Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ ม.ต้น.

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น.

Published by kruaon20, 2020-06-14 03:49:18

Description: วิทยาศาสตร์ ม.ต้น.

Search

Read the Text Version

145 7. ใหน้ ักศกึ ษาคานวณเปอร์เซ็นตข์ องการใช้แหลง่ ผลิตพลงั งานไฟฟ้าแลว้ นาขอ้ มลู ไปทาเปน็ กราฟวงกลม แหลง่ ผลติ พลังงานไฟฟ้า น้ามนั 150 ลา้ นบาท ....................................... % ถ่านหนิ 2,700 ลา้ นบาท ....................................... % ซอื้ ไฟฟ้าจากตา่ งประเทศ 900 ลา้ นบาท ....................................... % ก๊าซธรรมชาติ 9,900 ล้านบาท ....................................... % พลงั งานหมนุ เวียน (ชวี มวล ลม แสงอาทติ ย์) 900 ลา้ นบาท ....................................... % น้า 450ลา้ นบาท....................................... % 8. วงจรไฟฟ้ามีก่ปี ระเภท แต่ละประเภทมคี วามแตกต่างกนั อย่างไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

146 9. วงจรไฟฟ้าทเี่ ดินสายไฟสาหรับตดิ ต้งั หลอดไฟ ปลก๊ั และสวิทซไ์ ฟภายในบา้ น เป็นการ ตอ่ วงจรประเภทใด ให้วาดรปู ของวงจรประกอบ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 10. สมบัติของแสงมกี ป่ี ระเภท อะไรบ้าง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 11. พลงั งานทดแทนหมายถึงอะไร จงยกตัวอยา่ งการนาพลังงานทดแทนไปใช้ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................



142 บทที่ 5 ดาราศาสตร์เพ่ือชวี ติ เร่ืองท่ี 1 กาเนดิ ดวงดาว จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์พบว่าก่อนที่จะมีดวงดาวแรกเกิดข้ึนมาในเอกภพน้ี มีเพียงธาตุน้าหนักเบา เช่น ไฮโดรเจน และฮีเลียมเป็นหลัก และธาตุลิเทียมปะปนอยู่เพียง เล็กน้อยเท่าน้ัน แม้ว่าธาตุเหล่านี้จะมีเพียงเบาบาง เมื่อเทียบกับเอกภพที่กว้างใหญ่ แต่ในบาง บรเิ วณโดยเฉพาะของกาแล็กซี โมเลกุลของก๊าซเหลา่ นจ้ี ะอยูใ่ กล้กัน เกดิ แรงดงึ ดดู ซง่ึ กนั และกัน ทาให้เกิดการรวมตัวกันเป็นกลุ่มก๊าซท่ีมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ จนมีความกว้าง 10-100 ปีแสง แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของก๊าซท่ีอยู่กันอย่างหนาแน่นกว่าส่วนอื่น ๆ โดยเฉพาะตรงกลางจะ เกดิ การยุบตวั เขา้ หากัน สง่ ผลให้เกิดความรอ้ นเพ่ิมขึ้น เมื่อมีความร้อนถึงจุดหนึ่งจะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียสขึ้น ก๊าซไฮโดรเจนจะหลอมรวม เป็นฮีเลียม มีการปล่อยพลังงานออกมา ปรากฏการณ์ดังกล่าวถือเป็นการกาเนิดดวงดาวตา่ ง ๆ นอกจากน้ีความร้อนสูงยังมีผลให้ก๊าซไฮโดรเจน และฮีเลียมเปลี่ยนไปเป็นก๊าซอ่ืน ๆ มากมาย เช่น คาร์บอน ซัลเฟอร์ กลุ่มก๊าซท่ีเป็นแหล่งกาเนิดดวงดาวนี้เรียกว่า เนบิวลา ในอวกาศจะมี เนบิวลาตา่ ง ๆ อยูม่ ากมาย เช่น เนบวิ ลาเอน็ จีซี 604 (NGC 604) เนบวิ ลาเอม็ 33 (M 33) เป็น ต้น เนบิวลาเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นผงที่มีขนาดใหญม่ าก บางเนบิวลามีขนาดใหญ่กว่าระบบสุรยิ ะ ของเราถงึ 10 เทา่ เชน่ เนบวิ ลาเอ็ม 42 (M 42) ในบางเนบิวลาสามารถกอ่ กาเนดิ ดาวฤกษ์ใหม่ นบั พนั ดวง ดาวฤกษ์ทม่ี ีขนาดเลก็ ทส่ี ดุ มขี นาดเท่ากบั ขนาดของโลก มสี ขี าว เรียกวา่ ดาวแคระขาว ส่วนดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ แต่มีขนาดใหญ่กว่าดาวแคระขาวประมาณ 100 เท่า ดาวท่ีมีสีน้าเงินแกมขาวเป็นดาวท่ีร้อนจัดมีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ 7 เท่า ดาวท่ีมีสีแดงมี ขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ 30 เท่า เรียกว่า ดาวยักษ์แดง และดาวท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุด เรียกว่า ราชายักษ์ มีขนาดใหญ่กว่าดาวยักษ์แดง 10 เท่า ดาวฤกษ์ดวงเดียวกันอาจหดตัวเล็กลง หรือ ขยายขนาดใหญ่ขึน้ ก็ได้แตม่ วลยังคงเทา่ เดมิ

143 1.1 ประเภทของดวงดาว 1.1.1 ดาวฤกษ์ หมายถึง วัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คง อยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากท่ีสุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงาน หลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้าในเวลากลางคืน จะเปล่งแสงได้ เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซ่ึงจะปลดปล่อยพลังงานจากภายใน ของดาว จากน้ันจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบท้ังหมดซึ่งเกิดข้ึนโดยธรรมชาติและ หนกั กว่าฮีเลียมมกี าเนิดมาจากดาวฤกษ์ 1.1.2 ดาวเคราะห์ หมายถึง ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง แต่สะท้อน แสงอาทิตย์ส่องเข้าไปตาเรา ดาวเคราะห์แต่ละดวงมีขนาดและจานวนดวงจันทร์บริวารไม่ เท่ากัน อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางต่างกัน และดวงต่างก็อยู่ในระบบสุริยะ โดย หมุนรอบตัวเองโคจรรอบดวงอาทิตย์ดว้ ยความเร็วต่างกนั ไป สามารถแบง่ ได้ 3 ลักษณะ ดังน้ี 1) แบ่งตามลักษณะทางกายภาพ - ดาวเคราะห์ช้ันใน (Inner or Terrestrial Planets) : จะเป็นกลุ่ม ดาวเคราะห์ ท่ีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าอีกกลุ่ม เป็นดาวเคราะห์ท่ีเย็นตัวแล้วมากกว่าทาให้มี ผิวนอกเป็นของแข็งเหมือนผิวโลกของเรา จึงเรียกว่า Terrestrial Planets (หมายถึง “บนพ้ืน โลก”) ไดแ้ ก่ ดาวพุธ (Mercury), ดาวศกุ ร์ (Venus), โลก (Earth) และดาวองั คาร (Mars) ซง่ึ จะ ใช้แถบของดาวเคราะห์น้อย (Asteroid Belt) เปน็ แนวแบง่ - ดาวเคราะห์ช้ันนอก (Outer or Jovian Planets) : จะเป็นกลุ่ม ดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลดวงอาทิตย์มากกว่าอีกกลุ่ม เป็นดาวเคราะห์ท่ีเพ่ิงเย็นตัว ทาให้มีผิวนอก ปกคลุมด้วยก๊าซเป็นส่วนใหญ่ เหมือนพน้ื ผวิ ของดาวพฤหัส ทาใหม้ ชี ื่อเรียกว่า Jovian Planets (Jovian มาจากคาว่า Jupiter-like หมายถึง คล้ายดาวพฤหัส) ได้แก่ ดาวพฤหัส (Jupiter), ดาวเสาร์ (Saturn), ดาวยูเรนสั (Uranus), ดาวเนปจนู (Neptune) 2) แบง่ ตามวงทางโคจร - ดาวเคราะห์วงใน (Interior planets) หมายถึง ดาวเคราะห์ที่อยู่ ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวพธุ และดาวศกุ ร์ - ดาวเคราะห์วงนอก (Superior planets) หมายถึง ดาวเคราะห์ที่ อยถู่ ดั จากโลกออกไป ไดแ้ ก่ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจนู

144 3) แบ่งตามลักษณะพื้นผวิ - ดาวเคราะห์หิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ท้ัง 4 ดวงนี้มีพ้ืนผิวแข็งเป็นหิน มีชั้นบรรยากาศบาง ๆ ห่อหุ้ม ยกเว้นดาวพุธที่อยู่ใกล้ดวง อาทิตย์ที่สดุ ไม่มีบรรยากาศ - ดาวเคราะหก์ า๊ ซ ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยเู รนสั และ ดาวเนปจูน จะเป็นก๊าซท่ัวทั้งดวง อาจมีแกนหินขนาดเล็ก อยู่ภายใน พื้นผิวจึงเป็นบรรยากาศ ทป่ี กคลุมด้วยกา๊ ซมเี ทน แอมโมเนยี ไฮโดรเจน และฮเี ลยี ม (สาหรับดาวพลูโตถูกจัดไปอยู่ในกลุ่มของดาวแคระขาว เนืองจากอยู่ห่างไกลจากวงโคจรของ ระบบสุริยะ) เรือ่ งท่ี 2 กล่มุ ดาวจักรราศี 2.1 กลุม่ ดาวจกั รราศี หมายถึง กลุ่มดาวฤกษ์จานวน 12 กล่มุ ทีอ่ ยหู่ ่างไกลจากดวง อาทิตย์ออกไป ซึ่งเม่ือมองจากโลกจะเห็นกลุ่มดาวเหล่าน้ีอยู่ตามแนวทางเดินของดวงอาทิตย์ ทเ่ี รียกวา่ เสน้ สุรยิ วิถี ซง่ึ กล่มุ ดาวดงั กล่าวไมไ่ ดอ้ ยบู่ นแนวสุริยวิถีพอดี แตจ่ ะอย่ใู นชว่ งแถบกวา้ ง ประมาณ 18 องศา ผ่านแนวสุริยวิถี โดยมี 12 กลุ่มดาว แต่ละกลุ่มดาวห่างกัน ประมาณ 30 องศา ดวงอาทิตย์จะปรากฏเปลี่ยนตาแหน่งไปตามกลุ่มดาวฤกษ์ 12 กลุ่ม และเปล่ียน ตาแหน่งครบรอบในเวลา 1 ปี โดยเฉลี่ยดวงอาทิตย์จะใช้เวลาประมาณ 1 เดือนต่อ 1 กลุ่มดาว โดยจะเป็นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ในราศีท่ีมีชื่อสัมพันธ์กับช่ือเดือน เช่น ดวงอาทิตย์เคล่ือนที่ ปรากฏผ่านกลุ่มดาวคนคู่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงเวลาท่ีดวงอาทิตย์อยู่ในราศี มิถนุ ต่อจากนนั้ จะเคล่ือนทปี่ รากฏผา่ นกลมุ่ ดาวปูในปลายเดือนกรกฎาคมซึ่งเป็นชว่ งเวลาท่ีดวง อาทิตยอ์ ยใู่ น ราศกี รกฎ เปน็ ต้น

145 2.1.1 กลุ่มดาวแกะ (Aries) เป็นกลุ่มดาวในราศีเมษเป็นกลุ่มดาวทางซีกฟ้า ดา้ นเหนือดวงอาทติ ยจ์ ะเคล่อื นมาในกลุม่ ดาวน้ีระหว่างวันที่ 19 เมษายน ถึง 14 พฤษภาคม 2.1.2 กลุ่มดาววัว (Taurus) เป็นกลุ่มดาวในราศีพฤษก เป็นกลุ่มดาวทางซีก ฟ้าดา้ นเหนอื ดวงอาทิตยจ์ ะเคลือ่ นมาในกล่มุ ดาวนีร้ ะหว่างวันท่ี 14 พฤษภาคม ถึง 21 มถิ นุ ายน มีดาวฤกษ์สีส้มแดงสว่างที่สุดอยู่หนึ่งดวงเป็นตาขวาของวัว ชื่อว่า ดาวอัลดิบะแรน (ALDEBARAN) หรือ ดาวโรหณิ ี 2.1.3 กลุ่มดาวคนคู่ (Gemini) เป็นกลุ่มดาวในราศีเมถุนอยู่ทางด้าน ตะวันออกเฉียงเหนือของกลุ่มดาวนายพราน (Orion) ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนมาในกลุ่มดาวนี้ ระหว่างวันท่ี 22 มิถนุ ายน ถึง 21 กรกฏาคม เขา้ เดือนมถิ นุ ายนมดี าวฤกษ์สกุ สว่างทีส่ ังเกตง่าย และอยู่ใกล้กัน 2 ดวง คือ ดาวคาสเตอร์ (Caster) และ ดาวพอลลักซ์ (Pollux) เป็นกลุ่มดาวที่ เหน็ ชดั ตลอดคนื ในฤดูหนาว โดยเฉพาะเดือนมกราคมจะเห็นอยตู่ ลอดทั้งคืน 2.1.4 กลุ่มดาวปู (Cancer) เปน็ กล่มุ ดาวในราศกี รกฏถัดมาจากกล่มุ ดาวคนคู่ ทางทิศตะวันออกดวงอาทิตย์จะเคล่ือนมาในกลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 21 กรกฏาคม ถึง 11 สิงหาคมเข้าเดือนกรกฏาคม ในต้นเดือนกุมภาพันธ์จะเห็นได้ตลอดคืน ในกลุ่มดาวปูน้ีจะมีฝ้า ขาวๆอยู่ เรียกว่า กระจกุ ดาวรวงผ้ึง (PRAESEPE) หรอื ทีค่ นไทยเรยี กวา่ กระจกุ ดาวปุยฝ้าย 2.1.5 กลุ่มดาวสิงโต (Leo) เป็นกลุ่มดาวในราศีสิงห์ ประกอบด้วยดาวฤกษ์ อย่างนอ้ ย 9 ดวง ดวงอาทิตย์จะเคล่ือนทีผ่ ่านกล่มุ ดาวราศีสงิ หร์ ะหว่างวันท่ี 11 สงิ หาคม ถึง 17 กนั ยายน มดี าวฤกษท์ ่ีสว่างคือ ดาวเรกวิ ลสุ (REGULUS) หรอื ดาวหวั ใจสงิ ห์ 2.1.6 กลุ่มดาวหญิงสาว (Virgo) เป็นกลุ่มดาวในราศีกันย์ เป็นกลุ่มดาวทาง ซีกฟ้าด้านใต้ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ผ่านระหว่างวันท่ี 17 กันยายน ถึง วันที่ 1 พฤศจิกายน ดาวฤกษ์ท่ีสว่างท่ีสุด คือ ดาวสไปก้า (SPICA) เข้าเดือนกันยายนเมื่อดวงอาทิตย์ตกจะเห็นกลุ่ม ดาวนีอ้ ยทู่ างทศิ ตะวันตกพอดี

146 2.1.7 กลุ่มดาวคันข่ัง (Libra) เป็นกลุ่มดาวในราศีตุลย์ ดวงอาทิตย์ปรากฏ โคจรเข้ามาอยู่ในกลุ่มดาวราศีตุลย์ ในวันท่ี 23 กันยายน ซ่ึงในวันน้ีกลางวันกับกลางคืนเท่ากัน พอดี และดวงอาทิตย์ขึ้นที่จุดทิศตะวันออก ตกท่ีจุดทิศตะวันตก โคจรผ่านกลางท้องฟ้าพอดี กลุม่ ดาวนจ้ี ึงแทนความเสมอภาคแหง่ ท้องฟ้า 2.1.8 กลุ่มดาวแมงป่อง (Scorpio) เป็นกลุ่มดาวในราศีพิจิก เป็นกลุ่มดาว ทางซีกฟ้าด้านใต้ ซ่ึงดวงอาทิตย์จะโคจรผ่านระหว่างวันที่ 23 ถึง 30 พฤศจิกายน ดาวฤกษ์ที่ เห็นไดช้ ัดเจนทสี่ ดุ เปน็ ดาวฤกษส์ แี ดง ชือ่ แอนทาเรส (ANTARES) หรอื ดาวปารชิ าต 2.1.9 กลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius) เป็นกลุ่มดาวในราศีธนูดวงอาทิตย์จะ เคลื่อนมาในกลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 19 ธันวาคม ถึง 21 มกราคม กลุ่มดาวคนยิงธนูเป็นกลุ่ม ดาวทีอ่ ยูใ่ จกลางทางชา้ งเผอื ก 2.1.10 กลุ่มดาวแพะทะเล (Capricornus) เป็นกลุ่มดาวในราศีมังกร กลุ่ม ดาวน้ีส่วนใหญ่อยู่เลยไปทางทิศใต้ของเส้นสุริยะวิถี ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนมาในกลุ่มดาวนี้ ระหวา่ งวันท่ี 22 มกราคมถึง 21 กุมภาพันธ์ 2.1.11 กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้า (Aqurius) เป็นกลุ่มดาวในราศีกุมภ์ เป็น กลุ่มดาวท่ีอยู่ทางซีกฟ้าด้านใต้ ดวงอาทิตย์จะเคล่ือนมาในกลุ่มดาวน้ีช่วง วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ถึง 13 มนี าคม 2.1.12 กลุ่มดาวปลาคู่ (Pisces) เป็นกลุ่มดาวในราศีมีน ดวงอาทิตย์จะผ่าน กลุ่มดาวนี้ระหว่างวันที่ 13 มีนาคม ถึง 19 เมษายน ดวงอาทิตย์จะอยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าใน วนั ท่ี 21 มีนาคม ซ่งึ อยใู่ นกลมุ่ ดาวปลาคู่ เป็นวนั เร่มิ ต้นฤดูใบไมผ้ ลิ เปน็ วนั ทดี่ วงอาทิตย์ขึ้นตรง จุดตะวันออกพอดี และ ตกตรงจดุ ตะวนั ตกพอดี ซึ่งกลางวนั จะยาวนานเท่ากบั กลางคนื SC213001 กลุม่ ดาวจกั รราศี

147 เรอื่ งที่ 3 วิธกี ารหาดาวเหนือ 3.1 ดาวเหนือ (Polaris หรือ Cynosura) เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวหมี เล็กและอยู่ใกล้กับขั้วฟ้าเหนือจึงปรากฏเสมือนอยู่นิ่งกับท่ีบนท้องฟ้า การที่ดาวเหนืออยู่ใน ทศิ ทางทเ่ี กือบจะเป็นทิศทางเดียวกับแกนหมุนของโลก ดาวฤกษ์ดวงอน่ื ๆ จึงดูเหมือนเคลื่อนที่ วนเป็นวงกลมรอบดาวเหนือ เราสามารถหาตาแหน่งดาวเหนือได้โดยใช้วิธีการหลัก ๆ 2 วิธี ได้แก่ 3.1.1 การหาดาวเหนอื ดว้ ยทิศและตาแหน่งละติจูด 1) ถ้าผู้สังเกตที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตร จะเห็นดาวเหนืออยู่บนขอบฟ้าด้าน ทศิ เหนอื พอดี 2) ถ้าผู้สังเกตที่อยู่ต่ากว่าเส้นศนู ย์สูตร หรือซีกโลกใต้ ดาวเหนือจะหาย ลบั จากขอบฟา้ ด้านทศิ เหนือไป 3) ถ้าผู้สังเกตที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร หรือซีกโลกเหนือ จะเห็นดาว เหนืออยูส่ ูงจากข้ามฟ้าด้านทิศเหนือ มีค่ามมุ เดยี วกบั ค่าละติจูดของผ้สู ังเกต เช่น ผู้สงั เกตอยู่ใน ประเทศไทยที่ละติจูด 15 องศาเหนือ (โดยเฉลี่ย) ดาวเหนือจะอยู่สูง จากขอบฟ้าด้านทิศเหนือ 15 องศาเช่นกัน 3.1.2 การหาดาวเหนือโดยใช้กลมุ่ ดาว 1) ดูจากกลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa major) หรือที่คนไทยเรา เรียกว่า กลุ่มดาวจระเข้ กลุ่มดาวน้ีมีดาวสว่างเจ็ดดวงเรียงตัวเป็นรูปกระบวยตักน้า ดาวสองดวงแรก ของกระบวยตักน้าจะชี้ไปยังดาวเหนือเสมอไม่ว่าทรงกลมท้องฟ้าจะหมุนไปอย่างไรก็ตาม ดาวเหนือจะอยูห่ ่างออกไป 4 เทา่ ของระยะทางระหว่างดาวสองดวงแรกเสมอ

148 2) ถ้ากลุ่มดาวหมีใหญ่เพิ่งตกไป หรือยังไม่ข้นึ มาเราก็สามารถมองหาทิศ เหนืออย่างคร่าว ๆ ได้โดยอาศัย “กลุ่มดาวค้างคาว” (Cassiopeia) กลุ่มดาวค้างคาว ประกอบดว้ ย ดาวสว่าง 5 ดวง เรียงเปน็ รูปตัว “M” หรอื “W” ควา่ กลุม่ ดาวค้างคาวจะอยู่ใน ทศิ ตรงข้ามกบั กลมุ่ ดาวหมีใหญเ่ สมอ กลุ่มดาวคา้ งคาว (Cassiopeia) ดาวเหนือ กลมุ่ ดาวหมเี ลก็ (ursa minor) 3) ใช้ “กลุ่มดาวนายพราน” (Orion) ในการนาทางได้อย่างคร่าวๆ เพราะกลุ่มดาวนายพรานจะหันหัวเข้าหาดาวเหนือเสมอ นอกจากนั้นกลุ่มดาวนายพรานยัง ตั้งอยบู่ นเส้นศูนย์สตู รฟ้า น่นั หมายความวา่ กลุม่ ดาวนายพรานจะขึ้น – ตกในแนวทศิ ตะวนั ออก -ตะวนั ตกเสมอ

149 เร่อื งท่ี 4 แผนทดี่ าว 4.1 แผนท่ีดาว หมายถึง เครื่องมือท่ีช่วยในการบอกตาแหน่งของดาว หรือกลุ่มดาว ฤกษ์ทีม่ องเหน็ ดว้ ยตาเปล่า จากมุมมองของผู้ดูดาวบนโลก เนือ่ งจากดาวฤกษอ์ ยใู่ นอวกาศท่เี ป็น สามมิติและอยู่ห่างจากโลกมาก การมองด้วยตาเปล่าไม่สามารถจะบอกระยะทางที่ดาวแต่ละ ดวงว่าอยู่ห่างจากโลกมากหรือนอ้ ย แต่เราจะเห็นวา่ ดาวเรียงกันอยู่เป็นรูปร่างตา่ ง ๆ กัน ดาวที่ เราเห็นวา่ อยู่ใกล้กันอาจจะไม่ไดอ้ ยูใ่ กลก้ ันกไ็ ด้ จากการทีด่ าวฤกษอ์ ยหู่ า่ งจากโลกมาก จึงทาให้ เราไม่สามารถสังเกตการณเ์ ปลี่ยนตาแหน่งของดาวไดด้ ้วยตาเปลา่ การอา่ นแผนทดี่ าวเป็น ทาให้ผดู้ ดู าวรูจ้ ักกลุ่มดาวบนทอ้ งฟ้าอย่างถูกต้อง วา่ กลมุ่ ดาว แต่ละกลุ่มน้ัน มีดาวท่ีสาคัญอยู่ก่ีดวง จินตนาการเห็นเป็นรูปอะไร กลุ่มดาวแต่ละกลุ่มนั้นอยู่ ใกล้กันในลักษณะอย่างไร จะทาให้เราดูดาวหรือกลุ่มดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้า ณ วันเวลาใดได้ อย่างถูกต้อง ก่อนอ่านแผนท่ีดาวเพื่อเปรียบเทียบกับดาวท่ีปรากฏบนท้องฟ้า ผู้ดูดาวต้องรู้จัก ทิศเหนือ -ใต้ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก ของพื้นทีน่ ้นั ๆ ก่อน แผนที่ดาวที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน จะเป็นแผนที่ดาวแบบหมุน โดยเป็นกระดาษแข็ง 2 แผ่น ตรึงติดกันตรงกลาง โดยแผ่นหนึ่งจะเป็นภาพของกลุ่มดาว และดาวสว่าง เขียนอยู่ใน รูปวงกลม โดยที่ขอบของวงกลมจะระบุ “วัน - เดือน” โดยรอบส่ายแผ่นติดอยู่ด้านบนจะระบุ “เวลา” ไว้โดยรอบ เมื่อเห็นแผนท่ีดาว วิธีอ่านที่ถูกต้อง ต้องนอนหงายอา่ น หันศีรษะไป ทิศเหนือ หรือถ้า ยืนดูดาวหันหน้าไปทางทิศใต้ ด้านขวามือจะเป็นทิศตะวันตก ด้านซ้ายมือเป็นทิศตะวันออก แล้วหันทิศเหนือ ในแผนท่ีดาวไปทางศีรษะ หันทิศในแผนที่ดาวไปทางทิศเหนือให้ตรงกัน จะ เห็นกลุ่มดาวในแผนที่ดาว และในท้องฟ้าตรงกัน เม่ือจาแผนที่ดาวได้แล้ว ไปดูกลุ่มดาวจริง ๆ

150 บนท้องฟ้า จะเห็นตรงกัน ถ้าก้มลงอ่านแผนท่ีอย่างอ่านหนังสือธรรมดา จะเห็นภาพกลุ่มดาว กลบั ซา้ ยเป็นขวา ขวาเป็นซ้ายไมต่ รงกัน เร่ืองที่ 5 ประโยชนจ์ ากกลุ่มดาวฤกษต์ ่อการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั คนเรามีความผูกพันกับดวงดาวต่าง ๆ บนท้องฟ้ามาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน เพราะคนเราใช้ชวี ิตประจาวันเกี่ยวข้องกับดวงดาว เชน่ ประโยชนใ์ นการหาทิศทาง บอกเวลา บอกฤดูกาล การกาหนดวันนักขัตฤกษ์ และสะดวกในการศึกษาวัตถุท้องฟ้าที่โคจร แปลกปลอมเขา้ มา เชน่ ดาวหาง ดาวเคราะหน์ อ้ ย อกุ กาบาต SC213002 ดาวเหนอื และประโยชนข์ องดวงดาว

151 แบบฝึกหัดที่ 1 ให้ผู้เรยี นเลอื กคาตอบทถี่ ูกต้องท่ีสุดเพียงขอ้ เดยี ว 1. กลมุ่ ดาวในขอ้ ใดเปน็ กลมุ่ ดาวในราศสี ิงห์ ก. กล่มุ ดาวปู ข. กลุ่มดาวคนคู่ ค. กลุ่มดาวสงิ โต ง. กลมุ่ ดาวหญงิ สาว 2. กลุม่ ดาวในขอ้ ใดที่ดวงอาทติ ย์เร่ิมโคจรปรากฏเขา้ มาอยู่ในบรเิ วณกลุ่มดาวนี้และเปน็ การ เรม่ิ ฤดใู บไม้ผลิ ก. กลุ่มดาววัว ข. กล่มุ ดาวแกะ ค. กลมุ่ ดาวคนคู่ ง. กลมุ่ ดาวปลาคู่ 3. ขอ้ ใดกลา่ วไดถ้ ูกตอ้ งในการหาดาวเหนอื ก. กลุ่มดาวนายพรานจะหันหัวเข้าหาดาวเหนอื เสมอ ข. กลุ่มดาวนายพรานจะขนึ้ -ตกในแนวทศิ เหนือ-ทศิ ใต้เสมอ ค. ดาว 3 ดวงแรกของกลมุ่ ดาวหมีใหญ่จะช้ีข้ึนไปยังดาวเหนอื ง. ดาว 3 ดวงแรกของกลุ่มดาวหมใี หญ่จะอย่หู า่ งจากดาวเหนือ 4 เท่า 4. เราใชก้ ารสงั เกตดาวในขอ้ ใดทีช่ ว่ ยในการหาทิศใต้ ก. ดาวเหนือ ข. ดาวลูกไก่ ค. ดาวหมีใหญ่ ง. ดาววา่ วปักเป้า 5. เราใช้กลมุ่ ดาวใดในการบอกเวลา ก. กล่มุ ดาวไถ ข. กลุ่มดาวลกู ไก่ ค. กลมุ่ ดาวจระเข้ ง. กล่มุ ดาวค้างคาว -------------------------------

152 แบบฝึกหัดท่ี 2 คาชแี้ จง จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ให้นกั ศกึ ษาสบื คน้ ขอ้ มูลของกลมุ่ ดาวฤกษ์ 5 กล่มุ แล้วระบชุ ือ่ กลุ่มดาว (วาดภาพกลมุ่ ดาว) ชอ่ื กลุ่มดาว ...................................................... มลี กั ษณะ ดังนี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... (วาดภาพกลมุ่ ดาว) ชื่อกลมุ่ ดาว ...................................................... มลี กั ษณะ ดงั นี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... (วาดภาพกลมุ่ ดาว) ชอื่ กลมุ่ ดาว ...................................................... มีลกั ษณะ ดงั นี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ..........................................................................

153 (วาดภาพกลมุ่ ดาว) ชื่อกลมุ่ ดาว ...................................................... (วาดภาพกลมุ่ ดาว) มลี กั ษณะ ดงั นี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ชื่อกลุม่ ดาว ...................................................... มลี ักษณะ ดังนี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... 2. ศึกษาข้อมูลกลุ่มดาวหา้ ราศี โดยนาความรูท้ ่ศี กึ ษาจบั คูค่ วามสัมพันธ์ กลุ่มดาวกบั ราศี ราศีเมษ ราศีพฤษก ราศเี มถนุ ราศกี รกฎ ราศีสงิ ห์ ราศกี ันย์ ราศีตลุ ย์ ราศีพิจิก ราศีธนู ราศมี ังกร ราศกี ุมภ์ ราศีมีน กลุ่มดาวแกะ (Aries) คกู่ ับราศี _________________ กล่มุ ดาวววั (Taurus) คู่กับราศี _________________ กลมุ่ ดาวคนคู่ (Gemini) คกู่ ับราศี _________________ กลมุ่ ดาวปู (Cencer) คู่กบั ราศี _________________ กลุ่มดาวสงิ โต (Leo) คกู่ ับราศี _________________ กลมุ่ ดาวหญิงสาว (Virgo) คู่กับราศี _________________ กลมุ่ ดาวคนั ชัง่ (Libra) คู่กับราศี _________________ กลมุ่ ดาวแมงป่อง (Scorpio) คู่กบั ราศี _________________

154 กลมุ่ ดาวคนยิงธนู (Sagittarius) คกู่ บั ราศี _________________ _________________ กล่มุ ดาวแพะทะเล (Capricornus) คู่กบั ราศี _________________ _________________ กลุ่มดาวคนแบกหมอ้ นา้ (Aqurius) คูก่ ับราศี กลุ่มดาวปลาคู่ (Pisces) คูก่ ับราศี 3. ถา้ ตอ้ งการค้นหาดาวเหนอื โดยสังเกตตาแหน่งของดวงจันทร์ในการค้นหาจะสามารถทาได้ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. ถา้ นักศกึ ษาเดนิ ทางในป่าแลว้ เกดิ หลงทางโดยไมม่ เี ข็มทิศบอกทิศทาง นกั ศกึ ษาจะหา ทิศทางโดยวธิ ใี ด และมวี ิธีหาอย่างไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 5. ให้นกั ศกึ ษาอธิบายการใชป้ ระโยชน์จากกลมุ่ ดาวในการดารงชีวติ ประจาวนั ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

155 บทท่ี 6 อาชีพชา่ งไฟฟ้า เร่อื งที่ 1 ความหมายของอาชีพช่างไฟฟา้ อาชีพช่างไฟฟ้า หมายถึง อาชีพที่เก่ียวข้องกับระบบไฟฟ้า เช่น การติดต้ังสายไฟฟ้า เดินสายสายไฟภายในอาคารบ้านเรือน การแก้ปัญหาข้อขัดข้องของระบบไฟฟ้า การติดต้ัง เคร่ืองใช้ไฟฟา้ และอน่ื ๆ เรอื่ งท่ี 2 ศพั ทค์ วรรู้ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การประกอบอาชีพช่างไฟฟ้า ช่างไฟฟ้าทุกคนจะต้องเข้าใจคาจากัดความทั่วไปของคาศัพท์ท่ีใช้ในทางช่างไฟฟ้า เพื่อให้การสั่งวัสดุอุปกรณ์ และการอ่านรายละเอียดของวัสดุอุปกรณ์ของบริษัทผู้ผลิตไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ กาลังไฟฟ้า (electric power) พลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ไปในเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) หรือจลู ต่อวินาที วตั ต์ (watt) หน่วยวดั กาลังไฟฟ้า (W ) เชน่ หลอดไฟ 1,000 วัตต์ เคร่ืองปง้ิ ขนมปงั 1,000 วตั ต์ กโิ ลวัตต์ (kilowatt) หน่วยกาลังไฟฟ้าทม่ี คี ่าเทา่ กับ 1,000 วัตต์ เราใชต้ ัวย่อว่า KW กิโลวัตต์ – ชั่วโมง (kilowatt – hour) หน่วยวัดการใช้กาลังไฟฟ้าในเวลา 1 ช่ัวโมง (KWH) พลังงานไฟฟ้าตามบ้านจะวัดค่าออกจากเครื่องวัดพลังงาน (หรือท่ีเราเรียกกันว่าหม้อ มิเตอร์) มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ – ชั่วโมง หรือที่เรียกกันว่า ยูนิต (Unit) แล้วคิดราคาไฟฟ้าท่ีเรา ตอ้ งจ่ายเท่ากับ จานวนยูนติ ทเ่ี ราต้องใชค้ ณู ด้วยราคาไฟฟ้าตอ่ หน่ึงยนู ติ ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating current) ระบบไฟฟ้าท่ีทิศทางการวิ่งของ อิเล็กตรอนมีการสลับไปมาตลอดเวลา ใช้สัญลักษณ์ AC และมักนิยมใช้เป็นระบบไฟฟ้า ตามบ้าน อาคาร โรงงานทัว่ ๆ ไป ไฟฟา้ กระแสตรง (direct current) ระบบไฟฟา้ ทอี่ เิ ล็กตรอนมกี ารว่งิ ไปทางเดยี วกัน ตลอดเวลาและต่อเน่ืองกัน มักจะพบว่าใช้กันอยู่ทั่ว ๆ ไป ก็คือ เคร่ืองชาร์จแบตเตอรี่ ถา่ นไฟฉายแบตเตอรี่รถยนต์ เปน็ ตน้ ใชส้ ัญลักษณ์ DC

156 วงจรไฟฟา้ (Circuit) ทางเดินไฟฟ้าท่ตี ่อถงึ กนั และไฟฟา้ ไหลผ่านได้ดี วงจรอนุกรมหรือวงจรอันดับ (series circuit) วงจรไฟฟ้าที่มีทางเดินไฟฟ้าได้เพียง ทางเดียวจากแหล่งจ่ายไฟฟา้ ผ่านวงจรไฟฟ้าไปครบวงจรอีกขวั้ ของแหลง่ จ่ายไฟ วงจรขนาน (Parallel Circuit) วงจรไฟฟ้าที่มีทางเดินไฟฟ้าของกระแสไฟฟ้าผ่านได้ มากกวา่ 1 ทางเดินข้ึนไป และจะมอี ปุ กรณ์ เช่น พวกเต้าเสียบหลอดไฟต่อขนานกัน และขอ้ ดขี อง วงจร ก็คือ ถ้าอุปกรณต์ ัวหนึ่งตัวใดไม่ทางาน ขดั ข้องหรือเสียข้ึนมา อุปกรณ์ในวงจรขนานตัวอ่ืน ๆ ยงั คงทางานได้ วงจรเปิด (Open Circuit) สภาวการณ์ท่ีทางเดินไฟฟ้าเกิดขาดวงจร กระแสไฟฟ้าไหล ไมไ่ ด้ วงจรลัด (Short Circuit) สภาวการณ์ที่เกิดมีการลัดวงจรทางเดินของกระแสไฟฟ้า อันเนอื่ งมาจากรอยตอ่ ของสายตา่ งๆ พาดถงึ กนั มีกระแสไฟฟ้ารว่ั ตอ่ ถึงกนั เป็นตน้ แอมแปร์ (Ampere) หน่วยการวัดค่าอัตราการไหลของไฟฟ้าท่ีผ่านตัวนา ใช้สญั ลกั ษณ์ A หรือ amp แทน เฮิรต์ ซ์ (Hertz) หนว่ ยความถ่มี คี า่ เปน็ รอบตอ่ ใชส้ ญั ลักษณ์ Hz โอห์ม (Ohm) หนว่ ยความตา้ นทานทางไฟฟ้าใชส้ ญั ลักษณ์ Ω กฎของโอห์ม (Ohm’s law) กฎที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันกระแส และ ความต้านทานในวงจรไฟฟ้า กฎน้ีกล่าวว่า ค่ากระแสไฟฟ้า (I) จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับค่า แรงดนั ไฟฟา้ (E) และเป็นสดั สว่ นผกผันกบั คา่ ความตา้ นทาน (R) I=E/R โวลต์ (Volt) หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันท่ีทาให้เกิดมีการ เคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนภายในตัวนาไฟฟ้า เราใช้ตัวย่อแทนแรงดันไฟฟ้าด้วย V, E หรือ EMF แอมมิเตอร์ (Ammeter) เป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้าชนิดหน่ึง ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ ไหลในวงจรท่เี ราตอ้ งการวัด โอห์มมิเตอร์ (Ohm Meter) เป็นเคร่ืองวัดทางไฟฟ้าชนิดหน่ึง ใช้วัดค่าความ ต้านทานไฟฟ้า เวลาใชจ้ ะต้องไม่มกี ารจ่ายไฟจากแหล่งจา่ ยไฟใดในวงจรไฟฟ้าน้ัน

157 โวลต์มิเตอร์ (Volt Meter) เป็นเคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้าชนิดหน่ึง ใช้วัดค่า แรงดนั ไฟฟา้ มัลติมิเตอร์ (Multimeter) เป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าชนิดหน่ึง ท่ีสามารถวัดค่า แรงดันกระแสและความต้านทานได้ในเครือ่ งวดั ตัวเดียวกัน National Electric Code เป็นหนังสือคู่มือรวบรวมข้อแนะนาและกฎข้อบังคับใน การติดต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้าใหม้ คี วามปลอดภัย สวิตซ์อัตโนมัติหรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) เป็นอุปกรณ์ป้องกันท่ีใช้ จากัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดในวงจร เมื่อกระแสเกินค่าจากัดเซอร์กิตเบรกเกอร์จะเปิดวงจรไม่ให้ กระแสไฟฟ้าไหลสวู่ งจรอกี จนกวา่ จะกดปุ่มทางานใหม่ หม้อแปลง (Transformer) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เปล่ียนแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้นหรือต่าลง เพอ่ื ใหต้ รงกบั แรงดันทใี่ ช้กับอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ต่าง ๆ เฟส (Phase) เป็นชนิดของระบบไฟฟ้าท่ีใช้มีทั้งระบบ 1 เฟส 2 สาย และ 3 เฟส 4 สาย อุปกรณ์ไฟฟา้ 1 เฟส 2 สาย จะใช้ตามบ้านทอ่ี ยอู่ าศัย ส่วนระบบไฟฟา้ 3 เฟส 4 สาย นยิ ม ใชก้ ับธุรกจิ ใหญ่กบั โรงงานอุตสาหกรรม SC214001 ศพั ท์ควรรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการประกอบอาชีพ “ช่างไฟฟา้ ”

158 เรื่องที่ 3 การออกแบบเดนิ สายไฟฟ้าในบ้าน หลักการปฏิบัติงานเก่ียวกับการเดินสายไฟฟ้าและต่อสายไฟฟ้าในบ้าน ซ่ึงใน การปฏบิ ัติงานเก่ยี วกับงานเดนิ สายไฟฟา้ ภายในอาคารหรือบา้ นเรือน ควรคานึงถงึ ส่ิงตอ่ ไปน้ี 1. ความปลอดภัย ตอ้ งรู้จักเลอื กใชส้ ายไฟฟา้ ให้ถกู ต้องกับชนดิ ของอปุ กรณ์ไฟฟ้า 2. ความประหยัด ต้องเผื่อระยะขนาดความยาวสายได้ถูกต้อง จัดวางอุปกรณ์ เหมาะสม รจู้ ักเลอื กใช้อุปกรณไ์ ฟฟา้ ท่ีมคี ณุ ภาพ และราคาไมแ่ พง 3. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ต้องเดินสายไฟฟ้าให้เรียบร้อยสวยงาม โดยติดต้ัง อปุ กรณ์และเข้าหัวสายใหเ้ ปน็ ระเบียบ 4. ความเหมาะสม ต้องติดต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับตาแหน่ง และตรงกับ ความต้องการของผใู้ ช้ ท้งั ควรเผ่ือขนาดสายให้โต เพอื่ การใชไ้ ฟฟ้าเพ่ิมเติมในอนาคต เรอื่ งท่ี 4 สญั ญาณอันตรายและข้อควรระวังเกย่ี วกบั การต่อสายไฟฟา้ และการใช้ไฟฟ้า ในบา้ น ในการเดินสายไฟฟ้าภายในบ้าน ถ้าต่อสายไม่แน่นหรือใช้สายไฟฟ้าผิดขนาด อาจจะเกิดการชารุดหรือร่ัวได้ ในกรณีท่ีสายรั่วหรือตอ่ ไม่แนน่ มักจะเกิดไฟช็อตเป็นคร้ังคราว จะทาให้หลอดไฟฟ้าในบ้านกะพริบ และฟิวส์ขาดบ่อย ๆ ถ้าไม่แก้ไขขอ้ บกพร่องอาจเกดิ ไฟไหม้ ได้ 1. ขอ้ ควรระวงั เกี่ยวกับปล๊ักไฟฟ้า การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าหรือการต่อสายไฟใช้ช่ัวคราว ต้องใช้ปลก๊ั ไฟฟ้าทกุ ครง้ั มขี ้อควรระวงั ดังนี้ 1.1 อยา่ ใชก้ ารดึงสายไฟทป่ี ลก๊ั ตัวผู้ เม่อื ต้องการถอดปลัก๊ 1.2 เวลาตอ่ สายในปลกั๊ ตอ้ งตรวจสอบใหด้ ี อยา่ ให้สายไฟสัมผสั กนั เป็นอนั ขาด 1.3 ขนั สกรูให้ตะปคู วงใหแ้ น่น ป้องกนั สายหลดุ 2. ขอ้ ควรระวังในการใช้หลอดไฟฟ้า 2.1 ไม่ควรให้หลอดไฟถูกกระทบกระเทือนบ่อยและไม่ควรเปิดไฟท้ิงไว้ตลอดคืน เพราะอาจทาให้ไส้หลอดขาดได้ 2.2 หลอดไฟฟา้ ทีไ่ สห้ ลอดขาด ควรรบี เปลี่ยนหลอดใหม่

159 2.3 ถ้าหลอดเรืองแสงแตก ไม่ควรเข้าใกล้ เพราะสารและก๊าซที่บรรจุอยู่ในหลอด เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ SC214002 การเลือกใช้ออกแบบติดตัง้ อุปกรณไ์ ฟฟา้ ภายในบ้าน เรือ่ งท่ี 5 อปุ กรณใ์ นการประกอบอาชพี ช่างไฟฟา้ อุปกรณ์ท่ีใช้ในงานไฟฟ้ามีหลายชนิดท่ีช่างไฟฟ้าควรต้องรู้จักและลักษณะการใช้งาน ได้แก่ ค้อนเดินสายไฟ ใช้สาหรับตอกตะปูยึดเข็มขัดรัดสายไฟฟ้า มีลักษณะเหมือนค้อนตี เหล็ก แต่มขี นาดเล็กกวา่ คอ้ นช่างไม้ ใชต้ อกตะปหู รือหรือตอกเหลก็ นา ใช้งดั หรือร้ือแปน้ ไม้ คีมรวม จะใช้ส่วนปากคีมบีบหรือจับงาน มีคมตัดด้านข้าง สามารถตัดสายไฟฟ้าท่ีมี ขนาดใหญไ่ ด้ คีมตัด ใชส้ าหรบั ตัดสายไฟฟ้า มีปากคบี คม บางชนดิ ใชส้ าหรับปอกสายไฟไดด้ ้วย คมี ปากแหลม ใชส้ าหรับงานท่ไี ม่ตอ้ งใชแ้ รงงานมาก และพน้ื ท่ีทางานแคบ ดา้ มคมี จะ หุ้มด้วยฉนวนไฟฟา้ เรียกอยา่ งหนึ่งว่า คมี ปากจิ้งจก หรือคมี ปากยาว มดี ปอกสาย ใชค้ วนั่ หรอื ปอกสายไฟฟ้า อาจใช้คตั เตอร์แทนได้ ไขควงแฉก ใชก้ บั หวั สกรหู รอื ตะปเู กลยี วท่ที าร่องไขว้กนั เป็นสีแ่ ฉก ไขควงแบน ใช้ไขสกรูท่ีเป็นร่องทางยาวเวลาใช้ให้สังเกต ความหนาและความกว้าง ของปลายไขควง ใหพ้ อดีกบั ร่องหัวสกรู

160 สว่านเจาะปูน ใช้เจาะปูน ขนาดจะใหญ่และมีกาลังมาก การใช้เวลาเจาะปูนต้องปรับ ไปตาแหน่งเจาะปูน สว่านจะเจาะโดยใชร้ ะบบกระแทก ดอกสว่านตอ้ งใชด้ อกเจาะปูนเท่าน้ัน สว่านใช้แบตเตอร่ี เป็นสว่านท่ีใช้แบตเตอร่ี เคล่ือนย้ายสะดวก ไม่ต้องเสียบปล๊ัก จะใช้กับหวั ขันสกรูแบบสแ่ี ฉก เพื่อขันยดึ ตะปเู กลยี ว สว่านเจาะไม้ ใช้เจาะไม้แบ่งเป็นตัวสว่านและดอกสว่าน ขนาดจะมีขนาดเล็ก ใชก้ าลังไฟฟา้ ไม่มาก ดอกใช้ชนดิ เจาะไม้ หรอื เหล็ก มัลติมิเตอร์ เป็นเคร่ืองวัดไฟฟ้าอเนกประสงค์ สามารถวัดได้ท้ังแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ความต้านทานท้ังไฟฟ้ากระแสตรงและสลับ ในงานติดตงั้ ไฟฟ้า จะใช้มัลติมิเตอร์ ในการตรวจเชค็ การลัดวงจร สายขาดหรอื หลอดขาด บักเต้า ใช้สาหรับตีเส้น ก่อนตอกตะปูเดินสายไฟฟ้า ลักษณะเป็นกลอ่ งใส่ด้ายสี เวลา ใชด้ ึงเส้นด้ายข้นึ แล้วปลอ่ ย เส้นด้ายจะตกกระทบกบั พนื้ เกิดเปน็ รอยเสน้ เลอ่ื ยตดั เหลก็ ใช้ตดั ทอ่ ท่ีเปน็ โลหะ หรือท่อพลาสตกิ บันไดอลูมิเนียม มีขนาดเบาเคลื่อนย้ายง่าย ใช้ปีนที่สูงสาหรับเดินสายหรือติดตั้ง อุปกรณไ์ ฟฟ้า เหล็กนาศูนย์ ใช้สาหรับตอกทาจุด เพ่ือใช้สว่านเจาะ หรือทาเครื่องหมาย หรือใช้ตอก นาผนงั คอนกรีตก่อนตอกเขม็ ขดั รัดสาย แตถ่ า้ เปน็ ผนังไม้ก็ไมจ่ าเปน็ ต้องตอกนา ไขควงทดสอบไฟ ใช้ตรวจสอบกระแสไฟฟ้า มีลักษณะเหมือนไขควงปากแบน แต่มี การเช่ือมต่อกับหลอดไฟฟ้าด้านใน ปลายไขควงจะแบน ขนาดเล็กใช้ขันขั้วบัลลาสต์ หรือ ลูกเต๋าตอ่ สายไดด้ ว้ ย ตลับเมตร ใช้วดั ระยะ เพอื่ ประมาณสายไฟฟา้ มีหลายขนาด เชน่ 2, 3 หรือ 5 เมตร ฟตุ เหล็ก ใช้ร่วมกับดินสอในการขีดเส้นระยะส้ัน ๆ ในการเดินสายไฟฟา้

161 เร่อื งที่ 6 การนาความร้อู าชีพชา่ งไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ 1. งานไฟฟ้าใช้ในการสร้างเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ให้พลังงานความร้อน พลังงาน แสงสว่าง พลังงานกล ที่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ เช่น เคร่ืองทาน้าอุ่น เคร่ืองปรับอากาศ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ลฟิ ต์ เปน็ ต้น 2. งานไฟฟ้าชว่ ยพฒั นาระบบสื่อสาร คมนาคน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ รถไฟฟ้า เป็นต้น 3. งานไฟฟ้าชว่ ยพัฒนาระบบการผลิตสนิ คา้ ของโรงงานอตุ สาหกรรม 4. ชว่ ยให้สามารถใชเ้ คร่ืองมอื เครื่องใชท้ ่ีเก่ียวข้องกับงานไฟฟา้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 5. เข้าใจคุณสมบัติของวัสดขุ องอปุ กรณท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกบั งานไฟฟ้า 6. สามารถซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้าได้เอง ช่วยทาให้เกิดความประหยัด ทาให้ยืดอายุ การใช้งานของเครื่องมอื เคร่ืองใช้ ความบกพร่องของอุปกรณ์ 7. หากพัฒนาฝีมือและความรู้จนเกิดความชานาญ สามารถเพ่ิมรายได้ให้กับตนเอง ประกอบเป็นอาชีพเสริม หรอื อาชพี หลกั ได้ SC214003 การใช้อุปกรณใ์ นการประกอบอาชีพช่างไฟฟ้า

162 แบบฝึกหัดท่ี 1 ใหผ้ ้เู รยี นเลือกคาตอบทถี่ ูกตอ้ งท่สี ดุ เพียงข้อเดยี ว 1. หนว่ ยความตา้ นทางทางไฟฟ้าคอื ขอ้ ใด ก. โวลต์ ข. โอห์ม ค. เฮิร์ตซ์ ง. แอมแปร์ 2. ข้อใดคือหนว่ ยการวดั อตั ราการไหลของไฟฟ้าทผี่ ่านตัวนา ก. โวลต์ ข. โอห์ม ค. เฮริ ต์ ซ์ ง. แอมแปร์ 3. หากไม่มสี ญั ลกั ษณ์ จะเกดิ อะไรข้นึ ในวงจรไฟฟ้า ก. กระแสไฟฟ้ารว่ั ข. ไมม่ ีอะไรเกดิ ขนึ้ ค. กระแสไฟฟา้ ลดั วงจร ง. กระแสไฟฟ้าไหลอยใู่ นวงจรตลอดเวลา 4. การเดนิ สายไฟฟ้าภายในอาคารควรเลือกใชก้ ารเดินสายไฟฟ้าแบบใดทจี่ ะประหยดั และงา่ ย ต่อการดแู ลรักษามากที่สดุ ก. การเดินสายไฟฟา้ แบบบนผนงั ข. การเดินสายไฟฟา้ แบบทอ่ สอด ค. การเดินสายไฟฟ้าแบบฝงั ในผนงั ง. การเดินสายไฟฟ้าแบบทอ่ ฝงั ในผนงั 5. อุปกรณ์ไฟฟา้ ชนิดใดทาหนา้ ท่ีเพมิ่ ความต่างศักย์ไฟฟ้า ก. ฟวิ ส์ ข. บัลลาสต์ ค. สตารเ์ ตอร์ ง. มเิ ตอร์ไฟฟ้า ----------------------------

163 แบบฝึกหัดที่ 2 คาช้ีแจง จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. บอกคาศัพทท์ ่ีเกย่ี วขอ้ งกับการประกอบอาชพี ชา่ งไฟฟ้ามีอะไรบา้ ง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. บอกหลักการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี กย่ี วกับการเดินสายไฟฟา้ และตอ่ สายไฟฟ้าในบา้ น ควรคานึงถงึ อะไรบ้าง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. บอกข้อควรระวังเก่ียวกบั การต่อสายไฟฟ้าและการใชไ้ ฟฟา้ ในบา้ น มอี ะไรบ้าง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. บอกการนาความรเู้ กย่ี วกับอาชีพชา่ งฟา้ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นด้านใดบา้ ง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

164 เฉลยแบบฝึกหดั บทท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. ค 10. ค แบบฝกึ หดั ที่ 1 1. ก 2. ข 3. ค 4. ง 6. ง 7. ข 8. ก 9. ง แบบฝึกหดั ท่ี 2 ขอ้ ท่ี 1 1. การกาหนดปัญหา คือ การกาหนดหัวเร่ืองท่ีจะศึกษาหรือปฏิบัติการทดลองแก้ไข ปญั หาทไี่ ด้มากจาการสงั เกตหรือข้อสงสัยในปรากฏการณท์ ี่พบเห็น 2. การต้ังสมมติฐาน คือ การกาหนดหรือคาดคะเนคาตอบของปัญหาไว้ลว่ งหน้าอย่าง มีเหตุผล โดยอาศยั ขอ้ มลู จากการสงั เกต การศกึ ษาเอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง 3. การทดลองและรวบรวมข้อมูล คือ การปฏิบัติการทดลองค้นคว้าหาความจริงของ ปญั หาหรือปรากฏการณ์เพอื่ หาคาตอบให้สอดคลอ้ งกบั สมติฐานทต่ี ั้งไว้ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การนาข้อมูลท่ีรวบรวมจากขั้นการทดลองมาวิเคราะห์ หาความสัมพนั ธ์ของข้อเทจ็ จรงิ เพื่อนามาตรวจสอบกับสมมติฐานทตี่ งั้ ไว้ 5. การสรุปผล คือ การสรุปผลการทดลองโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์เพื่อ อธิบายสาเหตุของปัญหาหรือปรากฏการณ์ ขอ้ ท่ี 2 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขน้ั พ้ืนฐาน มี 8 ทักษะ ได้แก่ 1. ทกั ษะการสงั เกต (Observing) 2. ทกั ษะการวดั (Measuring) 3. ทักษะการจาแนกหรอื ทักษะการจัดประเภทสิ่งของ (Classifying) 4. ทกั ษะการใชค้ วามสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกบั เวลา (Using Space / Relationship) 5. ทกั ษะการคานวณและการใช้จานวน (Using Numbers)

165 6. ทักษะการจดั กระทาและส่อื ความหมายขอ้ มูล (Communication) 7. ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) 8. ทกั ษะการพยากรณ์ (Predicting) ข้อท่ี 3 3.1 บีกเกอร์ ใช้สาหรับต้มสารละลายท่ีมีปริมาณมาก การเตรียมสารละลายต่าง ๆ สาหรบั ตกตะกอนและใชร้ ะเหยของเหลวทีม่ ฤี ทธิเ์ ปน็ กรดน้อย 3.2 หลอดทดสอบ ใช้สาหรับทดลองปฏิกิริยาเคมรี ะหว่างสารต่าง ๆ ที่เป็นสารละลาย ใช้ต้มของเหลวที่มีปริมาตรน้อย ๆ และหลอดทดสอบแบบทนไฟจะมีขนาดใหญ่ และหนากว่า หลอดธรรมดา ใชส้ าหรบั เผาสารต่าง ๆ ดว้ ยเปลวไฟโดยตรงในอุณหภูมทิ ส่ี งู 3.3 บิวเรท อุปกรณ์วัดปริมาตรที่มีขีดบอกปริมาตรต่าง ๆ และมีก๊อกสาหรับเปิด-ปิด เพื่อบังคับการไหลของของเหลว เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ มีขนาดตั้งแต่ 10 มิลลิลิตร จนถึง 100 มิลลลิ ติ ร สามารถวัดปรมิ าตรได้อย่างใกล้เคยี งความจริงมากที่สุด 3.4 ไพเพท เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตรได้อย่างใกล้เคียง มีอยู่หลาย ชนิด แต่ โดยทั่วไปที่มีใช้อยู่ในห้องปฏิบัติการมีอยู่ 2 แบบ คือ Volumetric pipette หรือ Transfer pipette และ Measuring pipette Transfer pipette มีหลายขนาดตงั้ แต่ 1 มลิ ลิลิตร ถึง 100 มิลลิลิตร Transfer pipette ใชส้ าหรบั ส่งผา่ นของสารละลายทีม่ ีปริมาตรตามขนาด ขอ้ ท่ี 4 1. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการสารวจ เปน็ การศกึ ษาเชงิ สารวจขอ้ มลู รวบรวม ขอ้ มูลและนาเสนอขอ้ มูลในรูปแบบต่าง ๆ 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง เป็นการศึกษาที่มีการออกแบบ การทดลองเพ่ือหาคาตอบของปญั หา 3. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ หลักการ ทางวิทยาศาสตรเ์ พือ่ ประดิษฐ์เครื่องมอื เคร่อื งใช้หรอื อปุ กรณเ์ พ่ือประโยชน์ใชส้ อย 4. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททฤษฎี เป็นการศึกษาแนวคิดหลักการทฤษฏีใหม่ ๆ อยา่ งมหี ลักการทางวิทยาศาสตร์

166 ข้อท่ี 5 1. ขั้นสารวจและตัดสินใจเลือกเรือ่ ง 2. ขน้ั ศกึ ษาข้อมลู ท่เี กยี่ วขอ้ ง 3. ขน้ั การวางแผนการทาโครงงาน 4. ขั้นการเขยี นเคา้ โครงงาน 5. ข้นั ลงมือปฏบิ ตั ิโครงงาน 6. ขั้นการเขียนรายงานโครงงาน 7. ขนั้ การนาเสนอผลของโครงงาน บทที่ 2 ส่ิงมีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม แบบฝึกหดั ที่ 1 1. ง 2. ง 3. ค 4. ค 5. ค 6. ก 7. ง 8. ก 9. ง 10. ง 11. ข 12. ก 13. ข 14. ก 15. ค 16. ง 17. ง 18. ค 19. ข 20. ค แบบฝกึ หัดท่ี 2 ข้อที่ 1 1. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นโครงสร้างท่ีมีลักษณะยาวรีเป็นแหล่งผลิต สารท่มี ีพลังงานสงู ให้แกเ่ ซลล์ 2. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็นโครงสร้างพบเฉพาะในเซลล์พืชมีสารพวก คลอโรฟลิ ล์ เปน็ สารสาคัญท่ใี ชใ้ นกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 3. ไรโบโซม (Ribosome) เป็นโครงสร้างท่ีมีขนาดเล็กเป็นแหล่งท่ีมีการสังเคราะห์ โปรตนี เพอ่ื สง่ ออกไปใชน้ อกเซลล์

167 ขอ้ ท่ี 2 ความแตกต่างระหวา่ งเซลลพ์ ืช และเซลลส์ ัตว์ เซลลพ์ ชื เซลลส์ ตั ว์ 1. เซลลพ์ ชื มีรปู ร่างเปน็ เหลีย่ ม 1. เซลลส์ ัตว์มีรปู ร่างกลม หรือรี 2. มผี นงั เซลลอ์ ย่ดู า้ นนอก 2. ไม่มผี นงั เซลล์ แต่มีสารเคลอื บเซลลอ์ ยู่ด้านนอก 3. มคี ลอโรพลาสตภ์ ายในเซลล์ 3. ไม่มคี ลอโรพลาสต์ 4. ไม่มเี ซนทรโิ อล 4. มีเซนทริโอลใชใ้ นการแบง่ เซลล์ 5. แวคคิวโอลมขี นาดใหญ่ มองเหน็ ไดช้ ัดเจน 5. แวคคิวโอลมีขนาดเลก็ มองเหน็ ไดไ้ ม่ชัดเจน 6. ไม่มไี ลโซโซม 6. มีไลโซโซม ข้อท่ี 3 1. การแพร่ (Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยงั จุดที่มคี วามเขม้ ข้นต่ากว่า การเคล่ือนท่นี ีเ้ ปน็ ไปในลกั ษณะทุกทศิ ทุกทาง โดยไม่มที ศิ ทางท่ี แนน่ อน รูปแสดงกระบวนการแพร่ของ สาร 2. ออสโมซิส (Osmosis) เป็นการแพร่ของน้าจะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มี ความเข้มข้นของสารละลายต่า (น้ามาก) ไปยังด้านท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายสูงกว่า (นา้ นอ้ ย) ปกตกิ ารแพรข่ องน้าจะเกดิ ทง้ั สองทิศทางคอื ทงั้ บรเิ วณที่มคี วามเข้มขน้ ของสารละลาย ต่าและบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายสูง ดังนั้น ออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้าจาก บริเวณทม่ี ีน้ามากเข้าสูบ่ ริเวณทีม่ ีน้านอ้ ยกวา่ โดยผ่านเย่ือหมุ้ เซลล์

168 รปู แสดงกระบวนการออสโมซสิ ข้อที่ 4 โครงสร้างที่ใช้ในการลาเลียงของพืชประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ท่อลาเลียงน้า และแรธ่ าตุ (Xylem) กบั ทอ่ ลาเลยี งอาหาร (Phloem) 1. ท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (Xylem) เม่ือพืชดูดน้าและแร่ธาตุในดินผ่านทางขน รากแล้ว น้าและแร่ธาตุจะถูกลาเลียงต่อไปยังลาต้นทางท่อลาเลียงน้าหรือไซเลม และส่งต่อไป ยงั ก่ิง ก้านและใบ เพ่ือไปใชใ้ นกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยของพืชตอ่ ไป 2. ท่อลาเลียงอาหาร (Phloem) เมื่อพืชสังเคราะห์ด้วยแสงที่บริเวณใบจะได้ น้าตาล น้า และก๊าซออกซิเจนน้าตาลท่ีจะอยู่ในรูปของแป้งซ่ึงเป็นอาหารของพืช แต่พืชจะมี การลาเลียงอาหารโดยการเปลี่ยนแป้งให้เป็นน้าตาล แล้วส่งผ่านไปตามกลุ่มเซลล์ท่ีทาหน้าท่ี ลาเลียงอาหาร โดยวิธีการแพร่ไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช เพื่อใช้เป็นพลังงานในกระบวนการ ต่าง ๆ หรือเก็บสะสมไว้เป็นแหล่งอาหารซ่ึงอยู่ในรูปของแป้งหรือน้าตาล ที่มีอยู่บริเวณลาต้น ราก หรอื ผล รู ป แ ส ด ง ท่ อ ล า เ ลี ย ง น้ า แ ล ะ อาหาร

169 ขอ้ ท่ี 5 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีความสาคญั ดังต่อไปน้ี 1. เป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เน่ืองจากพืชสี เขียวได้ดูดน้า รับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ไปสร้าง สารอาหารพวกน้าตาลและสารอาหารนี้สามารถเปล่ียนแปลงไปเป็นสารอาหารอ่ืน ๆ ได้ เช่น แป้ง โปรตีน ไขมัน ซ่ึงสิ่งมีชีวิตได้นาไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการต่าง ๆ ของชีวิต จึงถือว่า สารอาหารเหลา่ น้ีเป็นแหล่งพลงั งานท่ีสาคญั ของสิง่ มีชีวิตทุกชนดิ 2. เป็นแหล่งผลิตก๊าซออกซิเจนที่สาคัญของระบบนิเวศ โดยก๊าซออกซิเจนเป็นผลที่ เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ซ่ึงก๊าซออกซิเจนเป็นก๊าซที่ส่ิงมีชีวิตทุกชนิด ตอ้ งนาไปใชใ้ นการสลายอาหาร เพอื่ สรา้ งพลังงานหรือใชใ้ นกระบวนการหายใจนนั่ เอง 3. ช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เพราะพืชต้องใช้ก๊าซน้ีเป็น วัตถุดิบในการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยปกติก๊าซชนิดนี้เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกล่ิน มีอยู่ใน บรรยากาศประมาณ 0.03% เท่านั้น แต่เน่ืองจากในปัจจุบันการเผาไหม้เช้ือเพลิงเพ่ือ การอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์มีมากข้ึน จึงทาให้มีก๊าซชนิดนี้เพ่ิมมากขึ้นด้วย สัดส่วนของ อากาศที่หายใจจึงเสียไป ทาให้ได้รับก๊าซออกซิเจนน้อยลง จึงเกิดอาการอ่อนเพลีย และก๊าซ ชนิดน้ียังทาให้โลกของเรามีอุณหภูมิสูงข้ึนเรื่อย ๆ เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House Effect) ดังนั้นจึงควรช่วยกันปลูกพืช และไม่ตัดไม้ทาลายป่า เพ่ือลดปริมาณก๊าซ คารบ์ อนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ข้อท่ี 6 การปฏิสนธิ (Fertilization) เป็นข้ันตอนท่ีเกิดขึ้นต่อจากการถ่ายละอองเรณู ซึ่งเมื่อ ละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ละอองเรณูจะเร่ิมรับน้าจากยอดเกสรเพศเมียด้วยวิธี การแพร่ (Diffusion) จนมีปริมาณน้ามากพอ (ละอองเรณูจะมีลักษณะพองขึ้น) ก็จะมีการแบ่ง เซลล์เพิม่ ขนึ้ จนเกิดเป็นทอ่ หรือหลอด (Pollen Tube) งอกลงไปในก้านเกสรเพศเมียจนกระทั่ง ถึงรังไข่ นิวเคลียสในละอองเรณูแบ่งเป็น 2 นิวเคลียส คือ ทิวบ์นิวเคลียส (Tube Nucleus) และเจเนอเรทีฟนิวเคลียส (Generative Nucleus) ซึ่งทิวบ์นิวเคลียสจะงอกหลอดลงไปในก้าน เกสรเพศเมียผ่านเข้าทางรูไมโครไพล์ของออวุลแล้วก็จะเสื่อมสลายไป ส่วนเจเนอเรทีฟ นิวเคลียสจะแบ่งตัวให้สเปิร์มนิวเคลียส 2 ตัว ซึ่งจะเจาะเข้าสู่ภายในถุงเอ็มบริโอ (Embryo Sac) สเปิร์มนิวเคลียสตัวที่ 1 จะผสมกับเซลล์ไข่ได้ไซโกตซ่ึงจะเจริญไปเป็นต้นอ่อน สเปิร์ม นิวเคลียสตัวท่ี 2 จะผสมกับโพลาร์นิวเคลียสได้เอนโดสเปิร์มซ่ึงเป็นอาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อน

170 เรียกวิธีการนี้ว่า การปฏิสนธิ (Fertilization) และเป็นการปฏิสนธิ 2 ครั้ง ซ่ึงเรียกว่า การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization) หลังการปฏิสนธิส่วนต่าง ๆ ของดอกจะมี การเปล่ียนแปลงไป ดงั น้ี - ออวุล (Ovule) เจรญิ ไปเปน็ เมล็ด - รังไข่ (Ovary) เจรญิ ไปเป็นผล (Fruit) - ไข่ (Egg) เจรญิ ไปเป็นตน้ ออ่ น (Embryo) อยภู่ ายในเมลด็ - ผนังรงั ไข่ (Ovary Wall) เจรญิ ไปเป็นเปลอื กและผนงั ผล (Pericarp) ข้อที่ 7 ชนดิ ของสัตว์ โครงสรา้ งหรืออวัยวะขบั ถ่าย 1. ฟองนา้ - เยอ่ื หมุ้ เซลล์เปน็ บริเวณที่มีการแพร่ 2. ไฮดรา แมงกระพรุน ของเสียออกจากเซลล์ - ใช้ปาก โดยของเสยี จะแพร่ไปสะสม 3. พวกหนอนตัวแบน เชน่ พลานาเรยี พยาธิใบไม้ ในชอ่ งลาตัวแลว้ ขบั ออกทางปากและ ของเสียบางชนดิ จะแพรท่ างผนงั สาตวั 4. พวกหนอนตวั กลมมีปลอ้ ง เชน่ - ใชเ้ ฟลมเซลล์ (Flame Cell) ซึ่งกระจายอยู่ ไส้เดือนดนิ ท้งั สองขา้ งตลอดความยาวของลาตวั เป็นตัวกรอง ของเสียออกทางทอ่ ซง่ึ มีรูเปิดออกขา้ งลาตัว 5. แมลง - ใชเ้ นฟรเิ ดยี ม (Nephridium) รับของเสีย มาตามทอ่ และเปิดออกมาทางทอ่ ซึ่งมีรู 6. สัตว์มกี ระดูกสนั หลงั เปดิ ออกข้างลาตัว - ใชท้ ่อมลั พิเกยี น (Multiphigian Tubule) ซงึ่ เปน็ ทอ่ เล็ก ๆ จานวนมากอยู่ระหว่าง กระเพาะกับลาไส้ ทาหน้าท่ดี ดู ซมึ ของเสยี จากเลอื ด และสง่ ตอ่ ไปทางเดินอาหาร และขบั ออกมานอกลาตัวทางทวารหนักร่วมกับกากอาหาร - ใช้ไต 2 ขา้ งพรอ้ มดว้ ยทอ่ ไตและกระเพาะ ปัสสาวะเปน็ อวัยวะขบั ถา่ ย

171 ขอ้ ที่ 8 นกเอ้ยี งบนหลงั ควายจดั เปน็ ความสัมพันธ์แบบใดในระบบนิเวศ ควายมกั จะมีแมลงมาคอยเกาะตามลาตัว ซงึ่ แมลงมักจะสรา้ งความราคาญให้กับควาย เม่ือนกเอี้ยงจะมาเกาะหลังควาย นกเอี้ยงจะจับแมลงกินเป็นอาหาร เรียกว่า ภาวการณ์ได้รับ ประโยชน์ นกเอ้ยี งกไ็ ด้รบั อาหาร ควายก็ไม่มแี มลงมาทาความราคาญ ขอ้ ที่ 9 จงยกตัวอย่างสายใยอาหารมา 1 สาย พร้อมอธบิ าย คาตอบตามความเหมาะสม ข้อที่ 10 วัฏจกั รของน้ามีก่ีประเภท อะไรบ้าง 4 ปะเภท คือ 1. การระเหยเป็นไอ (Evaporation) เป็นการเปล่ียนแปลงสถานะของน้าบนพื้นผิวไปสู่ บรรยากาศ ทั้งการระเหยเป็นไอ (Evaporation) โดยตรง และจากการคายน้าของพืช (Transpiration) ซ่งึ เรยี กว่า “Evapotranspiration” 2. หยาดน้าฟ้า (Precipitation) เป็นการตกลงมาของน้าในบรรยากาศสู่พื้น ผิวโลก โดยละอองนา้ ในบรรยากาศจะรวมตัวกนั เป็นกอ้ นเมฆ และในที่สดุ กล่ันตัวเป็นฝนตกลงสู่ผวิ โลก รวมถึง หิมะ และลกู เหบ็ 3. การซึม (Infiltration) จากน้าบนพ้ืน ผิวลงสู่ดินเป็นน้าใต้ดิน อัตราการซึมจะ ข้ึนอยู่กับประเภทของดิน หิน และ ปัจจัยประกอบอ่ืน ๆ น้าใต้ดินนั้นจะเคล่ือนตัวช้า และอาจ ไหลกลับข้ึนบนผิวดิน หรืออาจถูก กักอยู่ภายใต้ช้ันหินเป็นเวลาหลายพันปี โดยปกติแล้วน้าใต้ ดนิ จะกลับเปน็ น้าที่ผิวดนิ บนพนื้ ท่ีที่อยูร่ ะดับต่ากวา่ ยกเว้นในกรณขี องบ่อน้าบาดาล 4. น้าท่า (Runoff) หรือ น้าไหลผ่าน เป็นการไหลของน้าบนผิวดินไปสู่มหาสมุทร น้าไหลลงสู่แม่น้าและไหลไปสู่มหาสมุทร ซึ่งอาจจะถูกกักชั่วคราวตาม บึง หรือ ทะเลสาบ ก่อนไหลลงสมู่ หาสมุทร นา้ บางสว่ นกลบั กลายเปน็ ไอก่อนจะไหลกลับลงสูม่ หาสมทุ ร

172 ข้อท่ี 11 ส่วนประกอบของโลกมอี ะไรบา้ ง 1. ส่วนท่ีเป็นพ้ืนน้า ประกอบด้วย ห้วยหนอง คลองบึง ทะเล มหาสมุทร น้าใต้ดิน นา้ แข็งขั้วโลก 2. ส่วนท่ีเป็นพ้ืนดิน คือส่วนที่มีลักษณะแข็งห่อหุ้มโลก โดยท่ีเปลือกที่อยู่ใต้ทะเลมี ความหนา 5 กิโลเมตร และส่วนเปลือกที่มีความหนาคือ ส่วนท่ีเป็นภูเขาหนาประมาณ 70 กิโลเมตร 3. ชั้นบรรยากาศ เป็นช้ันท่ีสาคัญ เพราะทาให้เกิดปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ทางธรรมชาติ เชน่ วฏั จกั รนา้ ออิ อน ทจ่ี าเปน็ ต่อการติดตอ่ สือ่ สาร เป็นต้น 4. ชัน้ สงิ่ มีชีวิต ข้อที่ 12 กระแสน้าอนุ่ กระแสนา้ เยน็ กับอณุ หภูมขิ องโลกมีความสัมพันธก์ ันอยา่ งไร 1. กระแสนา้ อุ่น เปน็ กระแสน้าท่มี าจากเขตละตจิ ดู ต่า (บริเวณที่อยู่ใกล้เส้นศนู ย์สูตร ต้ังแต่ เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ถงึ ทรอปกิ ออฟแคบริคอร์น) เคล่ือนท่ีไปทางข้ัวโลก มีอุณหภมู ิ สูงกวา่ นา้ ทอ่ี ยโู่ ดยรอบไหลผา่ นบริเวณใดก็จะทาใหอ้ ากาศบรเิ วณนัน้ มีความอบอ่นุ ชมุ่ ชืน้ ขึน้ 2. กระแสน้าเย็น ไหลผ่านบริเวณใดก็จะทาให้อากาศแถบนั้นมีความหนาวเย็น แห้ง แล้ง เป็นกระแสน้าท่ีไหลมาจากเขตละติจูดสูง (บริเวณต้ังแต่ เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลถึงข้ัวโลก เหนือ และบริเวณเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิลถึงข้ัวโลกใต้) เข้ามายังเขตอบอุ่น และเขตร้อนจึง ทาใหก้ ระแสนา้ เยน็ ลงหรอื อณุ หภมู ติ ่ากวา่ นา้ ท่อี ยโู่ ดยรอบ ขอ้ ที่ 13 ลมคืออะไร ลม (Wind) คอื มวลของอากาศที่เคลื่อนทไ่ี ปตามแนวราบ กระแสอากาศทเี่ คล่ือนที่ใน แนวนอน ส่วนกระแสอากาศ คือ อากาศท่ีเคล่ือนท่ีในแนวต้ัง การเรียกช่ือลมนั้นเรียกตาม ทิศทางทลี่ มน้ัน ๆ พัดมา เช่น ลมท่ีพดั มาจากทศิ เหนอื เรียกว่า ลมเหนอื และลมทพี่ ัดมาจากทิศ ใต้เรียกว่า ลมใต้ เป็นต้น ในละติจูดต่าไม่สามารถจะคานวณหาความเร็วลม แต่ในละติจูดสูง สามารถคานวณหาความเรว็ ลมได้

173 ข้อที่ 14 มาตรการในการเตรียมตวั รับภยั พายุมีอะไรบ้าง - ตดิ ตามขา่ วสารจากสอ่ื สารมวลชนตา่ ง ๆ - ในกรณีชาวประมง ไม่ควรนาเรือเล็กออกจากฝั่ง หรือถ้าอยู่ในท้องทะเลแล้ว ก็ควร รบี นาเรือกลับเขา้ ฝั่ง และจอดในทกี่ าบังท่ปี ลอดภยั ทส่ี ุด - สาหรับประชาชนที่ต้ังบ้านเรือนอยู่ริมชายฝั่งทะเล หรืออยู่ในเส้นทางท่ีคลื่นและ พายจุ ะเข้าถงึ ควรอพยพขน้ึ สู่ทส่ี ูง หรือบริเวณหา่ งไกลชายฝ่งั - ประชาชนที่ตั้งบา้ นเรือนอยู่ตามบรเิ วณลาดเขา จะตอ้ งอพยพหนภี ัยใหท้ นั ท่วงที - เม่ือได้รับการเตือนภัยจากการเข้ามาของพายุ ควรเตรียมส่ิงของจาเป็น เพื่อให้ สามารถดารงชีพอยู่ได้ ในเวลาฉกุ เฉิน - ในกรณีท่ีเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ควรระมัดระวังการถูกฟ้าผ่า โดยไม่อยู่กลางแจ้ง หรอื ไมห่ ลบอยใู่ ต้ต้นไม้ใหญ่ - หากกาลงั ขบั รถอยู่ เมอื่ เกดิ พายุฝนฟา้ คะนอง ใหข้ บั ด้วยความระมดั ระวัง หรือหลบ เข้าจอดในทท่ี ี่ปลอดภยั - หน่วยงานทางราชการท่ีเก่ียวข้อง ควรจัดให้มีการแถลงข่าว เมื่อทราบว่า อาจเกิดมี พายขุ ้ึน ณ ท่ใี ด - ทางราชการควรมีการวางแผนในระยะยาว เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั จากพายุ ขอ้ ท่ี 15 วธิ กี ารอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมมอี ะไรบา้ ง - การใชอ้ ยา่ งประหยดั - การนากลับมาใช้ซา้ อีก - การบูรณะซอ่ มแซม - การบาบดั และการฟน้ื ฟู - การใช้สิง่ อื่นทดแทน - การเฝา้ ระวังดูแลและปอ้ งกัน - การพฒั นาคณุ ภาพประชาชน - การใชม้ าตรการทางสังคมและกฎหมาย - สง่ เสริมใหป้ ระชาชนในทอ้ งถนิ่ ได้มีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์ - ส่งเสรมิ การศกึ ษาวิจัย ค้นหาวิธกี ารและพฒั นาเทคโนโลยี - การกาหนดนโยบายและวางแนวทางของรัฐบาล

174 บทท่ี 3 สารเพอ่ื ชีวิต แบบฝกึ หัดท่ี 1 1. ก 2. ข 3. ค 4. ง 5. ค 6. ข 7. ง 8. ค 9. ก 10. ง 11. ง 12. ก 13. ก 14. ค 15. ง 16. ง 17. ก 18. ค 19. ข 20. ก แบบฝึกหัดที่ 2 ตาราง 1 ตารางการจาแนกสาร (2) (3) (4) (5) (6) (7) (1) เนือ้ เดยี ว สถานะ จานวน เปน็ สาร ถ้าเป็นสาร ระบวุ า่ เปน็ สาร หรือเนื้อ องค์ บริสทุ ธ์ บริสุทธ์ ธาตุหรอื ณ ประกอบ หรอื ประกอบ สารประกอบ ผสม อุณหภมู ิ (มสี ารก่ี สารละลาย ชนิด) ด้วย สารประกอบ 1. เกลือแกง เน้อื เดียว ห้อง กลมุ่ ธาตุ 1 - 2. นา้ ปลา เนือ้ เดียว ของแขง็ สารบริสุทธ์ิ NaCl - 3. น้าจิม้ สุก้ี เนอ้ื ผสม 2 - 4. ยาหม่อง เนอื้ เดยี ว ของเหลว 8 ธาตุ Na ของเหลว 6 - น้า ของเหลว ธาตุ Cl 5. สบกู่ อ้ น เนอื้ เดยี ว 4 ของแข็ง สารละลาย - สารละลาย - สารละลาย - สารละลาย -

175 ตาราง 2 การระบุชนิดของตัวทาละลาย ตวั ถูกละลายและสมบตั บิ างประการของสารละลาย สารละลาย สถานะ ระบุ สถานะของ องค์ องค์ ระบุชนดิ ความเปน็ องคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบ ประกอบ ประกอบ ตวั กรด – เบส ทม่ี สี ถานะ ทมี่ ีมาก เหมอื น เหมือน ทาลาย หรอื ต่างกนั สารละลาย ทสี่ ุด 1. นา้ ปลา ของเหลว - ปลาไส้ตนั เหมือนกัน - ปลา ปลา กลาง - เกลอื เม็ด ไสต้ ัน ไสต้ ัน 2. นา้ จ้ิม ของเหลว - นา้ ตา่ งกนั - น้า น้า น้า กรด สกุ ี้ - น้าตาล - ซอสถ่วั ทราย เหลอื ง - กระเทยี ม - สารให้ - พรกิ ช้ีฟา้ ความ - ซอสถวั่ เหนียว เหลอื ง - เกลือ - สารให้ ความ เหนียว - แปง้ ขา้ วโพด

176 สารละลาย สถานะ ระบุ สถานะของ องค์ องค์ ระบุชนดิ ความเปน็ องคป์ ระกอบ องค์ประกอบ ประกอบ ประกอบ ตวั กรด – เบส ท่มี สี ถานะ ทม่ี มี าก เหมือน เหมือน ทาลาย หรือตา่ งกนั สารละลาย ทีส่ ุด 3. ยา ของเหลว - นา้ มัน ต่างกนั - นา้ มัน - น้ามัน - นา้ มัน กลาง หมอ่ ง คารเ์ นชน่ั ระกา คาร์ คาร์ น้า - น้ามัน - น้ามัน เนช่นั เนชั่น ระกา เปป - นา้ มนั เปอร์ เปปเปอร์ มิน้ ต์ มิ้นต์ - น้ามัน - เมนทอล กานพลู - พิมเสน - นา้ มนั - การบูร อบเชย - น้ามัน กานพลู - น้ามัน อบเชย สรปุ ผลการจดั กิจกรรม 1. ใหผ้ เู้ รยี นสรปุ เกณฑใ์ นการจาแนกสารตามตาราง 1 สามารถจาแนกสารโดยใช้ 1. ใช้สถานะเป็นเกณฑ์ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 กลุม่ คือ ของแข็ง ของเหลว และกา๊ ซ 2. ใช้เน้ือสารเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ สารเน้ือเดียวและสารเน้ือผสม และสารเน้อื เดยี วยังแบ่งออกเป็นอกี 2 กล่มุ คือ ธาตุ และสารประกอบ และสามารถบอกได้ว่า สารเนอื้ เดียวที่พบเปน็ สารบรสิ ทุ ธ์ิซงึ่ เกดิ จากธาตชุ นดิ ใดด้วย

177 2. ให้ผ้เู รยี นสรปุ เกณฑ์ในการระบุชนดิ ของตัวทาละลายในสารละลาย เกณฑ์ในการระบชุ นิดของตวั ทาละลายในสารละลาย คือ 1. องค์ประกอบของสารละลาย มีสถานะต่างกัน สารที่มีสถานะเหมือนสารละลาย เปน็ ตวั ทาละลาย สารทเ่ี หลอื เปน็ ตวั ถูกละลาย 2. องค์ประกอบมีสถานะเหมือนกัน ถือว่าองค์ประกอบที่มีมากกว่าเป็นตวั ทาละลาย และท่เี หลือเป็นตวั ถกู ละลาย แบบฝึกหัดที่ 3 ตอนท่ี 1 การเตรยี มสารละลายบางชนดิ ตารางบันทึกผล สาร ผลการเปล่ียนสีของ ผลการเปลีย่ นสีของ กระดาษลติ มสั สแี ดง กระดาษลติ มสั สีนา้ เงิน 1. นา้ มะนาว - เปลี่ยนเป็นสแี ดง - 2. น้าข้ีเถ้า เปลย่ี นเปน็ สีนา้ เงิน เปลย่ี นเปน็ สีแดง 3. ใส่น้าส้มสายชกู ลน่ั ลงไป - เปลยี่ นเป็นสีแดง 0.5 cm3 และน้าเปล่า 4.5 cm3 เปลี่ยนเปน็ สแี ดง 4. ใส่น้าส้มสายชกู ลน่ั ลงไป 1 cm3 - และนา้ เปลา่ 4 cm3 5. ใสน่ ้าสม้ สายชกู ลน่ั ลงไป 2 cm3 - และนา้ เปลา่ 3 cm3 1. สารชนดิ ใดบา้ งที่เปลี่ยนสกี ระดาษลิตมัสจากสีนา้ เงินเป็นสแี ดง 1. นา้ มะนาว 2. ใส่นา้ สม้ สายชูกลัน่ ลงไป 0.5 cm3 และนา้ เปลา่ 4.5 cm3 3. ใส่น้าส้มสายชกู ล่ันลงไป 1 cm3 และนา้ เปล่า 4 cm3 4. ใส่นา้ สม้ สายชกู ลน่ั ลงไป 2 cm3 และน้าเปล่า 3 cm3 2. สารชนดิ ใดบา้ งทีเ่ ปลย่ี นสีกระดาษลิตมสั จากสีแดงเป็นสนี ้าเงนิ น้าขี้เถ้า

178 สรปุ ผลการทดลอง สารละลายทนี่ ามาทดลองแบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลุ่ม คือ กลุม่ แรกที่เปล่ียนสีกระดาษลิตมัสจากสนี า้ เงนิ เป็นสแี ดง จดั เปน็ กรด กลมุ่ ทส่ี องเปลย่ี นสกี ระดาษลติ มสั จากสีแดงเป็นสีนา้ เงิน จดั เปน็ เบส ตอนท่ี 2 ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งกรดกับเบส บนั ทกึ ผลการทดลอง 1. การเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ข้ึน เมอ่ื เติมผงยาลดกรดลงในนา้ ส้มสายชู เกดิ ฟองอากาศ ซงึ่ เปน็ ก๊าซคารบ์ อกไดออกไซด์ขึ้น 2. ปรมิ าณผงยาลดกรดท่ีใช้ไปโดยเรียงลาดับจากน้อยไปมาก เรียงลาดบั จากนอ้ ยไปมาก คือ ใบท่ี 1, ใบที่ 2 และใบที่ 3 3. ผลการเปล่ียนสีกระดาษลิตมัส หลังจากใสผ่ งยาลดกรดจนหยดุ การเปลีย่ นแปลง กระดาษลติ มสั ไม่เปล่ยี นสีทั้งสองสี คาถามท้ายการทดลอง 1. สารละลายของน้าส้มสายชูทั้งสามขวด ขวดใดมีความเข้มข้นมากกว่ากัน จงเรียงลาดับ ความเขม้ ข้นจากน้อยไปหามาก เรียงลาดบั จากนอ้ ยไปมาก คอื ใบที่ 1, ใบท่ี 2 และใบที่ 3 2. ผู้เรยี นจะสรุปผลการทดลองได้อยา่ งไร การเติมสารที่เป็นเบส ลงในสารท่ีเป็นกรด จนการเปล่ียนแปลงหยุด ได้ผลทดสอบ กระดาษลติ มัสไมเ่ ปล่ียนสีท้ังสองสี แสดงว่าไดส้ ารท่มี คี ่าเป็นกลาง

179 บทท่ี 4 แรงและการเคล่ือนท่ขี องแรง แบบฝึกหัดท่ี 1 1. ง 2. ค 3. ง 4. ข 5. ข 6. ข 7. ค 8. ค 9. ง 10. ก แบบฝึกหดั ที่ 2 1. ทดลองผลกั กลอ่ งบนพืน้ ผวิ 4 ประเภท ดว้ ยแรงผลักคงท่ใี นระยะเวลาเทา่ กัน ได้ผล ดงั ตาราง ประเภทของพืน้ ผิว ระยะทางทีก่ ลอ่ งเคล่อื นทไี่ ด้ (เมตร) พื้นหญา้ 2.2 พ้ืนคอนกรีต 3.5 พนื้ กระเบ้อื ง 5.7 พ้นื ยางกนั ล่ืน 1.2 จากข้อมูลในตาราง พ้ืนผิวประเภทใดที่ก่อให้เกิดแรงเสียดทานมากที่สุด ให้เรียงลาดับจาก พน้ื ผิวทมี่ ีแรงเสยี ดทานมากไปหาพ้นื ผวิ ที่มีแรงเสยี ดทานนอ้ ย พ้ืนผิวประเภทยางกันเลื่อนก่อใหเ้ กิดแรงเสียดทานมากท่ีสุด เม่ือเรียงลาดับจากพื้นผวิ ทมี่ ีแรงเสยี ดทานมากไปหาพนื้ ท่มี ีแรงเสยี ดทานน้อยได้ ดงั น้ี 1. พื้นยางกนั ล่นื 2. พน้ื หญ้า 3. พืน้ คอนกรีต 4. พื้นกระเบอื้ ง

180 2. ให้นกั ศึกษายกตวั อยา่ งอปุ กรณ์ เครื่องมอื เครือ่ งใช้ภายในบ้านทใี่ ชห้ ลักการของคานมา 10 ชนดิ แตล่ ะชนดิ เปน็ คานประเภทใดและเคร่ืองมือนั้นใช้ประโยชนอ์ ะไร ตวั อยา่ ง ประเภทของคาน ประโยชน์ กรรไกร คานอนั ดบั 1 ตดั กระดาษ,ตัดผม กรรไกรตัดหญา้ คานอันดบั 1 ตัดหญ้า กรรไกรตดั เลบ็ คานอันดับ 1 ตัดเล็บ คอ้ นถอนตะปู คานอันดบั 1 ใชถ้ อนตะปู, งดั ตะปู เสียมขดุ ดิน คานอันดับ 1 ใช้ขดุ ดิน รถขนดิน คานอันดับ 2 ใช้ขนดนิ ทเี่ ปิดขวด คานอนั ดับ 2 ใช้เปิดขวดตา่ ง ๆ เคร่ืองตดั กระดาษ คานอนั ดับ 2 ใชต้ ัดกระดาษ คีม คานอันดบั 3 ใชค้ บี ส่ิงของ แหนบ คานอนั ดับ 3 ไว้ถอนขน 3. แรงธรรมชาติมีก่ชี นิด อะไรบ้าง นกั ศึกษาสามารถนาแรงธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ ไดอ้ ย่างไร แรงในธรรมชาติ มี 4 ประเภท ประเภทของแรง ประโยชน์ 1. แรงโน้มถ่วงของโลก ทาให้เราไมห่ ลดุ ออกไปนอกโลก 2. แรงแมเ่ หล็ก สามารถใช้ดูดสิง่ ของท่เี ป็นเหลก็ 3. แรงไฟฟา้ ใช้ในเรื่องของพลงั งานไฟฟ้า 4. แรงนวิ เคลียร์ ชว่ ยทาใหเ้ กิดประจุของอะตอม

181 4. คานอันหน่ึงเบามากมนี า้ หนัก 300 นวิ ตัน แขวนท่ปี ลายคานขา้ งหน่ึงและอย่หู า่ งจุดหมนุ 1 เมตรจงหาวา่ จะตอ้ งแขวนน้าหนกั 150 นิวตัน ทางด้านตรงกันขา้ มทีใ่ ดคานจึงจะ สมดุล ผลรวมของโมเมนตท์ วนเข็มนาฬกิ า = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 330 x 1 = 150 x Y 330 = 150y Y = 2.2 ตอ้ งแขวนน้าหนักห่างจากคาน 2.2 เมตร 5. เราสามารถนาเร่ืองของโมเมนตม์ าใช้ในชีวิตประจาวันได้อยา่ งไร จากหลักการของโมเมนต์จะพบว่า เม่ือมีแรงขนาดต่างกันมากระทาต่อวัตถุคนละด้าน กับจุดหมุนที่ระยะห่างจากจุดหมุนต่างกัน วัตถุน้ันก็สามารถอยู่ในภาวะสมดุลได้ หลักการของ โมเมนตจ์ งึ ช่วยให้เราออกแรงน้อย ๆ แต่สามารถยกนา้ หนกั มาก ๆ ได้ ปืน ใช้ความรู้เก่ียวกับโมเมนตัม การระเบิด มาใช้โมเมนตัมก่อนระเบิดจะมีค่าเท่ากบั โมเมนตัมหลังระเบิด แต่พลังงานจลน์ไม่คงที่ ภายหลังการระเบิดแล้ววัตถุจะแยกออกจากกัน อยา่ งอิสระ โดยนอกจากปืนแลว้ กย็ ังเอาความร้เู ร่ืองการระเบดิ มาประยุกตใ์ ช้กับสงิ่ ของอย่างอื่น ได้อีกมากมาย เช่น ธนู ปืนตอกตะปู ใช้ในการตอกตะปูเพือ่ แขวนรปู ตดิ ผนัง แขวนโมบาย โดยใชแ้ รงโมเมนตมั กบั ตะปู ลอ้ รถ ใช้ในเรอ่ื งการเคลือ่ นท่ีเแบบหมุน โมเมนตมั เชิงมมุ ซึ่งทาใหเ้ กิดประโยชน์ในการ ใชช้ ีวิตประจาวนั ใช้เปน็ เครอื่ งทุน่ แรง สปริง ใช้ความรู้ในเรื่องการระเบิดท่ี โมเมนตัมก่อนระเบิดจะมคี ่าเท่ากบั โมเมนตัมหลงั ระเบิด แต่พลังงานจลน์ไม่คงท่ี ภายหลังการระเบิดแล้ววัตถุจะแยกออกจากกันอย่างอิสระ นาสปริงมาประยุกตท์ าส่งิ ของตา่ ง ๆ ได้อีกมากมาย เช่น ปนื อดั ลม กลอ่ งของเลน่ ใชแ้ กลง้

182 6. ให้นกั ศึกษาคานวณค่าของไฟฟ้าในตารางทก่ี าหนดให้มคี วามสัมพนั ธก์ ัน ความตา่ งศกั ย์ = กระแสไฟฟ้า(I) x ความตา้ นทาน(R) (V) 1.5 V = __0.5___ A x 3Ω 3A x 4Ω ___ 12 V = 4A x ___30__ Ω 120 V = x 12 Ω 240 V = __20___ A 7. ให้นักศกึ ษาคานวณเปอรเ์ ซน็ ตข์ องการใช้แหลง่ ผลิตพลังงานไฟฟ้าแลว้ นาขอ้ มูล ไปทาเปน็ กราฟวงกลม แหลง่ ผลิตพลงั งานไฟฟา้ น้ามนั 150 ลา้ นบาท ............1................ % ถ่านหนิ 2,700 ล้านบาท .........18................. % ซอ้ื ไฟฟ้าจากตา่ งประเทศ 900 ลา้ นบาท ...........6................. % กา๊ ซธรรมชาติ 9,900 ลา้ นบาท .........66................. % พลังงานหมุนเวียน (ชวี มวล ลม แสงอาทิตย)์ 900 ล้านบาท ...........6................. % น้า 450 ลา้ นบาท ...........3................. % แหล่งผลติ พลงั งานไฟฟ้า 1 18 63 6 66 นำ้ มนั ถำ่ นหนิ ซอื ้ ไฟฟำ้ แก๊สธรรมชำติ พลงั งำนหมนุ เวยี น นำ้ มนั

183 8. วงจรไฟฟ้ามกี ปี่ ระเภท แต่ละประเภทมคี วามแตกต่างกันอย่างไร วงจรไฟฟา้ มี 3 ประเภท 1. การตอ่ แบบอนุกรม 2. การตอ่ แบบขนาน 3. การตอ่ แบบผสม การต่อวงจรอนุกรมจะใช้หลอดไฟฟ้าหรือความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ามาต่อกัน เข้าแบบอนุกรมแล้วต่อเข้ากับข้ัวแหล่งกาเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือแบตเตอรี่ เพ่ือให้เกิดการไหล ของกระแสในทิศทางเดยี ว รูปแบบการต่อวงจรขนาน ทาให้เกิดการไหลของกระแสไฟฟา้ หลาย ทาง ผลรวมของกระแสที่จ่ายออกไปจะเท่ากับผลรวมของกระแสที่ไหลในแต่ละส่วนของวงจร รวมกัน และแรงดันท่ีตกคร่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกตัวจะเท่ากัน แม้ว่าอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เหล่านั้นจะมีขนาดไม่เท่ากันก็ตาม คุณสมบัติที่สาคัญของวงจรผสม เป็นการนาเอาคุณสมบัติ ของวงจรอนุกรม และคุณสมบัติของวงจรขนานมารวมกัน ซ่ึงหมายความว่าถ้าตาแหน่งท่ีมีการ ต่อแบบอนกุ รม ก็เอาคุณสมบัติ ของวงจรการต่ออนุกรมมาพิจารณา ตาแหนง่ ใดท่ีมีการตอ่ แบบ ขนาน กเ็ อาคุณสมบตั ขิ องวงจรการต่อขนานมาพิจารณาไปทีละข้ันตอน 9. วงจรไฟฟ้าท่ีเดินสายไฟสาหรบั ตดิ ตั้งหลอดไฟ ปลัก๊ และสวทิ ซ์ไฟภายในบ้าน เปน็ การ ตอ่ วงจรประเภทใด ให้วาดรปู ของวงจรประกอบ สว่ นใหญเ่ ป็นการต่อวงจรแบบขนาน

184 10. สมบัตขิ องแสงมีกี่ประเภท อะไรบ้าง สมบัติของแสง มี 6 ประเภท 1. การสะท้อนของแสง (Reflection) เป็นปรากฏการณ์ท่ีแสงมีการเปล่ียนทิศ ทางการเคลื่อนที่บริเวณรอยตอ่ ของตวั กลาง 2 ชนิด โดยแสงจะเคล่ือนที่ย้อนกลับไปในตัวกลาง เดิม 2. การหักเหของแสง (Refraction) เป็นปรากฏการณ์ที่แสงเคล่ือนท่ีจากตัวกลาง หน่ึงไปยังอีกตัวกลางหน่ึงโดยมีทิศทางการเคลื่อนท่ีแตกต่างจากทิศทางการเคล่ือนท่ีเดิมโดย การหกั เหของแสงจะเกดิ ข้นึ ทบ่ี ริเวณรอยตอ่ ระหว่างตัวกลางทั้ง 2 ชนดิ 3. การกระจายแสง หมายถึง แสงขาวซึ่งประกอบด้วยแสงหลายความถ่ีตกกระทบ ปริซึมแล้วทาให้เกิดการหักเหของแสง 2 ครั้ง (ท่ีผิวรอยต่อของปริซึม ท้ังขาเข้า และขาออก) ทาให้แสงสีต่าง ๆ แยกออกจากกันอย่างเป็นระเบียบเรียงตามความยาวคล่ืนและความถี่ท่ีเรา เรียกวา่ สเปกตรัม (Spectrum) รุง้ กนิ นา้ เป็นการกระจายของแสงเกดิ จากแสงขาวหักเหผ่านผิว ของละอองน้า ทาให้แสงสีต่าง ๆ กระจายออกจากกันแล้วเกิดการสะท้อนกลับหมดที่ผิว ด้านหลังของละอองน้าแล้วหักเหออกสู่อากาศ ทาให้แสงขาวกระจายออกเป็นแสงสีต่าง ๆ กนั แสงจะกระจายตัวออกเม่อื กระทบถูกผวิ ของตัวกลางเราใช้ประโยชน์จากการกระจายตัวของ ลาแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ เช่น ใช้แผ่นพลาสติกใสปิดดวงโคม เพื่อลดความจ้าจากหลอดไฟ หรือโคมไฟชนดิ ปดิ แบบต่าง ๆ 4. การทะลุผ่าน (Transmission) หมายถึง การท่ีแสงพุ่งชนตัวกลางแล้วทะลุผ่าน มันออกไปอีกด้านหน่ึงโดยท่ีความถ่ีไม่เปล่ียนแปลงวัตถุท่ีมีคุณสมบัติการทะลุผ่านได้ เช่น กระจกผลกึ คริสตลั พลาสติกใส น้าและของเหลวตา่ ง ๆ 5. การดูดกลืน (Absorbtion) หมายถึง การท่ีแสงถูกดูดกลืนหายเข้าไปในตัวกลาง เช่น เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ เคร่ืองต้มน้าพลังงานแสง และยังนาคุณสมบัติของการดูดกลืน แสงมาใชใ้ นชวี ิตประจาวัน เชน่ การเลือกสวมใส่เส้ือผ้าสขี าวจะดดู แสงนอ้ ยกว่าสีดาจะเห็นได้ว่า เวลาใส่เสอื้ ผา้ สดี า อยู่กลางแดดจะทาใหร้ ้อนมากกว่าสขี าว 6. การแทรกสอด (Interference) หมายถึง การที่แนวแสงจานวน 2 เส้นรวมตัวกัน ในทศิ ทางเดยี วกัน หรือหักล้างกนั หากเป็นการรวมกนั ของแสงทมี่ ีทิศทางเดยี วกันจะทาให้แสงมี ความสว่างมากขน้ึ แต่ในทางตรงกันขา้ มถา้ หกั ลา้ งกันแสงกจ็ ะสว่างนอ้ ยลง การใชป้ ระโยชน์จาก

185 การสอดแทรกของแสง เช่น กล้องถ่ายรูป เครื่องฉายภาพต่าง ๆ และการลดแสงจากการ สะท้อนสว่ นในงานการสอ่ งสวา่ ง จะใช้ในการสะทอ้ นจากแผน่ สะท้อนแสง 11. พลงั งานทดแทนหมายถงึ อะไร จงยกตวั อยา่ งการนาพลงั งานทดแทนไปใช้ พลังงานทดแทน คือ พลังงานท่ีใช้แทนน้ามันเช้ือเพลิงซึ่งเป็นพลังงานหลักที่ใช้กันอยู่ ท่วั ไป การนาพลงั งานแสงอาทิตย์ มาใชใ้ นการผลติ ไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ชนิด หนึ่งท่ีเรียกว่า เซลล์แสงอาทิตย์นามาใช้ผลิตไฟฟ้าพลังงานจากดวงอาทิตย์จัดเป็นพลังงาน หมนุ เวยี นทีส่ าคัญที่สุด การนาพลังงานลม มาใช้ในการผลิตไฟฟ้า สูบน้าโดยผ่านส่ิงประดิษฐ์ เช่น กังหันลม เปน็ ตน้ การนาพลังงานความร้อนใตพ้ ิภพ มาใช้ เช่น การทาความร้อนให้บ้าน ทาให้เรือนกระจก อุ่นขน้ึ การละลายหิมะบนถนน การผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นตน้ การนาพลังงานชีวมวล เช่น แกลบ ข้ีเลื่อย ชานอ้อย กากมะพร้าว ไม้ฟืน กากอ้อย เศษไม้ เศษหญ้า เศษเหลือทิ้งจากการเกษตร เป็นต้น มาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต กระแสไฟฟา้ การนาพลังงานนา้ มาใชห้ มุนกังหันน้าเพือ่ ผลติ กระแสไฟฟ้า การนาพลังงานจากขยะ เช่น กระดาษ เศษอาหาร และไม้จากชุมชน ซึ่งสามารถใช้ เป็นเชอ้ื เพลงิ ในโรงไฟฟา้ ที่ถูกออกแบบให้ใชข้ ยะเปน็ เชื้อเพลงิ ได้ การนาพลังงานนิวเคลียร์ซงึ่ เป็นพลังงานทไ่ี ด้มาจากปฏกิ ิริยานิวเคลยี ร์เกดิ จากการแตก ตัวของ นิวเคลียสของธาตุเช้ือเพลิง เช่น ยูเรเนียมและให้พลังงานความร้อนมหาศาล จึงใช้ใน การผลติ ไฟฟา้

186 บทที่ 5 ดาราศาสตรเ์ พอ่ื ชีวติ แบบฝึกหดั ที่ 1 1. ค 2. ง 3. ก 4. ง 5. ค แบบฝึกหดั ท่ี 2 1. ใหน้ กั ศึกษาสืบค้นขอ้ มูลของกลุ่มดาวฤกษ์ 5 กลุ่ม แลว้ ระบชุ ่อื กลุม่ ดาว (วาดภาพกลมุ่ ดาว) ชอ่ื กลุ่มดาว กลมุ่ ดาวคนยิงธนู Sagittarius มลี กั ษณะ ดังน้ี เป็นกลมุ่ ดาวในราศีธนูดวงอาทิตย์จะ เคล่อื นมาในกลุ่ม ดาวนี้ชว่ งวันท่ี 19 ธันวาคม ถึง 21 มกราคม กลุ่มดาว คนยงิ ธนูเป็นกลมุ่ ดาวทอ่ี ยู่ใจ กลางทางชา้ งเผือก (วาดภาพกลมุ่ ดาว) ชือ่ กล่มุ ดาว กลมุ่ ดาวแมงปอ่ ง Scorpio (พจิ ารณาตามดลุ พนิ จิ ของครผู ้สู อน) มลี ักษณะ ดังนี้ เปน็ กลมุ่ ดาวในราศพี ิจกิ เป็นกล่มุ ดาวทาง ซกี ฟา้ ด้านใต้ ซึ่งดวงอาทิตย์จะโคจรผ่าน ระหว่างวนั ที่ 23 ถงึ 30 พฤศจิกายน ดาวฤกษท์ ี่ เหน็ ได้ชัดเจนท่ีสุดเป็นดาวฤกษ์สีแดง ชือ่ แอนทา เรส (ANTARES) หรอื ดาวปารชิ าต

187 2. ศกึ ษาขอ้ มลู กลุ่มดาวหา้ ราศี โดยนาความรทู้ ีศ่ กึ ษาจับค่คู วามสัมพันธ์ กลมุ่ ดาวกับราศี ราศเี มษ ราศพี ฤษก ราศเี มถุน ราศกี รกฎ ราศสี งิ ห์ ราศกี นั ย์ ราศตี ุลย์ ราศพี จิ กิ ราศธี นู ราศมี งั กร ราศกี ุมภ์ ราศมี นี กลุ่มดาวแกะ (Aries) คกู่ บั ราศี ราศีเมษ กลุ่มดาววัว (Taurus) คกู่ บั ราศี ราศีพฤษก กลุ่มดาวคนคู่ (Gemini) คกู่ บั ราศี ราศีเมถุน กลุ่มดาวปู (Cencer) คู่กบั ราศี ราศกี รกฎ กลมุ่ ดาวสงิ โต (Leo) คกู่ บั ราศี ราศสี งิ ห์ กลุ่มดาวหญิงสาว (Virgo) คู่กบั ราศี ราศีกันย์ กลมุ่ ดาวคันชงั่ (Libra) คู่กับราศี ราศตี ุลย์ กลมุ่ ดาวแมงปอ่ ง (Scorpio) คู่กบั ราศี ราศพี ิจิก กลุ่มดาวคนยงิ ธนู (Sagittarius) คู่กบั ราศี ราศธี นู กลุ่มดาวแพะทะเล (Capricornus) คู่กบั ราศี ราศมี งั กร กลมุ่ ดาวคนแบกหมอ้ น้า (Aqurius) คกู่ บั ราศี ราศีกุมภ์ กลุม่ ดาวปลาคู่ (Pisces) คู่กบั ราศี ราศีมนี 3. ถ้าตอ้ งการค้นหาดาวเหนอื โดยสังเกตดตู าแหนง่ ของดวงจันทรใ์ นการค้นหาจะสามารถ ทาไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ไมไ่ ด้ เนื่องจากดวงจนั ทร์เปลีย่ นแปลงตาแหน่งอยู่ตลอดเวลา 4. ถา้ นักศกึ ษาเดนิ ทางในป่าแล้วเกิดหลงทางโดยไม่มีเข็มทิศบอกทิศทาง นกั ศึกษาจะหา ทศิ ทางโดยวิธใี ด และมีวธิ หี าอย่างไร คน้ หาดาวเหนือ สามารถหาตาแหนง่ ดาวเหนอื ไดโ้ ดยใชว้ ิธกี ารหลัก ๆ 2 วธิ ี ไดแ้ ก่ 1. การหาดาวเหนือดว้ ยทศิ และตาแหน่งละติจดู - ถ้าผู้สังเกตท่ีอยู่บนเส้นศูนย์สูตร จะเห็นดาวเหนืออยู่บนขอบฟ้าด้านทิศเหนือ พอดี - ถ้าผู้สังเกตท่ีอยู่ต่ากว่าเส้นศูนย์สูตร หรือซีกโลกใต้ดาวเหนือจะหายลับจากขอบ ฟ้าด้านทิศเหนอื ไป

188 - ถ้าผู้สังเกตที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร หรือซีกโลกเหนือจะเห็นดาวเหนืออยู่สูงจาก ข้ามฟ้าด้านทิศเหนือ มีค่ามุมเดียวกับค่าละติจูดของผู้สังเกต เช่น ผู้สังเกตอยู่ในประเทศไทยท่ี ละติจูด 15 องศาเหนือ(โดยเฉลี่ย) ดาวเหนือจะอยู่สูง จากขอบฟ้าด้านทิศเหนือ 15 องศา เช่นกัน 2. การหาดาวเหนือโดยใชก้ ลุม่ ดาว - ดูจาก กลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa major) หรือท่ีคนไทยเราเรียกว่า กลุ่มดาวจระเข้ กลุ่มดาวนี้มีดาวสว่างเจ็ดดวงเรียงตัวเป็นรูปกระบวยตกั น้า ดาวสองดวงแรกของกระบวยตกั น้า จะช้ีไปยังดาวเหนือเสมอไม่ว่าทรงกลมท้องฟ้าจะหมุนไปอย่างไรก็ตาม ดาวเหนือจะอยู่ห่าง ออกไป 4 เทา่ ของระยะทางระหว่างดาวสองดวงแรกเสมอ - ถ้ากลุ่มดาวหมีใหญ่เพิ่งตกไป หรือยังไม่ข้ึนมาเราก็สามารถมองหาทิศเหนือ อย่าง คร่าว ๆ ได้โดยอาศัย “กลุ่มดาวค้างคาว” (Cassiopeia) กลุ่มดาวค้างคาวประกอบด้วย ดาวสวา่ ง 5 ดวง เรยี งเป็นรูปตวั “M” หรอื “W” ควา่ กลุ่มดาวค้างคาวจะอย่ใู นทิศตรงข้ามกับ กลมุ่ ดาวหมใี หญ่เสมอ - ใช้ “กลมุ่ ดาวนายพราน” (Orion) ในการนาทางได้อย่างคร่าว ๆ เพราะกล่มุ ดาว นายพรานจะหันหัวเข้าหาดาวเหนือเสมอ นอกจากนั้นกลุ่มดาวนายพรานยังตั้งอยู่บนเส้นศูนย์ สูตรฟา้ น่นั หมายความวา่ กลุ่มดาวนายพรานจะขึ้น-ตกในแนวทิศตะวนั ออก-ตะวนั ตกเสมอ 5. ให้นกั ศึกษาอธิบายการใช้ประโยชนจ์ ากกลมุ่ ดาวในการดารงชวี ิตประจาวัน 1. การดารงชวี ติ ยังมีคนอีกหลายกลุ่มที่อาศัยการดูดาวเพ่ือประกอบอาชีพ เช่น เกษตรกร เขาใช้ ดวงดาวในการบ่งบอกถึงฤดูเพาะปลูก หรือแม้แต่การเลือกปลูกพืชท่ีเหมาะสม ในอดีตคนไทย ใชก้ ารดูดาวเพอื่ ทานายปรมิ าณฝนหรอื เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ อกี มาก 2. การหาทศิ ดาวที่เรานยิ มใช้ในการหาทิศ คอื ดาวเหนอื (polaris) ซง่ึ เปน็ ดาวฤกษ์ที่อยใู่ กล้ขั้ว โลกเหนือมากท่ีสุด อยู่ในกลุ่มดาวหมีเล็ก (ursa minor) ดาวเหนือจะอยู่คงท่ีส่วนดาวอ่ืนจะ โครจรไปรอบ ๆ ตามการหมุนรอบตัวเองของโลก ดังน้ันเราจึงใช้ดาวเหนือในการหาทิศ กล่าวคือ ถ้าหันหน้าไปทางดาวเหนือคือทิศเหนือด้านขวามือจะเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือ จะเป็นทิศตะวนั ตก และดา้ นหลังจะเป็นทิศใต้ สว่ นการหาทิศใต้ เราจะใชก้ ลุ่มดาวกางเขนใต้ใน การหาทิศ คนไทยเรียกกลุ่มดาวกางเขนใต้ว่า ดาวว่าวปักเป้า โดยในฤดูร้อนจะเห็นกลุ่มดาว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook