหน่่วยทหารไทย “กองร้อ้ ยทหารช่า่ งเฉพาะกิิจ ผลัดั ที่�่ ๑” รวมทั้้�ง กำำ�ลังั พลของกองร้อ้ ยทหารช่่างเฉพาะกิจิ ฯ ผลัดั ที่่� ๑ ทุุกนาย ยังั ได้ร้ ับั เหรีียญรักั ษาสันั ติภิ าพของสหประชาชาติปิ ระดับั หมายเลข ๓ บนแพรแถบ พร้อ้ มใบประกาศเกีียรติคิ ุณุ (Certificate of Commendation) ในฐานะเจ้้าหน้้าที่่�รัักษาสัันติภิ าพของกองกำำ�ลัังสหประชาชาติิ (Troop Contributing Countries: TCC) ซึ่ง่� ปฏิบิ ัตั ิงิ านยาวนานที่ส่� ุดุ มากกว่า่ กองกำ�ำ ลังั ใดๆ ของสหประชาชาติอิ ีีกด้ว้ ย กล่า่ วโดยสรุปุ กระทรวงกลาโหมในฐานะกลไกของรัฐั บาล ได้ม้ ีีบทบาทสำำ�คัญั ในการสนับั สนุนุ งานมิติ ิิ ด้า้ นการต่า่ งประเทศ นอกเหนืือจากบทบาทในฐานะหน่ว่ ยงานด้า้ นความมั่ น� คง โดยได้้ดำำ�เนินิ การพัฒั นาความ สัมั พันั ธ์แ์ ละส่ง่ เสริมิ ความร่ว่ มมืือทั้้ง� ในระดับั ทวิภิ าคีีและพหุภุ าคีีกับั ประเทศรอบบ้า้ น ประเทศสมาชิกิ อาเซีียน มหาอำำ�นาจและมิติ รประเทศอย่า่ งสมดุลุ เพื่อ่� ส่ง่ เสริมิ สภาวะแวดล้อ้ มระหว่า่ งประเทศที่เ�่ หมาะสมกับั การรักั ษา ผลประโยชน์ข์ องไทย โดยมุ่�งหวังั ที่จ่� ะเสริมิ สร้า้ งความไว้เ้ นื้้อ� เชื่อ�่ ใจและการพัฒั นาศักั ยภาพและขีีดความสามารถ ในการปฏิบิ ัตั ิกิ ารร่ว่ มกันั เพื่อ�่ รับั มืือต่อ่ ความท้า้ ทายด้า้ นความมั่น� คงในปัจั จุบุ ันั เพื่อ่� เป้า้ หมายในการเสริมิ สร้า้ ง สันั ติภิ าพ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
78 การฝึึ กร่่วม/ผสมกัับมิิตรประเทศ การเสริมิ สร้า้ งความสัมั พันั ธ์ท์ ี่ด�่ ีีและความร่ว่ มมืือด้า้ นความมั่น� คงกับั ประชาคมระหว่า่ งประเทศทั้้ง� ใน ระดัับภููมิิภาคและในระดับั โลก เป็็นยุุทธศาสตร์์หนึ่ง�่ ในการสร้้างความเชื่�อ่ มั่�น ลดความหวาดระแวง และนำำ�ไป สู่�ความไว้้เนื้้�อเชื่�่อใจกััน ช่่วยเหลืือกัันในการป้้องกัันยัับยั้�งภััยคุุกคามด้้านความมั่�นคงในภููมิิภาค โดยส่่วนหนึ่่�ง ของความร่่วมมืือด้้านความมั่ �นคงก็็คืือการฝึึกร่่วม/ผสมระหว่่างกองทััพมิิตรประเทศที่่�มีีทั้้�งการฝึึกในระดัับ ทวิภิ าคีีและพหุภุ าคีี ซึ่ง่� นอกจากจะเป็น็ การเสริมิ สร้า้ งความสัมั พันั ธ์อ์ ันั ดีีและความร่ว่ มมืือทางทหารบนพื้้น� ฐาน ของการได้้รัับประโยชน์์ร่่วมกัันแล้้ว ยัังสามารถนำำ�ความรู้�และประสบการณ์์ที่�่ได้้รัับมาประยุุกต์์ใช้้เพื่�่อพััฒนา ศักั ยภาพและขีีดความสามารถของกำ�ำ ลังั พลให้ม้ ีีความพร้อ้ มในการแก้ไ้ ขปัญั หาและรับั มืือกับั ภัยั คุกุ คามร่ว่ มใน ภูมู ิิภาค ซึ่ง�่ กองทััพไทยมีีความจำำ�เป็น็ ต้อ้ งเตรีียมกำำ�ลัังเพื่่�อสนัับสนุนุ การดำ�ำ เนินิ การในกรอบความร่ว่ มมืือด้้าน ความมั่�นคงกับั ประเทศมหาอำ�ำ นาจ ประเทศสมาชิิกอาเซีียน และประเทศคู่�เจรจา กระทรวงกลาโหม ได้้ร่ว่ มกัับมิติ รประเทศจััดให้ม้ ีีการฝึึกร่่วม/ผสมทางทหารที่่�สำ�ำ คัญั ดัังนี้้� การฝึึก Cobra Gold การฝึึก Cobra Gold เป็น็ การฝึึก ทางทหารร่่วมผสมนานาชาติิหรืือการฝึึก แบบพหุุภาคีีระหว่่างกองทััพไทย กองทััพ สหรััฐอเมริิกา และกองทััพมิิตรประเทศ ซึ่่�งเริ่�มฝึึกครั้�งแรกเมื่�่อปีี ๒๕๒๕ โดยมีี วััตถุุประสงค์์เพื่�่อพััฒนาความร่่วมมืือด้้าน ความมั่�นคง ในการแก้้ไขสถานการณ์์ความ ขััดแย้้ง มุ่�งไปสู่่�การเป็็นกองกำ�ำ ลัังรัักษา สัันติิภาพนานาชาติิ รวมทั้้�งเตรีียมความ พร้้อมในการช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรม และการบรรเทาภััยพิิบััติิ ตลอดจนส่่งเสริิม ความสััมพัันธ์์ทางทหารระหว่่างกองทััพ มิิตรประเทศที่�เ่ ข้้าร่่วมการฝึึก สำำ�หรัับปีี พ.ศ.๒๕๖๓ การฝึึก คอบร้า้ โกลด์์ ๒๐ นัับเป็็นครั้ง� ที่่� ๓๙ (Heavy Year) ระหว่่างวัันที่�่ ๒๔ กุุมภาพัันธ์์ - ๖ มีีนาคม ๒๕๖๓ โดยมีีประเทศสมาชิกิ เข้า้ ร่ว่ ม การฝึกึ ๒๔ ประเทศ และมีีกำ�ำ ลังั พลที่เ่� ข้า้ ร่ว่ ม ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
79 การฝึกึ ฯ รวม ๑๐,๙๔๕ นาย ประกอบด้ว้ ย ประเทศไทย ๓,๘๘๑ นาย สหรัฐั ฯ ๖,๕๘๔ นาย สิงิ คโปร์์ ๕๒ นาย ญี่�ปุ่่�น ๒๔๕ นาย อิินโดนีีเซีีย ๕๐ นาย สาธารณรััฐเกาหลีี ๒๔ นาย มาเลเซีีย ๕๑ นาย ประเทศที่่�เข้้าร่่วม การฝึึกเพิ่่�มเติิมในโครงการช่่วยเหลืือประชาชน (HCA) ๒ ประเทศ ได้้แก่่ ประเทศสาธารณรััฐประชาชนจีีน ๒๕ นาย และอิินเดีีย ๕ นาย ประเทศที่�่เข้้าร่่วมโครงการฝ่่ายเสนาธิิการผสมส่่วนเพิ่่�มนานาชาติิ (MPAT) ๗ ประเทศ รวม ๑๓ นาย ประกอบด้้วย ประเทศออสเตรเลีีย แคนาดา ฝรั่่�งเศส อังั กฤษ เนปาล ฟิิลิปิ ปิินส์์ และฟิิจิิ ประเทศที่่�เข้้าร่่วมสัังเกตการณ์์การฝึึก (COLT) ๘ ประเทศ รวม ๑๕ นาย ประกอบด้้วย ประเทศ สาธารณรััฐประชาชนลาว เวีียดนาม เมีียนมา ปากีีสถาน อิิสราเอล เยอรมนีี สวีีเดน และสวิิตเซอร์์แลนด์์ โดยมีีขอบเขตการฝึึกที่ส่� ำ�ำ คััญ ได้แ้ ก่่ การฝึกึ ปัญั หาที่บ่� ังั คัับการ (Command Post Exercise: CPX) การฝึึก ภาคสนาม (Field Training Exercise: FTX) โครงการช่ว่ ยเหลืือประชาชน (Humanitarian Civic Assistance: HCA) และการสัมั มนาผู้�บริิหารระดับั สููง (Senior Leadership Seminar: SLS) โดยมีีรายละเอีียดดังั นี้้� ๑. การฝึกึ ปััญหาที่่�บังั คับั การ (CPX) เป็น็ การนำำ�แผนยุทุ ธการที่่�ได้้ไปใช้ใ้ นการฝึกึ ปัญั หาที่บ�่ ัังคับั การ ในกองบััญชาการกองกำำ�ลัังผสมนานาชาติิ และกองบััญชาการของหน่่วยรอง เพื่่�อเพิ่่�มขีีดความสามารถ การปฏิิบััติิการร่ว่ ม/ผสม และสามารถปฏิิบััติิตามแผนได้้อย่่างมั่�นใจ ๒. การฝึึกแลกเปลี่�ยนและการฝึึกภาคสนาม (Cross Training Exercise: /Field Training Exercise : FTX) เป็็นการฝึกึ ยุุทธวิธิ ีีระหว่่างเหล่่าทััพร่ว่ มกัับฝ่า่ ยสหรัฐั ฯ และมิิตรประเทศ เช่่น การฝึึกของ กองกำำ�ลัังทหารบกผสม การฝึึกของกองกำำ�ลัังทหารเรืือผสม การฝึึกของกองกำ�ำ ลัังนาวิิกโยธิินผสม การฝึึก ของกองกำำ�ลัังทหารอากาศผสม การฝึึกของหน่่วยเฉพาะกิจิ ปฏิิบัตั ิกิ ารพิเิ ศษร่่วม/ผสม การฝึึกโจมตีีสะเทิินน้ำำ�� สะเทินิ บก การฝึกึ อพยพพลเรืือนออกจากพื้้น� ที่ข�่ ัดั แย้ง้ การฝึกึ ดำ�ำ เนินิ กลยุทุ ธ์ด์ ้ว้ ยกระสุนุ จริงิ การฝึกึ กวาดล้า้ ง ทุ่�นระเบิิดและการทำำ�ลาย การฝึึกภาคสนามทางไซเบอร์์ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
80 ๓. การดำ�ำ เนิินโครงการช่่วยเหลือื ประชาชน (HCA) ประกอบด้ว้ ย การก่่อสร้้างอาคารอเนกประสงค์์ให้้แก่่โรงเรีียนในจัังหวััดในพื้้�นที่�่ที่่�จััดการฝึึก โดยหน่่วยทหารที่�่ เข้า้ ร่ว่ มการฝึกึ จำำ�นวน ๗ โครงการ ได้แ้ ก่่ ๑) รร.บ้า้ นแก่ง่ หวาย จ.ระยอง ๒) รร.วััดตะเคีียนทอง จ.จัันทบุรุ ีี ๓) รร.บ้า้ นนาอิสิ าน จ.ฉะเชิงิ เทรา ๔) รร.บ้า้ นกร่า่ ง จ.พิษิ ณุโุ ลก ๕) รร.วัดั ดงข่อ่ ย จ.พิษิ ณุโุ ลก ๖) รร.บ้า้ นวังั ไทร จ.สุโุ ขทััย และ ๗) รร.บ้้านคลองไผ่ง่ าม จ.สุุโขทัยั การฝึกึ ช่ว่ ยเหลืือด้า้ นมนุษุ ยธรรมและการบรรเทาภัยั สาธารณภัยั ซึ่ง�่ มีีประเทศเข้า้ ร่ว่ มการฝึกึ ๗ ประเทศ ได้แ้ ก่่ ประเทศไทย สหรัฐั ฯ ญี่ป�ุ่่�น สิงิ คโปร์์ มาเลเซีีย อินิ โดนีีเซีีย และสาธารณรัฐั ประชาชนจีีน ประกอบด้ว้ ย การฝึกึ แก้ป้ ัญั หาบนโต๊ะ๊ ในส่ว่ นการช่ว่ ยเหลืือด้า้ นมนุษุ ยธรรมและการบรรเทาสาธารณภัยั และการฝึกึ ภาคสนาม เช่น่ สถานีีอาคารถล่ม่ และอัคั คีีภััย สถานีีอุุทกภััย สถานีีดิินถล่่ม และการบริกิ ารทางการแพทย์์ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
81 การดำ�ำ เนิินโครงการช่่วยเหลืือทางการแพทย์์ (Medical Civic Assistant Project: MEDCAP) โดยการจััดชุุดแพทย์์เคลื่่�อนที่่�ให้้การรัักษาพยาบาลทั่่�วไป และบริิการทัันตกรรมแก่่ประชาชนในวัันส่่งมอบ อาคารแต่ล่ ะโครงการ การจัดั กิจิ กรรมชุมุ ชนสัมั พันั ธ์์ (COMREL) โดยการจัดั ชุดุ อนุศุ าสนาจารย์ข์ องฝ่า่ ยไทย และฝ่า่ ยสหรัฐั ฯ จำำ�นวน ๑๐ นาย เข้า้ ปฏิิบัตั ิกิ ารในพื้้น� ที่�่ ๗ โครงการก่อ่ สร้้าง และพื้้น� ที่�ก่ ารฝึกึ ๗ โครงการ รวม ๑๔ โครงการ ๔. การสัมั มนาผู้�บริหิ ารระดัับสูงู (SLS) ในหััวข้้อ “ASEAN Military Ready Group (AMRG) Role in Disaster Relief บทบาทของ ASEAN Military Ready Group (AMRG) ในการรัับมืือกัับการบรรเทา สาธารณภััย” มีีประเทศเข้า้ ร่่วม จำ�ำ นวน ๙ ประเทศ ได้แ้ ก่่ ประเทศไทย สหรัฐั อเมริกิ า ญี่�ปุ่่�น สาธารณรััฐเกาหลีี สิิงคโปร์์ มาเลเซีีย อิินโดนีีเซีีย อินิ เดีีย และสาธารณรัฐั ประชาชนจีีน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
82 ประโยชน์ท์ ี่่ไ� ด้้รับั จากการจััดการฝึึกคอบร้้าโกลด์์ แบ่่งเป็็น ๓ ระดัับ ประกอบด้้วย ๑. ระดัับประเทศ เป็น็ การสร้้างภาพลัักษณ์ท์ ี่่�ดีีในระดัับนานาชาติิ ในการเตรีียมความพร้้อมด้า้ นการ ทหารที่ม�่ ีีความเข้ม้ แข็็ง ทัันสมััย สามารถตอบสนองภารกิจิ ด้า้ นความมั่�นคงในทุุกมิิติิ เช่่น การรักั ษาสัันติภิ าพ การช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรมและการบรรเทาสาธารณภััยต่่างๆ ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ยัังถืือเป็็นกลไกใน การเสริิมสร้า้ งความร่ว่ มมืือทางทหารที่่�เป็็นรููปธรรม รวมทั้้ง� ลดความหวาดระแวง และสร้า้ งความไว้้เนื้้�อเชื่่�อใจ ระหว่่างกันั ๒. ระดับั กองทัพั เป็น็ การพัฒั นาขีีดความสามารถทางทหาร ในการปฏิบิ ัตั ิงิ านร่ว่ มกันั ระหว่า่ งกองทัพั ไทย กัับกองทััพมิิตรประเทศ เพื่�่อเป็็นหลัักประกัันความพร้้อมในการปฏิิบััติิภารกิิจของกองทััพไทยในทุุกมิิติิ ทั้้�งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะการช่่วยเหลืือด้้านมนุุษยธรรมและการบรรเทาสาธารณภััยซึ่�่ง ภัยั พิิบัตั ิมิ ีีความถี่ท่� ี่จ่� ะเกิดิ บ่อ่ ยขึ้น� และมีีความรุนุ แรงมากขึ้น� อันั เป็น็ การเสริมิ สร้า้ งเสถีียรภาพด้า้ นความมั่น� คง ให้แ้ ก่ภ่ ููมิิภาคอย่า่ งยั่ง� ยืืน ๓. ระดัับพื้้�นที่่� ที่�่เข้้าทำำ�การฝึึกฯ ได้้รัับประโยชน์์จากการฝึึกในส่่วนโครงการก่่อสร้้างอาคารต่่างๆ เพื่่�อเป็็นสาธารณประโยชน์์ของโครงการช่่วยเหลืือประชาชน นอกจากนั้้�นยัังเป็็นการส่่งเสริิมการท่่องเที่่�ยว และสร้้างรายได้้ให้้กัับท้้องถิ่�น รวมทั้้�งเป็็นการสร้้างภาพลัักษณ์์ที่่�ดีีของประเทศไทยในสายตาของกำ�ำ ลัังพล มิิตรประเทศ ที่่เ� ข้้าร่ว่ มการฝึึกอีีกด้ว้ ย ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
83 การฝึึกผสม Lightning Forge กองทัพั บกได้จ้ ัดั ส่ง่ กำ�ำ ลังั พลไปเข้า้ ร่ว่ มการฝึกึ ผสม Lightning Forge 20 ณ มลรัฐั ฮาวาย สหรัฐั อเมริกิ า ซึ่�่งเป็็นหนึ่่�งในกลไกการเสริิมสร้้างความสััมพัันธ์์ที่่�ดีีและความร่่วมมืือด้้านความมั่ �นคงกัับประชาคมระหว่่าง ประเทศทั้้ง� ในระดับั ภูมู ิภิ าคและในระดับั โลก โดยประเทศไทยและสหรัฐั อเมริกิ ามีีความสัมั พันั ธ์ท์ างทหารอย่า่ ง แน่่นแฟ้้นและยาวนาน ซึ่�่งไทยและสหรััฐฯ ได้้มีีความร่่วมมืือทางทหารในการพััฒนาศัักยภาพกองทััพอย่่าง ต่อ่ เนื่อ�่ ง ทั้้ง� ด้า้ นกำ�ำ ลังั พล ยุทุ โธปกรณ์์ การฝึกึ ศึึกษา และการพัฒั นาหลักั นิยิ มให้ม้ ีีความทันั สมัยั ซึ่ง่� กองทัพั ก็ไ็ ด้้ มีีการพัฒั นาและเสริมิ สร้า้ งความร่ว่ มมืือทางทหารอย่า่ งต่อ่ เนื่อ�่ ง โดยกองทัพั บกไทยและกองทัพั บกสหรัฐั ฯ ได้้ ดำำ�เนินิ การความร่ว่ มมืือทางทหารในระดัับกองทัพั บกของทั้้�งสองประเทศ โดยเมื่อ่� ปีี ๒๕๖๑ ได้้มีีความตกลงที่่� จะยกระดัับและขยายขอบเขตความร่่วมมืือระหว่า่ งกัันเพิ่่�มเติิม ด้้วยการจััดส่่งกำำ�ลัังพลระดับั กองร้อ้ ยเดิินทาง ไปสหรััฐอเมริกิ า เพื่�อ่ เข้้าร่ว่ มตรวจสอบและประเมินิ ผลร่ว่ มกัับกองทัพั บกของสหรัฐั ฯ ณ ศูนู ย์ฝ์ ึึกทางยุุทธวิธิ ีี กองทััพบกสหรััฐฯ โดยได้้จััดทำ�ำ เป็็นแผนงานความร่่วมมืือระหว่่างกองทััพบกไทยกัับกองทััพบกสหรััฐฯ (Agreed-to-Action Plans for Year 2019: ATA-19) รวมทั้้ง� ได้ก้ ำำ�หนดรหัสั การฝึกึ ผสมภายใต้ช้ ื่อ่� Lightning Forge เพื่่�อให้้ทั้้�งสองประเทศได้้จััดเตรีียมกำ�ำ ลัังพลและแผนงานด้้านงบประมาณสำ�ำ หรัับการฝึึกผสม ที่�จ่ ะมีีขึ้้�นต่่อเนื่�่องกันั ไปในทุุกๆ ปีี ซึ่่�งในปีี ๒๕๖๑ กองทััพบกก็็ได้้จััดส่่งกำำ�ลัังพลขนาด ๑ กองร้้อยทหารราบ เข้้าร่่วมการฝึึกผสม Lightning Forge 19 กับั กองทัพั บกของสหรัฐั ฯ ระยะเวลา ๒๑ วันั ในช่ว่ งเดืือนพฤษภาคม - มิถิ ุนุ ายน ๒๕๖๒ ซึ่�ง่ เป็็นการฝึึกทักั ษะการใช้้อาวุธุ และการปฏิบิ ัตั ิิการทางทหารอื่น�่ ๆ ตามหลัักนิิยมของสหรััฐฯ สำ�ำ หรัับปีี ๒๕๖๓ ได้้เกิิดการแพร่่ระบาดของโควิิด-19 ซึ่่�งกองทััพบกได้้ติิดตามสถานการณ์์การแพร่่ ระบาดของโควิดิ -19 ในสหรัฐั อเมริกิ าอย่า่ งใกล้ช้ ิดิ และได้ป้ ระเมินิ สถานการณ์อ์ ย่า่ งต่อ่ เนื่อ�่ งโดยเฉพาะมาตรการ ป้้องกัันและควบคุุมโรคของสหรััฐอเมริิกา รวมถึึงพื้้�นที่่�การฝึึกของกองทััพบกสหรััฐฯ ก่่อนพิิจารณาตกลงใจ จััดส่่งกำ�ำ ลัังกองร้้อยทหารราบไปเข้้าร่่วมการฝึึกผสม Lightning Forge 20 กัับกองพลทหารราบที่�่ ๒๕ กองทัพั บกสหรัฐั ฯ ซึ่ง่� เป็น็ ไปตามแผนการปฏิิบัตั ิภิ ายใต้ก้ รอบความร่ว่ มมืือและความตกลงที่ไ�่ ด้ม้ ีีการผูกู พันั กันั ไว้้ตั้�งแต่่ปีี ๒๕๖๑ โดยฝ่่ายสหรััฐฯ ได้้เตรีียมการรองรัับการฝึึกครั้�งนี้้�ไว้้เรีียบร้้อยแล้้ว จึึงไม่่สามารถเลื่่�อน กำ�ำ หนดการฝึกึ ออกไปได้้ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
84 การเข้า้ ร่ว่ มการฝึกึ ครั้ง� นี้้� นอกจากจะเป็น็ การรักั ษาระดับั ความสัมั พันั ธ์แ์ ละเสริมิ สร้า้ งความร่ว่ มมืืออันั ดีี ระหว่า่ งกันั แล้ว้ กองทัพั บกยังั ได้ร้ ับั ประโยชน์จ์ ากการฝึกึ อีีกด้ว้ ย เนื่อ�่ งจากได้ม้ ีีการจัดั กำ�ำ ลังั พลจากทุกุ กองทัพั ภาค และนัักเรีียนนายร้้อยชั้�นปีีที่�่ ๕ เข้้าร่่วมการฝึึกในครั้�งนี้้� โดยกำำ�ลัังพลทั้้�งหมดที่�่เข้้าร่่วมการฝึึกได้้รัับ ประสบการณ์์และความรู้� รวมถึึงทักั ษะทางทหารเพิ่่ม� มากขึ้น� และยัังสามารถนำ�ำ ความรู้�ที่�ได้ร้ ัับไปถ่า่ ยทอดให้้ แก่ก่ ำ�ำ ลังั พลของหน่ว่ ยตนเอง อันั จะเป็น็ การพัฒั นาและยกระดับั ขีีดความสามารถของกำำ�ลังั พลและประสิทิ ธิภิ าพ ในการปฏิิบัตั ิิภารกิิจในภาพรวมของกองทััพบก เพื่่�อเป็็นการรับั ประกันั ว่่า ทหารที่ไ่� ปฝึกึ ต่า่ งประเทศในช่ว่ งการแพร่ร่ ะบาดของโควิิด-19 จะไม่ไ่ ด้้นำ�ำ เชื้�อโควิิด-19 กลัับมาแพร่่ระบาดภายในประเทศนั้้�น กระทรวงกลาโหมโดยกองทััพบกได้้กำำ�หนดมาตรการ ป้้องกัันและควบคุุมโรคที่่�สอดคล้้องกัับข้้อแนะนำำ�ของกระทรวงสาธารณสุุขตั้้�งแต่่ก่่อนเดิินทาง ระหว่่าง เข้้าร่ว่ มการฝึึก และภายหลัังเสร็็จสิ้้น� การฝึกึ จนเดินิ ทางกลัับประเทศไทย ดัังนี้้� ก่่อนออกเดิินทาง กองทััพได้้ทำำ�การฝึกึ เตรีียมการในพื้้น� ที่�ก่ องทััพภาคที่่� ๒ โดยมีีการวางแผนร่ว่ มกับั กองทััพบกสหรััฐฯ อย่่างใกล้้ชิิด ในการกำ�ำ หนดมาตรการป้้องกัันและควบคุุมการแพร่่ระบาดของโควิิด-19 โดยทำำ�การกัักกัันและสัังเกตอาการตามมาตรฐานของการควบคุุมโรคติิดต่่อ ณ ค่่ายสุุรนารีี จ.นครราชสีีมา ระยะเวลา ๑๔ วััน พร้อ้ มทั้้�ง มีีการดำ�ำ เนินิ การตรวจหาเชื้อ� จำำ�นวน ๒ ครั้�ง ซึ่่�งมีีผลตรวจเป็็นลบทุุกนาย ระหว่า่ งเข้้าร่ว่ มการฝึกึ ณ ค่า่ ยทหารสหรัฐั ฯ (สกอฟิลิ ด์์) มลรัฐั ฮาวาย โดยได้้ทำ�ำ การฝึึกภายใต้ก้ าร ควบคุมุ ตามมาตรการป้อ้ งกันั และควบคุมุ การแพร่ร่ ะบาดในพื้้น� ที่ท่� ี่ท�่ ำำ�การฝึกึ (Bubble Training) อย่า่ งเคร่ง่ ครัดั ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
85 หลังั เสร็จ็ สิ้้�นการฝึกึ กำ�ำ ลังั พลทุกุ นายได้เ้ ดินิ ทางกลับั ถึึงประเทศไทย เมื่อ่� วันั ที่่� ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โดยผ่า่ นการคัดั กรองตามมาตรการ และได้้เดิินทางไปยังั พื้้น� ที่�่กักั กัันโรคแห่่งรััฐ (State Quarantine) ในพื้้น� ที่�่ จ.ชลบุรุ ีี เพื่�อ่ คุุมไว้ส้ ัังเกตอาการ ๑๔ วััน โดยได้ป้ ฏิิบัตั ิติ ามมาตรการด้า้ นสาธารณสุุขที่ศ�่ ููนย์์บริิหารสถานการณ์์ โควิิด-19 กำ�ำ หนดไว้อ้ ย่่างเคร่ง่ ครััด ซึ่่�งผลการตรวจหาเชื้�อครั้ง� ที่่�สองก่่อนปล่่อยตัวั กลับั บ้า้ นนั้้�น ไม่่พบผู้�ติิดเชื้�อ เพิ่่ม� เติมิ สำ�ำ หรับั กำ�ำ ลังั พลทั้้ง� หมดที่ต�่ ิดิ เชื้อ� โควิดิ -19 ได้ถ้ ูกู ส่ง่ ตัวั เข้า้ รับั การรักั ษา ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎุ เกล้า้ โดยได้้รัับการดููแลรัักษาจนหายป่ว่ ยและปลอดเชื้อ� แล้้ว การฝึึก COPE TIGER เป็น็ การฝึึกระหว่า่ งกองทัพั อากาศ ๓ ประเทศ ได้้แก่่ ประเทศไทย สิิงคโปร์์ และสหรััฐอเมริิกา เป็็นการฝึึกการสนธิิกำำ�ลัังทางอากาศขนาดใหญ่่ที่�่สุุดในภููมิิภาคเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ โดยในปีี ๒๕๖๓ ระหว่่างที่่�ได้้มีีการเตรีียมการจััดการฝึึกตามแผนที่่�กำ�ำ หนดไว้้ร่่วมกัันนั้้�น ได้้เกิิดสถานการณ์์ การแพร่่ระบาดของโควิิด-19 ทำ�ำ ให้้กองทััพอากาศต้้องปรัับแผนการฝึึกใหม่่ โดยยกเลิิกการฝึึกบิินประกอบ กำำ�ลัังขนาดใหญ่่ เพื่�่อให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์ แต่่ยัังคงวััตถุุประสงค์์การฝึึกไว้้ให้้มากที่�่สุุด โดยเฉพาะ การรัักษาระดัับความพร้้อมของกองทััพในการปฏิิบััติิภารกิิจและการพััฒนาขีีดความสามารถของกำ�ำ ลัังพล อย่่างไรก็็ตาม กองทััพอากาศได้้ยกเลิิกการฝึึกก่่อนกำ�ำ หนด เพื่�่อปฏิิบััติิตามมาตรการป้้องกัันและควบคุุมโรค ของศููนย์บ์ ริิหารสถานการณ์โ์ ควิิด-19 ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
86 การฝึกึ ครั้�งนี้้� ประกอบด้ว้ ยการฝึึกด้า้ นต่่างๆ ได้้แก่่ ๑) การฝึึกภาคอากาศ เช่น่ การบินิ ตอบโต้้ทาง อากาศเชิงิ รุกุ และเชิงิ รับั การบินิ โจมตีีทางอากาศ การบินิ ขับั ไล่ข่ั้น� มูลู ฐาน การบินิ รบในอากาศ การบินิ ขัดั ขวาง ทางอากาศ การบินิ ลาดตระเวนถ่า่ ยภาพทางอากาศ การบินิ เดินิ ทางต่ำำ�� และทิ้้ง� สิ่ง� บริภิ ัณั ฑ์์ รวมถึึง การบินิ ค้น้ หา และช่ว่ ยชีีวิิตในพื้้�นที่่ก� ารรบ ๒) การฝึึกภาคพื้้�น เช่่น การต่่อสู้�อากาศยานร่่วมซึ่�่งเป็็นการบููรณาการกำ�ำ ลังั ของ หน่่วยป้้องกัันภััยทางอากาศของระหว่า่ งกองทััพบก กองทััพเรืือ และกองทััพอากาศ เพื่่อ� ให้้กำ�ำ ลัังพลมีีความรู้� ความเข้้าใจคุุณลัักษณะและขีีดความสามารถของอาวุุธต่่อสู้�อากาศยานของแต่่ละเหล่่าทััพ พร้้อมทั้้�งมีีความรู้� ความเข้า้ ใจเรื่อ่� งการวางกำำ�ลังั ให้้เป็็นไปตามหลัักการใช้ก้ ำ�ำ ลังั และ ๓) การฝึกึ ในส่่วนบััญชาการและควบคุุม โดยกองทััพอากาศสามารถกำำ�หนดวััตถุุประสงค์์และทดสอบแนวคิิด ยุุทธวิิธีีการปฏิิบััติิร่่วมในการป้้องกัันภััย ทางอากาศที่�่ไม่่สามารถปฏิิบััติิได้้เมื่�่อฝึึกร่่วมกัับมิิตรประเทศ การทดสอบยุุทธวิิธีีตอบโต้้ระบบป้้องกัันภััยทาง อากาศระยะปานกลาง - ไกล และทดสอบขีีดความสามารถของเครื่่�องบิินที่ม�่ ีีระบบเครืือข่า่ ย และไม่ม่ ีีระบบ เครืือข่่ายในยุุทธวิธิ ีีแบบต่า่ งๆ ทั้้�งนี้้� ผลจากการฝึึกครั้�งนี้้� ทำำ�ให้้กองทััพอากาศสามารถตรวจสอบมาตรฐานการบิินและประเมิิน ขีีดความสามารถของหน่ว่ ยบินิ ตามหลักั นิยิ มกองทัพั อากาศ พ.ศ. ๒๕๖๒ และยุทุ ธศาสตร์ก์ องทัพั อากาศ ๒๐ ปีี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้้เป็็นอย่่างดีี อัันเป็็นการแสดงถึึงความพร้้อมในการปกป้้องอธิิปไตยและรัักษา ผลประโยชน์์ของชาติิ สร้้างความอุ่�นใจให้้แก่่พี่น�่ ้้องประชาชนในการดำ�ำ เนิินชีีวิติ ได้้อย่า่ งปกติสิ ุขุ ตลอดเวลา ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
87 การสนับั สนุุนโครงการเขตพััฒนาพิเิ ศษภาคตะวัันออก รัฐั บาลได้ด้ ำ�ำ เนินิ การ โครงการเขตพัฒั นาพิเิ ศษภาคตะวันั ออก หรืือ East Economy Corridor (EEC) ตามแผนยุทุ ธศาสตร์ต์ ่า่ งประเทศภายใต้ไ้ ทยแลนด์์ ๔.๐ ที่ต่� ่อ่ ยอดความสำ�ำ เร็จ็ มาจากแผนพัฒั นาเศรษฐกิจิ ภาค ตะวันั ออก หรืือ Eastern Seaboard ที่�ด่ ำำ�เนิินมาตลอดกว่่า ๓๐ ปีีที่ผ�่ ่า่ นมา โดยโครงการนี้้�เป็น็ ส่ว่ นสำำ�คัญั ที่�่ ผลักั ดันั ให้ป้ ระเทศมีีการพัฒั นาอย่า่ งรวดเร็ว็ ส่ง่ ผลให้พ้ ื้้น� ที่ภ�่ าคตะวันั ออกกลายเป็น็ ฐานการผลิติ อุตุ สาหกรรม สำ�ำ คััญ และด้้วยความพร้อ้ มด้้านโครงสร้า้ งพื้้น� ฐานเดิิมนี้้�เอง รัฐั บาลจึึงมุ่�งหวังั ว่า่ โครงการ EEC จะเป็น็ ความ หวัังใหม่่ ในการขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิิจประเทศในยุุคอุุตสาหกรรม ๔.๐ และมีีเป้้าหมายเพื่่�อยกระดัับพื้้�นที่�่เขต เศรษฐกิิจภาคตะวัันออกให้้กลายเป็็น “World-Class Economic Zone” รองรัับการลงทุุนอุุตสาหกรรม Super Cluster และอุุตสาหกรรมเป้า้ หมายของประเทศ รวมทั้้ง� อุุตสาหกรรมป้อ้ งกันั ประเทศ เพื่่�อเป็น็ กลไก ขับั เคลื่อ�่ นเศรษฐกิจิ ในอีีก ๒๐ ปีขี ้า้ งหน้า้ ซึ่ง�่ จะกระตุ้�นให้เ้ ศรษฐกิจิ ประเทศขยายตัวั อย่า่ งมาก เกิดิ การจ้า้ งงาน ตั้ง� แต่ร่ ะดับั รากหญ้า้ จนถึึงระดับั มหภาคการผลิติ ในภาคอุตุ สาหกรรมและบริกิ าร ดึึงดูดู นักั ท่อ่ งเที่ย�่ วได้ม้ ากกว่า่ ๑๐ ล้้านคนต่อ่ ปีี และสร้้างฐานรายได้้เพิ่่ม� ไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ๔.๕ แสนล้า้ นบาทต่อ่ ปีี โดยในส่่วนของการดำำ�เนิิน โครงการพััฒนาสนามบิินอู่่�ตะเภาและ เมืืองการบิินภาคตะวัันออกบนพื้้�นที่�่ ๖,๕๐๐ ไร่่ บริิเวณสนามบิินอู่่�ตะเภา นานาชาติิ จ.ระยอง ซึ่ง�่ รัฐั บาลมุ่่�งหวังั จะ ผลัักดัันให้้ประเทศไทยเป็็นศููนย์์กลาง ทางการบิินและประตููเศรษฐกิิจสู่ �เอเชีีย รวมถึึงให้้เกิิดการขยายการลงทุุนมาสู่ � ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
88 พื้้�นที่�่เขตพััฒนาพิิเศษภาคตะวัันออก หรืือ EEC ซึ่่�งแต่่เดิิมสนามบิินอู่่�ตะเภาเป็็นสนามบิินที่่�ใช้้ประโยชน์์ทาง ด้้านความมั่ �นคงเป็็นหลััก แต่่ปััจจุุบัันได้้มีีการปรัับเปลี่่�ยนการใช้้ประโยชน์์ของสนามบิินตามนโยบายรััฐบาล เพื่อ�่ เสริมิ ศักั ยภาพเชิงิ พาณิชิ ย์์ และเป็น็ ส่ว่ นหนึ่ง่� ของการพัฒั นาเศรษฐกิจิ ในภาพรวมของประเทศให้ม้ ากยิ่ง� ขึ้น� การดำ�ำ เนิินการโครงการนี้้� มีีสำำ�นัักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพััฒนาพิิเศษภาคตะวัันออก (สกพอ.) เป็็นหน่่วยงานหลััก รัับผิิดชอบในภาพรวมของโครงการตามสััญญาร่่วมลงทุุนภาครััฐและเอกชน ซึ่่�งกระทรวงกลาโหมโดยกองทัพั เรืือ และ หน่่วยงานอื่่�นๆ ที่่�เกี่�ยวข้้องร่ว่ มสนับั สนุุนการดำ�ำ เนิินงานในส่่วน ภาครััฐรัับผิิดชอบ การดำำ�เนินิ งานที่�ผ่ ่่านมา สกพอ. ร้อ้ งขอ กองทัพั เรืือให้้สนัับสนุุนโครงการฯ ในฐานะผู้�ใช้้ ประโยชน์จ์ ากพื้้�นที่่ส� นามบินิ อู่่�ตะเภาเดิิม (พื้้น� ที่่� ๖,๕๐๐ ไร่)่ และบริิเวณใกล้้เคียี ง และในฐานะผู้้�ดููแลการ รักั ษาความปลอดภัยั และป้อ้ งกันั ภัยั ให้ก้ ับั สนามบินิ ทั้้ง� นี้้เ� พื่อ�่ ให้ก้ ารประสานงาน การใช้ป้ ระโยชน์ท์ ี่ด�่ ินิ บริเิ วณ โดยรอบสนามบิินอู่่�ตะเภาให้้เกิิดประโยชน์์สููงสุุดทั้้�งในด้้านความมั่ �นคงและเชิิงพาณิิชย์์ อาทิิ สนัับสนุุนการ คััดเลืือกเอกชนเข้า้ ร่ว่ มทุุนกับั ภาครัฐั ซึ่่ง� สกพอ. ได้้ร่ว่ มลงนามสัญั ญากัับบริษิ ัทั อู่่�ตะเภา อิินเตอร์์เนชั่น� แนล เอวิิเอชั่�น จำ�ำ กััด หรืือ UTA เรีียบร้้อยแล้้ว เมื่่�อวันั ที่�่ ๑๙ มิิถุนุ ายน ๒๕๖๓ ที่ผ�่ ่า่ นมา ทำำ�ให้ร้ ัฐั ได้ผ้ ลตอบแทน จากโครงการฯ สูงู กว่า่ รายได้ป้ ระมาณการเป็น็ เงินิ จำ�ำ นวนมาก (ประมาณการรายได้้ จำ�ำ นวนเงินิ ๕๙,๐๐๐ ล้า้ นบาท ผลการคัดั เลืือกเอกชนเสนอให้้ภาครััฐเป็็นจำำ�นวนเงิิน ๓๐๕,๕๕๕ ล้า้ นบาท) นอกจากนี้้� กองทัพั เรือื ได้ส้ นับั สนุนุ การดำ�ำ เนินิ งานก่อ่ สร้า้ งโครงสร้า้ งพื้้น� ฐานที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั โครงการฯ เช่่น งานก่่อสร้า้ งทางเชื่่�อมทางวิ่�งที่่� ๑ และทางขัับกับั ลานจอดศูนู ย์์ซ่่อมอากาศยานแห่ง่ ใหม่่ การเตรีียม การก่่อสร้า้ งทางวิ่�งที่่� ๒ และทางขัับ และระบบสาธารณููปโภคพื้้น� ฐาน เป็็นต้น้ ทั้้ง� นี้้เ� มื่อ�่ ดำำ�เนิินงานข้้างต้น้ เรีียบร้้อยแล้้ว จะส่ง่ มอบงานให้้กัับ สกพอ. เพื่อ่� ดำำ�เนินิ การตามสัญั ญาที่�่ได้ร้ ่ว่ มทุนุ กับั ภาคเอกชนต่่อไป จากการดำ�ำ เนินิ การของกองทััพเรืือ ตามที่ไ่� ด้้กล่า่ วข้้างต้้น กองทัพั เรือื เป็็นเพียี งหน่่วยงานสนัับสนุุน การดำำ�เนินิ โครงการให้ก้ ับั สกพอ. ในส่ว่ นที่ภ�่ าครัฐั ต้อ้ งรับั ผิดิ ชอบตามสัญั ญาร่ว่ มทุนุ ระหว่า่ งภาครัฐั และเอกชน สำ�ำ หรัับการบริิหารสนามบินิ อู่่�ตะเภาในอนาคต สกพอ. อยู่�ระหว่า่ งการแต่ง่ ตั้�งคณะกรรมการกำ�ำ กัับสััญญาร่่วม ลงทุนุ และคณะกรรมการบริหิ ารสััญญาร่่วมลงทุุน เพื่�่อกำำ�กับั ดูแู ลและบริิหารสััญญาสนามบินิ อู่่�ตะเภา ให้้เป็็น ไปตามสััญญาที่่�ได้้ร่่วมทุุนกัับภาคเอกชน ซึ่�่งจะเห็็นได้้ว่่ากองทััพเรืือไม่่ได้้เข้้าบริิหารงานสนามบิินอู่่�ตะเภา ในส่่วนที่่ม� ีีการพััฒนาร่ว่ มกับั ภาคเอกชน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
89 อย่่างไรก็็ตาม กองทััพเรือื ยังั สามารถใช้ง้ านสนามบิินอู่่�ตะเภา โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่ง� ทางวิ่ง� ที่่� ๑ และ ทางขับั เพื่่อ� รองรับั ภารกิจิ ด้า้ นความมั่่�นคงที่่ร� ัับผิิดชอบ ซึ่�่งที่ผ่� ่่านมาได้ใ้ ช้ป้ ระโยชน์์ในภารกิิจต่า่ งๆ ที่ส่� ำ�ำ คััญ เช่่น สนับั สนุนุ การค้้นหาและช่่วยเหลืือเด็็กและเยาวชนที่่�ติดิ อยู่�ภายในถ้ำ�ำ� หลวง-ขุุนน้ำ�ำ� นางนอน การช่่วยเหลืือ ด้้านมนุุษยธรรมและการบรรเทาภััยพิิบััติิทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศ ซึ่�่งเป็็นไปตามกรอบแนวทางการใช้้ ประโยชน์์สนามบิินร่่วมกัันระหว่่างภารกิิจเพื่่�อความมั่ �นคงและการบริิหารงานในเชิิงพาณิิชย์์ (Joint Use Agreement) โดยจะเป็็นการใช้้ทรััพยากรที่�่มีีอยู่่�ร่่วมกัันอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ทั้้�งในด้้านความมั่ �นคงและ การขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิจิ ของชาติิควบคู่่�กันั ไปอย่า่ งสมดุลุ ตามนโยบาย One Airport Two Mission โดยมีี เป้า้ หมายร่ว่ มกัันคือื ผลประโยชน์ส์ ููงสุุดของประเทศชาติิและประชาชน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
90 การพัฒั นาอุุตสาหกรรมป้้ องกันั ประเทศของกระทรวงกลาโหมในอนาคต รัฐั บาลได้ใ้ ห้ค้ วามสำ�ำ คัญั ในการพัฒั นางานด้า้ นเทคโนโลยีีป้อ้ งกันั ประเทศ ดังั จะเห็น็ ได้จ้ ากยุทุ ธศาสตร์ช์ าติิ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้ม้ ีีการกล่า่ วถึึงการพัฒั นาอุตุ สาหกรรมป้อ้ งกันั ประเทศ ในยุทุ ธศาสตร์ด์ ้า้ นความมั่น� คง และยุทุ ธศาสตร์ช์ าติดิ ้า้ นการสร้า้ งความสามารถในการแข่ง่ ขันั ในประเด็น็ อุตุ สาหกรรมความมั่น� คงของประเทศ โดยมีีจุดุ มุ่่�งหมายในการต่อ่ ยอดพัฒั นาอุตุ สาหกรรมที่เ�่ กี่ย�่ วข้อ้ งในด้า้ นความมั่น� คงของประเทศให้ม้ ีีความเข้ม้ แข็ง็ รวมทั้้ง� ในการแถลงนโยบายของรัฐั บาล ได้ก้ ำ�ำ หนดนโยบายหลักั ๑๒ ด้า้ น ซึ่ง�่ การพัฒั นาเศรษฐกิจิ และความสามารถ ในการแข่่งขัันของไทยโดยเฉพาะอุุตสาหกรรมที่่�สามารถตอบสนองการเปลี่่�ยนแปลงเทคโนโลยีีหรืือแนวโน้้ม การค้้าโลก ซึ่่�งอุุตสาหกรรมที่�่เกี่่�ยวข้้องกัับการส่่งเสริิมความมั่�นคงของประเทศที่่�รััฐบาลให้้ความสำำ�คััญนั้้�น หากจะพููดให้้ง่่ายต่่อการเข้้าใจก็็คืือ จะเป็็นอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศและอุุตสาหกรรมที่�่สามารถนำ�ำ มา ประยุุกต์์ใช้้ได้้กัับภาคพลเรืือนหรืือเทคโนโลยีีสองทาง โดยในปััจจุุบััน เทคโนโลยีีต่่างๆ มีีความเกี่�่ยวเนื่่�อง และสามารถนำ�ำ มาสนับั สนุุนซึ่ง�่ กันั และกันั ได้้เป็็นอย่า่ งดีี ภาพรวมในส่่วนอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศที่�่กระทรวงกลาโหมมีีขีีดความสามารถในการผลิิตและ ภาคเอกชนที่อ�่ ยู่�ในการกำ�ำ กับั ดูแู ลของกระทรวงกลาโหมดำ�ำ เนินิ การอยู่�ในปัจั จุบุ ันั นั้้น� มีีมูลู ค่า่ หลายพันั ล้า้ นบาท หากรวมถึึงการผลิิตที่่�สามารถใช้้เทคโนโลยีีสองทางด้้วยแล้้วจะมีีมููลค่่าเพิ่่�มมากขึ้�นอีีก ซึ่�่งจะมีีส่่วนช่่วยพััฒนา และเพิ่่ม� ศัักยภาพด้้านการแข่่งขันั และช่ว่ ยพัฒั นาเศรษฐกิิจของไทยในอนาคตอีีกทางหนึ่�่ง และในปััจจุบุ ัันได้ม้ ีี การประกาศให้้อุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศเป็็น ๑ ในอุุตสาหกรรมเป้้าหมายพิิเศษในพื้้�นที่�่เขตพััฒนาพิิเศษ ภาคตะวัันออก หรืือ S-Curve 11 เมื่อ่� วันั ที่�่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ ในการพัฒั นาอุตุ สาหกรรมป้อ้ งกันั ประเทศมีีเป้า้ หมายที่ส�่ ำำ�คัญั เพื่อ่� มุ่�งสู่�การผลิติ ใช้ใ้ นราชการ เพื่อ่� การ พึ่ง่� พาตนเอง ลดการนำำ�เข้า้ จากต่า่ งประเทศ และส่ง่ เสริมิ ภาคเอกชนของไทยในการพัฒั นาต่อ่ ยอดไปสู่่�การผลิติ ในเชิงิ พาณิชิ ย์เ์ พื่อ่� การส่่งออก ซึ่่ง� จะเป็็นการสร้้างรายได้้ให้ก้ ัับประเทศโดยมีีแนวทางการพััฒนาดัังนี้้� ๑. ส่ง่ เสริมิ การจััดหายุทุ โธปกรณ์์จากโรงงานภายในประเทศ ด้้วยการบูรู ณาการความต้้องการของ หน่ว่ ยงานต่า่ งๆ ในผลิติ ภัณั ฑ์ท์ ี่ก่� ระทรวงกลาโหมและภาคเอกชนไทยมีีขีีดความสามารถในการดำำ�เนินิ การและ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
91 ส่่งเสริิมให้้พิิจารณาจััดหาจากโรงงานของกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชนของไทยเป็็นอัันดัับแรก ปััจจุุบััน กำำ�ลังั จััดทำำ�แนวทางการบูรู ณาการการผลิิตยุุทโธปกรณ์ใ์ นภาพรวมของกระทรวงกลาโหม ๒. พััฒนาผลิิตภััณฑ์์อุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศให้้มีีมาตรฐานและตรงตามความต้้องการของ หน่ว่ ยผู้�ใช้้ ด้ว้ ยการบูรู ณาการงานวิจิ ัยั พัฒั นา การมาตรฐาน และการผลิติ ยุทุ โธปกรณ์ร์ ะหว่า่ งหน่ว่ ยงานภายใน และภายนอกกระทรวงกลาโหม ตลอดจนการสร้้างความร่่วมมืือกัับมิิตรประเทศ รวมทั้้�งพััฒนากระบวนการ ทดสอบและรัับรองมาตรฐานยุุทโธปกรณ์์ให้้เป็็นที่�่ยอมรัับของผู้�ใช้้ทั้้�งในและต่่างประเทศ กระทรวงกลาโหม และหน่ว่ ยงานในการกำำ�กับั ดูแู ลของกระทรวงกลาโหมได้จ้ ัดั ทำำ�ความร่ว่ มมืือกับั กระทรวงที่เ�่ กี่ย่� วข้อ้ ง หน่ว่ ยงาน วิิจััยที่ม่� ีีศัักยภาพ และสถาบันั การศึึกษาทั้้�งในและนอกประเทศเพื่่อ� ที่จ่� ะนำ�ำ ศักั ยภาพที่ม่� ีีมาบูรู ณาการร่่วมกันั ๓. ส่่งเสริมิ การลงทุุนในกิจิ การอุตุ สาหกรรมป้อ้ งกัันประเทศ โดยอยู่�ระหว่า่ งการศึึกษาในการจััดตั้้ง� เขตส่่งเสริิมเศรษฐกิิจพิิเศษเพื่�่อกิิจการอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศในพื้้�นที่�่เขตพััฒนาพิิเศษภาคตะวัันออก หรืือพื้้�นที่่�ที่�่เหมาะสม กำำ�หนดมาตรการเชิิญชวนนัักลงทุุนจากต่่างประเทศให้้เข้้ามาลงทุุนหรืือร่่วมลงทุุนกัับ ภาคเอกชนของไทยและทบทวนกฎระเบีียบที่เ่� กี่ย่� วข้อ้ งเพื่อ�่ อำ�ำ นวยความสะดวกในการลงทุนุ และการทำ�ำ ธุรุ กิจิ ของภาคเอกชน ๔. พิิจารณาจััดตั้้�งกลไกในการขัับเคลื่�อนอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศในระดัับชาติิ ซึ่�่งเป็็นที่�่ น่่ายิินดีีว่่า พ.ร.บ.เทคโนโลยีีป้้องกัันประเทศ พ.ศ.๒๕๖๒ ได้้มีีผลบัังคัับใช้้แล้้วตั้�งแต่่เดืือนเมษายน ๒๕๖๒ โดยมีีคณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีีป้้องกัันประเทศเป็็นผู้�ให้้ทิิศทางและนโยบายที่�่สำ�ำ คััญให้้กัับหน่่วยงาน ต่า่ งๆ นำ�ำ ไปปฏิิบััติแิ ละขับั เคลื่่�อน ซึ่่�งจะทำ�ำ ให้ก้ ารปฏิบิ ััติงิ านเป็น็ ไปในทิิศทางเดีียวกันั ประหยััดทรัพั ยากรและ ใช้ร้ ่ว่ มกัันได้้อย่่างมีีประสิิทธิภิ าพมากยิ่ง� ขึ้น� โดยสถาบันั เทคโนโลยีปี ้อ้ งกันั ประเทศ (องค์ก์ ารมหาชน) ได้ร้ ่ว่ มกับั กระทรวงกลาโหมในการจัดั ทำ�ำ แนวทางการขัับเคลื่ �อนอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศเพื่่�อเป็็นอุุตสาหกรรมเป้้าหมายพิิเศษ ร่่วมกัับ ภาคเอกชนและหน่่วยงานที่่�เกี่�ยวข้้องในห้้วงปีี ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐ โดยในปีีงบประมาณ ๒๕๖๓ ได้้มีีการ ดำ�ำ เนินิ การที่่ส� ำำ�คัญั ได้้แก่่ ๑. การดำ�ำ เนินิ โครงการวิจิ ัยั และพััฒนายานเกราะล้อ้ ยาง ๘ x ๘ ซึ่�่งได้้ดำ�ำ เนินิ การอย่า่ งต่อ่ เนื่่�องมา ตั้�งแต่ป่ ีีงบประมาณ ๒๕๖๒ ตามขอบเขตบันั ทึึกข้อ้ ตกลงว่า่ ด้้วยความร่่วมมืือในการวิจิ ัยั และพััฒนายานเกราะ ล้อ้ ยาง สำ�ำ หรับั ปฏิบิ ัตั ิภิ ารกิจิ ของหน่ว่ ยบัญั ชาการนาวิกิ โยธินิ ระหว่า่ งกองทัพั เรืือกับั สถาบันั เทคโนโลยีีป้อ้ งกันั ประเทศ โดยได้้มีีการทดสอบใช้ง้ านในหน่่วยบััญชาการนาวิกิ โยธิินเรีียบร้้อยแล้้ว และปัจั จุุบัันอยู่�ระหว่า่ งการ ดำำ�เนินิ การขอรับั รองมาตรฐานยุทุ โธปกรณ์ท์ างทหารของกองทัพั เรืือ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
92 ๒. การดำำ�เนินิ โครงการวิจิ ัยั และพัฒั นาระบบจรวดสมรรถนะสูงู แบบ DTI-2 เป็น็ การวิิจััยพัฒั นา ระบบจรวดหลายลำ�ำ กล้อ้ งขนาด ๑๒๒ มิิลลิเิ มตร (ไม่น่ ำ�ำ วิถิ ีี) เพื่อ�่ ส่่งมอบให้้แก่ก่ องทััพบกตามบันั ทึึกข้อ้ ตกลงฯ ซึ่�่งผลผลิติ หลักั ที่�่ได้จ้ ากการวิจิ ััยและพััฒนาของโครงการนี้้� ได้้แก่่ ๑) ต้น้ แบบลููกจรวดขนาด ๑๒๒ มิิลลิิเมตร ระยะยิงิ ๑๐ กิโิ ลเมตร สำ�ำ หรับั การฝึกึ พร้อ้ มท่อ่ รองในและโปรแกรมอำ�ำ นวยการยิงิ เพื่อ่� เตรีียมการรับั รองต้น้ แบบ ยุุทโธปกรณ์์ ๒) ต้้นแบบลููกจรวดขนาด ๑๒๒ มิิลลิิเมตร ระยะยิิง ๑๐ กิิโลเมตร และ ๔๐ กิิโลเมตร สำ�ำ หรัับฐานยิิงจรวดของกองทััพบกเพื่่�อเตรีียมการรัับรองต้้นแบบยุุทโธปกรณ์์ ๓) ต้้นแบบลููกจรวดขนาด ๑๒๒ มิิลลิิเมตร ระยะยิิง ๑๐ กิิโลเมตร ๓๐ กิิโลเมตร และ ๔๐ กิิโลเมตร สำำ�หรัับจรวดหลายลำ�ำ กล้้อง แบบ ๓๑ ติิดตั้้�งแท่่นยิิงจรวดขนาด ๑๒๒ มิิลลิิเมตร จำำ�นวน ๑ คััน (จรวดหลายลำำ�กล้้อง แบบ ๓๑ ของ กองทัพั บกเดิมิ ) พร้อ้ มระบบอำำ�นวยการยิงิ เพื่อ่� เตรีียมการรับั รองต้น้ แบบยุทุ โธปกรณ์์ และ ๔) คลังั เก็บ็ ลูกู จรวด และสถานที่่�เก็็บจรวดหลายลำ�ำ กล้้อง แบบ ๓๑ ติิดตั้้�งแท่่นยิิงจรวดขนาด ๑๒๒ มิิลลิิเมตร เป็็นการใช้้พื้้�นที่่� ร่ว่ มกัับคลังั เก็็บลููกจรวด DTI-1 และโรงเก็็บรถยิงิ จรวด DTI-1 ๓. การจัดั ตั้้ง� ศูนู ย์ฝ์ ึกึ อบรมนักั บินิ ระบบอากาศยานไร้ค้ นขับั ซึ่ง�่ เป็น็ หลักั สูตู รที่ไ่� ด้ร้ ับั การรับั รองจาก สำำ�นัักงานการบิินพลเรืือนแห่่งประเทศไทย และได้้รัับมาตรฐานแห่่งแรกของประเทศและในภููมิิภาคอาเซีียน โดยจะทำ�ำ การฝึกึ อบรมการใช้ง้ านระบบอากาศยานไร้ค้ นขับั ให้แ้ ก่ก่ ำ�ำ ลังั พลของกองทัพั บุคุ ลากรของหน่ว่ ยงาน ภาครัฐั และเอกชน รวมถึึงประชาชนทั่่ว� ไป ระบบอากาศยานไร้ค้ นขับั ถือื เป็น็ เทคโนโลยีสี องทาง (Dual Use) ที่่�สามารถนำ�ำ ไปใช้้งานทั้้�งภาคทหารและพลเรืือน ในการนำ�ำ ไปประยุุกต์์ใช้้งานการพััฒนาแผนที่่� ๓ มิิติิ การสร้้างแบบจำ�ำ ลองพยากรณ์์สถานการณ์์ เป็็น Solution ในการป้้องกัันปััญหา รวมถึึงการนำ�ำ ไปวิิจััยและ พัฒั นาประยุกุ ต์ใ์ ช้แ้ ก้ไ้ ขปัญั หาในเรื่อ่� งต่า่ งๆ เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ ด้า้ นเศรษฐกิจิ และสร้า้ งรายได้ใ้ นการขับั เคลื่อ่� นนโยบาย ไทยแลนด์์ ๔.๐ ด้้วยกลยุุทธ์์แบบ Blue Ocean คืือ การเน้้นการตอบสนองความต้้องการของผู้�ใช้้งานด้้วย นวัตั กรรม หรืือตอบสนองลูกู ค้า้ ด้ว้ ยการสร้า้ งความแตกต่า่ ง นอกจากการฝึกึ อบรมแล้ว้ ศูนู ย์น์ ี้้ย� ังั ทำำ�การศึึกษา รวบรวมข้อ้ มูลู สร้า้ งเครืือข่า่ ยการวิจิ ัยั และพัฒั นาด้า้ นการฝึกึ อบรมและการประยุกุ ต์ใ์ ช้ง้ าน พร้อ้ มทั้้ง� ให้ค้ วามรู้� การบริกิ าร การส่ง่ เสริิม การสนัับสนุนุ การทดสอบ การซ่่อมบำ�ำ รุุง และการบููรณาการความร่ว่ มมืือในด้้านการ วิิจััยและพััฒนา ตลอดจนการประยุุกต์์ใช้้งานร่่วมกัับหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องทั้้�งภายในและภายนอกประเทศ มีีส่่วนร่่วมในการพััฒนามาตรฐานด้้านการบิินระบบอากาศยานไร้้คนขัับให้้กัับประเทศไทย ประเทศสมาชิิก อาเซีียน และมิิตรประเทศ ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
93 นอกจากนี้้� ยัังได้้เตรีียมการเพื่่�อให้้เกิิดการ ร่่วมลงทุุนกัับผู้้�ประกอบการภาคเอกชนทั้้�งในประเทศ และต่่างประเทศ เพื่่�อให้้เกิิดการเพิ่่�มขีีดความสามารถ ให้ก้ ัับประเทศในเทคโนโลยีีชั้้�นสูงู เช่่น ๑) การเตรีียมการจััดตั้้�งเขตส่่งเสริิมเศรษฐกิิจ พิิเศษรองรัับอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศในพื้้�นที่่�เขต พััฒนาพิิเศษภาคตะวัันออก (EEC) หรืือพื้้�นที่�่ที่่�เหมาะสม เพื่�่อรองรัับการดำ�ำ เนิินการวิิจััยและพััฒนาของ สถาบันั เทคโนโลยีีป้้องกัันประเทศ รวมถึึงการลงทุุนของภาคเอกชนทั้้ง� ในและต่่างประเทศในพื้้�นที่่� EEC ๒) การเตรีียมการร่่วมลงทุุนจััดตั้้�งโรงงานซ่่อมสร้้างยุุทโธปกรณ์์ทางทหารกัับภาคเอกชน เพื่่�อซ่่อม สร้า้ งรถสายพานแบบ T-85 ซึ่�ง่ ประจำำ�การในกองทัพั บก ๓) การเชิิญภาคเอกชนต่่างประเทศที่่�มีีขีีดความสามารถด้้านอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศ และ ประเทศไทยยัังทำ�ำ ไม่่ได้้ มาลงทุุนในพื้้�นที่�่ EEC หรืือพื้้�นที่่�ที่�่เหมาะสม เพื่�่อเป็็นการพััฒนาและขัับเคลื่่�อน อุตุ สาหกรรมป้้องกันั ประเทศในประเทศไทย ๔) การร่่วมลงทุุนกัับภาคเอกชนเพื่่�อผลิิตและจำำ�หน่่ายยานเกราะล้้อยาง ๘ x ๘ เพื่่�อใช้้งานใน กองทัพั เรืือ ๕) การร่่วมกัับภาคเอกชนเพื่่�อเตรีียมการผลิิตและจำ�ำ หน่่ายอากาศยานไร้้คนขัับ รวมถึึงการเปิิด หลักั สูตู รฝึกึ อบรมนักั บินิ อากาศยานไร้ค้ นขับั เพื่อ�่ เตรีียมการจัดั ตั้้ง� เป็น็ ศูนู ย์ฝ์ ึกึ อบรมระบบอากาศยานไร้ค้ นขับั ที่�ม่ ีีมาตรฐานสากลให้ก้ ับั บุคุ ลากรภาครััฐและภาคเอกชนในอนาคตอัันใกล้้ กล่่าวโดยสรุุป รััฐบาลโดยกระทรวงกลาโหมจะได้้ดำ�ำ เนิินการพััฒนาอุุตสาหกรรมป้้องกัันประเทศ โดยการร่ว่ มมืือ และบูรู ณาการกับั กระทรวงที่เ่� กี่ย่� วข้อ้ ง ทั้้ง� ภาครัฐั และภาคเอกชนของไทยในการนำำ�เทคโนโลยีี สมัยั ใหม่ม่ าใช้้ในการวิิจัยั และพััฒนา การจััดทำ�ำ มาตรฐาน และการผลิิตยุทุ โธปกรณ์ต์ ามความต้อ้ งการของผู้�ใช้้ รวมทั้้�งนำำ�มาประยุุกต์์ใช้้กัับเทคโนโลยีีสองทาง เพื่�่อเพิ่่�มศัักยภาพในการพััฒนาเศรษฐกิิจของประเทศ และ ลดการนำำ�เข้้าจากต่า่ งประเทศ ซึ่�่งกระทรวงกลาโหมจะดำำ�เนินิ การให้้เกิดิ ผลอย่่างเป็น็ รูปู ธรรมโดยเร็ว็ อัันที่่�จะ นำำ�มาเพื่�่อส่ง่ เสริมิ การพััฒนาเศรษฐกิิจและความสามารถในการแข่่งขันั ของประเทศให้้สููงยิ่�งขึ้�นไป ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
94 ปัั จฉิมิ บท ประเทศต่่างๆ ทั่่�วโลกมีีทหารเพื่่�อไว้้เป็็นหลัักประกัันในเอกราชและอธิิปไตยของชาติิ และเพื่�่อป้้อง ปรามไม่ใ่ ห้เ้ กิดิ สงคราม พลังั อำ�ำ นาจด้า้ นการทหารเป็น็ หนึ่ง�่ ในพลังั อำำ�นาจที่่ส� ำำ�คัญั ของชาติิ ซึ่ง�่ ประกอบด้ว้ ย พลัังอำ�ำ นาจทางการเมืือง เศรษฐกิิจ สัังคมจิิตวิิทยา และด้้านการทหาร จะขาดสิ่่�งใดสิ่่�งหนึ่่�งไม่่ได้้ และพลััง อำ�ำ นาจของชาติใิ นแต่ล่ ะด้า้ นจำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งเกื้อ� กูลู สนับั สนุนุ ซึ่ง�่ กันั และกันั ตลอดเวลา ชาติจิ ึึงจะมีคี วามมั่่�นคง และเจริิญรุ่�งเรือื ง สำำ�หรับั ประเทศไทย ตามรัฐั ธรรมนูญู แห่่งราชอาณาจัักรไทยฉบัับปััจจุบุ ันั มาตรา ๕๒ รััฐต้อ้ งจััดให้้มีี กำำ�ลังั ทหาร ซึ่ง�่ นอกจากจะใช้้กำำ�ลังั ทหารในการรักั ษาเอกราชอธิปิ ไตยและความมั่น� คงของชาติแิ ล้ว้ ยังั ใช้ก้ ำำ�ลังั ทหารเพื่อ�่ ประโยชน์ใ์ นการพัฒั นาประเทศด้ว้ ย โดยในยามปกติทิ หารมีหี น้า้ ที่่เ� ตรียี มกำ�ำ ลังั ให้ม้ ีคี วามพร้อ้ มรบ เพื่่�อใช้้กำ�ำ ลัังในสถานการณ์์วิิกฤตได้้ในทัันทีีและมีีประสิิทธิิภาพ อีีกทั้้�งยัังทำ�ำ หน้้าที่่�ในการพััฒนาประเทศ และช่่วยเหลืือประชาชนเมื่่�อได้้รัับความเดืือดร้้อนในทุุกสถานการณ์์ โดยกองทััพจะสนัับสนุุนทุุกส่่วน ราชการในการช่ว่ ยเหลืือบรรเทาปััญหาความเดือื ดร้้อนของประชาชน ในการทำ�ำ หน้า้ ที่่ข� องทหารเพื่่อ� การป้อ้ งกันั ประเทศนั้้น� ทหารต้อ้ งมีีการเตรีียมกำ�ำ ลังั ให้พ้ ร้อ้ มรบตั้ง� แต่่ ยามปกติิ รวมทั้้�งการวางแผนการใช้้กำำ�ลัังทหาร การเตรีียมการระดมสรรพกำำ�ลััง การฝึึกกำ�ำ ลัังสำำ�รองการฝึึก เตรีียมพร้้อม และการฝึกึ ตามวงรอบให้้สอดคล้้องกัับแผนการใช้้กำ�ำ ลังั ทหารหรืือแผนป้้องกันั ประเทศ ขณะเดีียวกันั ทหารยังั ต้อ้ งทำำ�หน้า้ ที่ใ�่ นการพัฒั นาประเทศและการช่ว่ ยเหลืือประชาชน เช่น่ การพัฒั นา แหล่ง่ น้ำำ�� ถนน ในพื้้น� ที่ค่� วามมั่น� คง การพิทิ ักั ษ์ร์ ักั ษาทรัพั ยากรธรรมชาติิ การสนับั สนุนุ การป้อ้ งกันั และบรรเทา สาธารณภััย และการสนัับสนุุนส่่วนราชการต่่างๆ ในการแก้้ไขปััญหาความเดืือดร้้อนของประชาชน เป็็นต้้น ซึ่�่งในภาพรวมทหารต้้องใช้้กำ�ำ ลัังประมาณ ๑ ใน ๓ ไปปฏิิบััติิภารกิิจป้้องกัันประเทศตามแนวชายแดนและ ในพื้้น� ที่่�จัังหวัดั ชายแดนภาคใต้้ ส่ว่ นกำ�ำ ลังั ที่่�เหลืือ ๒ ใน ๓ จะต้้องฝึกึ ตามวงรอบและรัับภารกิิจภายในประเทศ ในด้า้ นอื่่�นๆ ตามที่�ก่ ล่่าวมาแล้ว้ ด้ว้ ย ทิศิ ทางในอนาคต ทหารจำำ�เป็น็ ต้อ้ งมีีส่ว่ นสนับั สนุนุ ส่ว่ นราชการอื่น่� ในการช่ว่ ยเหลืือประชาชนมากขึ้น� เนื่�่องจากกระทรวงอื่น�่ ไม่่มีีกำ�ำ ลัังคนเพีียงพอ จะเห็็นจากกรณีีการช่ว่ ยเหลืือทีีมฟุตุ บอลหมููป่า่ อะคาเดมีีที่�่ติดิ ใน ถ้ำำ�� หลวง-ขุุนน้ำ�ำ�นางนอน หรืือการอพยพประชาชนไปยัังพื้้�นที่่�ปลอดภััยตลอดจนการซ่่อมแซมและสร้้าง บ้า้ นเรืือนให้แ้ ก่ป่ ระชาชนที่ไ�่ ด้ร้ ับั ผลกระทบจากพายุโุ ซนร้อ้ นปาบึึก พายุโุ ซนร้อ้ นโนอึึล และอุทุ กภัยั ตามฤดูกู าล ทหาร ตำ�ำ รวจ และเจ้้าหน้้าที่่�ฝ่่ายความมั่ �นคงทุุกคน ปฏิิบััติิหน้้าที่่�ในพื้้�นที่�่ที่�่มีีความลำำ�บาก ห่่างไกล เสี่่�ยงอัันตรายตลอดเวลาแต่่กล้้าเอาชีีวิิตเข้้าต่่อสู้้�ข้้าศึึกศััตรููผู้�มารุุกรานแผ่่นดิินไทย เพื่่�อให้้ประชาชนใช้้ชีีวิิต ตามปกติสิ ุุข ทหารจึึงทำำ�งานด้ว้ ยแรงศรััทธา อุุดมการณ์ท์ ี่�่สำำ�คัญั “ทหาร ก็็คืือ ลููกหลานพี่่น� ้้องของคนไทย” เช่่นเดีียวกัับอาชีีพอื่่�นไม่ค่ วรแบ่่งแยกทหารออกจากประชาชน ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
95 กระทรวงกลาโหม ยืืนยันั ที่จ�่ ะทุ่�มเททั้้ง� แรงกายและแรงใจในการปฏิบิ ัตั ิภิ ารกิจิ หน้า้ ที่ท�่ ี่ไ�่ ด้ร้ ับั มอบหมาย อย่า่ งเต็ม็ กำำ�ลังั ความสามารถในการพิทิ ักั ษ์ร์ ักั ษาเอกราชอธิปิ ไตย ปกป้อ้ งสถาบันั ชาติิ ศาสนา พระมหากษัตั ริยิ ์์ ตลอดจนการแก้ไ้ ขปัญั หาที่ม่� ีีผลกระทบต่อ่ ความมั่น� คงของชาติิ รวมทั้้ง� พร้อ้ มที่จ�่ ะก้า้ วเดินิ ไปกับั พี่น�่ ้อ้ งประชาชน ในการขัับเคลื่่�อนการพััฒนาประเทศในมิิติิต่่างๆ ภายใต้้วิสิ ััยทััศน์์ “ประเทศไทยมีีความมั่่�นคง มั่่�งคั่่�ง ยั่่�งยืืน เป็็นประเทศที่่�พััฒนาแล้้ว ด้้วยการยึึดหลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจพอเพีียง” เพื่่�อทำำ�ให้้เป็็นที่่�เชื่�่อมั่�นของ ประชาชน และมีีเกีียรติิ มีีศัักดิ์�ศรีีในเวทีีนานาประเทศสืืบไป ----------------------------------------- ผลการด�ำเนินงานของกระทรวงกลาโหม ประจ�ำปี ๒๕๖๓
เพลง ทหารแห่่งแผ่่นดิิน เพลงที่่ไ� ด้ร้ ัับรางวัลั ชนะเลิศิ โครงการประกวดแต่่งบทเพลงรักั ชาติิ โดยกองทััพบก เนื้�อร้้อง / ทำำ�นอง : คุณุ วิเิ ชียี ร ตันั ติพิ ิิมลพัันธ์์ โดยเนื้�อหาของเพลงนี้� เกี่่ย� วกัับความรัักของทหารที่่ม� ีีต่่อชาติิ ศาสนา พระมหากษััตริิย์์ และประชาชน เกิดิ มาเพื่อ�่ เป็น็ รั้ว� ของแผ่น่ ดิิน หยััดยืืนด้้วยชีีวินิ ที่ห่� ้้าวหาญ จะไม่่กลัวั ยากเย็็นจะไม่เ่ กรงภััยพาล พิทิ ัักษ์แ์ ดนดิินถิ่่น� บ้า้ นที่่ผ� ูกู พััน เกิดิ มาด้้วยมีหี ััวใจทหาร มั่น� ในปณิธิ านที่่�ใฝ่่ฝันั จะให้ช้ าติิดำำ�รง ปกป้้ององค์ร์ าชััน ให้้ร่่มเงายััง ร่่มเย็น็ สืืบไป * ฉันั คืือทหารแห่่งแผ่น่ ดินิ ขอทำ�ำ สิ่่�งที่่�ฝัันอัันยิ่�งใหญ่่ สู้�เพื่่�อความมั่น� คง ให้้ยืืนยงตลอดไป สู้�เพื่อ�่ คนไทยอุ่่�นใจ หลัับสบาย ฉัันคืือทหารแห่่งแผ่น่ ดิิน ฉันั ไม่่หวั่�นพรุ่�ง่ นี้จ� ะดีรี ้า้ ย แม้ต้ ้อ้ งพลีชี ีพี ลง ชีวี ิติ นี้้ม� ีีความหมาย ไม่่เสีียดายได้ต้ อบแทนแผ่น่ ดินิ นี้� แผ่น่ ดิินที่ร�่ ัักของเรา
กลาโหม เทิิดราชา รัักษ์์ราษฎร์์ ชาติิมั่่�นคง กระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ http://opsd.mod.go.th
Search