Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 5

บทที่ 5

Published by budsarinburin, 2020-10-05 07:11:32

Description: หลักกายศาสตร์

Search

Read the Text Version

ใบความรูท้ ่ี 5 เรื่อง หลักการยศาสตร์

ใบความรู้ที่ 5 เรือ่ ง หลกั การยศาสตร์ 1. ความหมาย ความสำคญั และพฒั นาการของการยศาสตร์ 1.1 ความหมายของการยศาสตร์ ราชบณั ฑติ ยสถานได้บญั ญัติศัพท์คำวา่ “Ergonomics” คือ การย-ศาสตร์ และอธิบายว่าการยเป็นคำ ในภาษาสนั สกฤต หมายถึง งาน (work) สว่ นศาสตรเ์ ป็นวทิ ยาการ (Science) รวมเป็น Work Science ดังน้ันคำวา่ การยศาสตร์ จงึ หมายถึง ศาสตร์หรือวทิ ยาการเก่ียวกบั การทำงานหรือเกย่ี วกบั งาน การยศาสตร์ (Ergonomics) เป็นคำในภาษากรีก 2 คำ คือ Ergon ท่ีแปลว่า งาน (work) กับอีกคำ คือ Nomos ท่ีแปลว่า กฎ (law) เมื่อรวมเข้าด้วยกันก็เป็นคำว่า Ergonomics (law of work) หมายถึง กฎ ของการทำงาน หรือเป็นการศึกษาวิธีการทำงานเพ่ือการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและกระบวนการทำงานให้ เปน็ ระบบและให้เข้ากบั สภาวะการทำงานของแต่ละบุคคล 1.2 ความสำคญั และพฒั นาการของการยศาสตร์ เทคโนโลยีในปัจจุบันมีความก้าวหน้ามากขึ้น มีการคิดค้นประดิษฐ์ส่ิงที่จะทำให้การทำงานสะดวก รวดเร็ว ได้ผลผลิตเพ่ิมขึ้นแต่ใช้ต้นทุนน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองจักร เคร่ืองกล และกระบวนการผลิตที่สถาน ประกอบการพยายามออกแบบให้ทำงานได้อย่างรวดเร็ว ผลิตได้คราวละมากๆ โดยท่ีสถานระกอบการไม่ได้ คำนงึ ถงึ ผปู้ ฏิบัติงานวา่ มีความสามารถท่ีจะทำงานทนั ต่อเครื่องจกั ร เครื่องกล ท่ีสามารถผลิตได้คราวละมากๆ หรือไม่ บางครง้ั ผู้ปฏิบตั ิงานอาจเหนื่อยเม่ือยลา้ ปวดแขน ขา สายตาเสื่อมถอย ท่อี าจก่อให้เกิดอบุ ัติเหตุในการ ทำงาน และประสิทธิภาพในการทำงานก็ลดลง ดังนั้น สถานประกอบการต้องออกแบบเครื่องจักร เคร่ืองกล อปุ กรณ์ต่างๆ ให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย สถานท่ีปฏิบัติงาน ต้องคิดถึงข้อจำกัดของร่างกาย ความต้องการ ขอบุคคล เพื่อความปลอดภัยในการทำงานให้ได้ทั้งคุณภาพของผลผลิต และประสิทธิภาพในการทำงานพร้อม ทั้งมีความพอใจ และผู้ปฏิบัติงานมีความสุขที่ได้ทำงาน และสถานประกอบการควรปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมใน การทำงาน ไม่ว่าจะเป็นแสง สี เสียง ความร้อน ความเย็น เครื่องมือ เคร่ืองจักรอุปกรณ์ กระบวนการทำงาน ให้เขา้ กบั ผปู้ ฏิบัติงาน นนั่ คอื การปรบั งานให้เข้ากบั ทกุ คนทใ่ี หท้ กุ คนทำได้ และทำงานอยา่ งมคี วามสขุ 2. ขอบขา่ ยของการยศาสตร์ 1. ควรปรับปรุงสภาพแวดล้อมและวางผังสถานประกอบการหรอื โรงงาน เพ่ือให้มีความสะดวกสบาย มคี วามรวดเร็วในการทำงาน และควรมีการบำรุงรักษาสถานท่ีให้พร้อมใชอ้ ยู่เสมอ 2. ควรปรับปรงุ ออกแบบ การบำรุงรักษา เครื่องมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์ ตามชั่วโมงการทำงาน หรือ ตามระยะเวลาที่คู่มือกำหนดอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และความปลอดภัยของ ผ้ปู ฏิบตั ิงาน 3. ควรปรบั ปรงุ กระบวนการทำงาน หรอื วางแผนผังการทำงานให้เหมาะสม ระหวา่ งเครอ่ื งมืออปุ กรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวกต่างๆ กบั สมรรถนะของผู้ปฏิบตั งิ าน

4. ควรปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ เช่น แสง เสียง ความร้อนความเย็น ความสัน่ สะเทือน กลน่ิ จากสารเคมี 5. ควรศึกษาลักษณะงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับผปู้ ฏิบตั ิงาน 3. หลักการของการยศาสตร์ (Ergonomics) หลักการของการยศาสตร์ เป็นเรื่องเก่ียวข้องระหว่างผู้ปฏิบัติงานกับเคร่ืองมือ เครื่องจักรอุปกรณ์ ตลอดจนสง่ิ อำนวยความสะดวกต่างๆ ในกระบวนการทำงาน โดยมอี งค์ประกอบลกั ษณะท่าทางการเคล่ือนไหว ในการปฏิบัติงาน และรูปรา่ ง ความสงู ตา่ํ ของผปู้ ฏบิ ัติงาน ดังน้ี 1. ลักษณะทา่ ทางของการปฏิบัติงาน ในการปฏิบัติงานร่างกายของคนที่ปฏิบัติงานต้องอยู่ในลักษณะ ทา่ ทางทมี่ ่ันคงในท่าปกติย่ิงตอ้ งทำงานเกี่ยวกับการใช้แรง ควรมีการเคล่ือนไหวที่เป็นมาตรฐานที่ดี ไม่มีท่าทาง ท่ีขดั หรอื ฝืนในการออกแรงในทา่ ทางที่ผิดปกติ การเคล่อื นไหวท่ีเปน็ ปกติจะช่วยลดอบุ ัติเหตแุ ละอันตรายที่เกิด จากสภาพการทำงานได้ 2. เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ควบคุม ได้แก่ เคร่อื งมอื อปุ กรณค์ วบคมุ ขนาดรา่ งกายของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน 4. การประยุกต์ใช้หลกั การยศาสตร์กับการทำงาน การนำหลักของการยศาสตร์ไปประยุกต์ใช้กับการทำงาน ซึ่งอาจเป็นการออกแบบระบบปฏิบัติงาน ใหม่หรือปรับปรุงส่วนงานต่างๆ ได้แก่ เครื่องมือต่างๆ โต๊ะปฏิบัติงาน เก้าอี้ เคร่ืองจับชิ้นงาน ช่องระหว่าง ทางเดิน ประตู และหน้าตา่ ง เป็นต้น อีกท้ัง อาจมีการจัดสภาพแวดล้อมในกระบวนการปฏิบัติงาน เพราะการ เปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน อาจทำให้มีการเปล่ียนแปลงระบบการปฏิบัติงาน เช่น การ กำหนดความถข่ี องการพักระหว่างการปฏิบัติงานการเลอื กกะปฏิบัติงาน และการเพิม่ จำนวนชนดิ ของงาน เป็น ต้น ในปัจจุบันน้ีการปฏิบัติงานต่างๆ จำนวนมากจะเก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์ การแสดงข้อมูลและผลการ คำนวณบนจอของคอมพิวเตอร์ดังน้ัน สถานประกอบการควรประยุกต์หลกั การยศาสตร์ในการปรับปรุงสุขภาพ และความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน 5. การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มการทำงานตามหลกั การยศาสตร์ 1. ควรตรวจสอบเครื่องจักร เครื่องมอื ที่เป็นสาเหตุท่ีทำให้การปฏิบตั ิงาน ไม่เหมาะสม หรืออาจจะทำ ให้เกิดการบาดเจ็บ และปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ผู้ปฏิบัติงานดำเนินงานด้วยวิธีการที่สะดวกต่อการใช้งาน เหมาะสมกบั สรรี ะของรา่ งกาย 2. ควรให้ผู้ปฏิบัติงานที่ต้องปฏิบัติงานเกย่ี วกับการตรวจรายละเอยี ดของช้ินงาน นั่งเก้าอี้ที่ต่าํ กว่างาน ท่ีตอ้ งใช้แรงมาก เพราะตอ้ งหยบิ จับช้นิ งาน ถ้านง่ั สงู กวา่ ช้นิ งานก็จะเกดิ อาการเมอ่ื ยลา้ และอาจเกดิ อบุ ัตเิ หตุได้ 3. ควรให้ผู้ปฏิบัตงิ านทำงานด้วยอิริยาบถท่าทางตามธรรมชาติ ไมค่ วรให้ผู้ปฏบิ ัติงานต้องทำงานแบบ ฝนื ธรรมชาติ 4. ควรมกี ารอบรมผูป้ ฏบิ ตั ิงานเพ่อื ใหร้ ูถ้ ึงวธิ ีการเคลอื่ นย้ายส่ิงของหรือวสั ดุอย่างถกู ต้องและเหมาะสม กับงานที่ต้องปฏบิ ตั ิ โดยใชร้ ะยะทางที่สน้ั ที่สดุ 5. ควรให้ผปู้ ฏิบัติงานน่ังทำงาน ไม่ควรให้ผู้ปฏิบัติงานตอ้ งยืนปฏิบัติงาน เพราะการยืนปฏิบัติงาน ทำ ใหเ้ กิดความเมอ่ื ยลา้ ทัง้ แขน ขา และฝา่ เทา้ ทต่ี ้องรับนา้ํ หนกั ทั้งตวั ของผปู้ ฏิบัติงาน 6. ควรมีการจัดหมนุ เวียนสับเปล่ียนหน้าทป่ี ฏิบัตงิ าน เพื่อไม่ให้เกิดการทำงานท่ีซ้ําซาก อาจทำให้เกิด การเบอื่ หนา่ ย ผปู้ ฏิบัตงิ านอาจประมาท กอ่ ใหเ้ กดิ อุบัติเหตุได้

7. ควรเปิดเพลงเพื่อช่วยกระตุ้นให้ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านต่ืนตัวอยู่เสมอ และเสียงเพลงก็ทำให้บรรยากาศในการ ปฏบิ ัตงิ านดี แต่ไมค่ วรเปดิ เพลงดงั กว่า 70 เดซิเบล 8. ควรจัดให้มแี สงสว่างเหมาะสมกับลักษณะของงานที่ปฏิบตั ิ ห้องปฏิบตั ิงานควรมีแสงสว่างสมาํ่ เสมอ กนั ท่ัวท้ังหอ้ ง 9. ควรใช้สีท่ีเหมาะสม จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานรสู้ ึกสบายตา และช่วยประหยดั พลังงาน เพราะสีบางสีมี ส่วนช่วยให้ผปู้ ฏิบัตงิ านมคี วามกระตือรือรน้ ในการปฏิบัตงิ าน 10. ควรจัดอุณหภูมิในห้องทำงานให้เหมาะสม และต้องคำนึงถึงความสบายในการปฏิบัติงานซ่ึงโดย ปกติอณุ หภูมิในรา่ งกายมนุษยจ์ ะอยทู่ ่ี 37 องศาเซลเซียส สถานประกอบการควรจัดสภาพแวดล้อมที่มีอณุ หภมู ิ ท่ีเหมาะสมกบั งานทท่ี ำ โดยไม่รอ้ นเกินไป หรอื เย็นเกินไป ควรมีอุปกรณป์ อ้ งกันใหก้ บั ผปู้ ฏิบตั งิ านดว้ ย