บทที่ 2 ประเภทและชนิดของสมุนไพรทนี่ ามาแปรรูป และการคดั เลือกวตั ถุดบิ เรียบเรียงโดย นางสาวบุศรนิ เหมอื นพรอ้ ม
2. ประเภทและชนดิ ของสมุนไพรท่ีนามาแปรรูปและการคัดเลอื กวัตถุดิบ 2.1 ชนดิ ของสมุนไพรทีน่ ามาแปรรูป (กรมอาชีวศึกษา.2540: 10) 2.1.1 ผัก หมายถึงผลผลิตทางสมุนไพรสวน เป็นสมุนไพรฤดูเดียว ล้าต้นอวบน้า บางชนิดเป็นสมุนไพรหลายฤดูใช้ส่วนของราก ดอก ผลอ่อน ผลแก่ ล้าต้นและใบ บริโภคสดและแปรรูปเก็บรักษาในช่วงระยะเวลาสั้นแบ่งตามสว่ นท่ใี ชบ้ รโิ ภคได้ดงั ต่อไปน้ี 2.1.1.1 ราก สมนุ ไพรสว่ นรากท่ีบริโภคไดเ้ ปน็ รากแกว้ เช่น ข่า กระชาย ข่า กระชาย ภาพที่ 2.1 ตวั อยา่ งผกั ท่มี ีส่วนรากเป็นรากแกว้ ท่ีบรโิ ภคได้ 2.1.1.2 ลา้ ต้น แบ่งออกได้เป็น 2 สว่ น 1) ลา้ ต้นใต้ดิน เช่น ขม้นิ ข่า ขงิ กระเทยี ม หัวหอมกระเทียม ขมนิ้ภาพที่ 2.2 ตวั อย่างสมุนไพรทมี่ สี ่วนลาต้นใต้ดินทบี่ รโิ ภคได้ เรียบเรียงโดย นางสาวบศุ ริน เหมือนพร้อม
2) ล้าต้นเหนอื ดิน เชน่ ตะไคร้ ตะไคร้ ภาพท่ี 2.3 ตวั อย่างสมุนไพรทม่ี สี ่วนลาตน้ เหนอื ดนิ ทบี่ รโิ ภคได้2.1.1.3 ใบ สมุนไพรท่ีบรโิ ภคด้วยใบ เชน่ ใบมะกรูด ใบยอ ใบมะรุมใบมะรมุ ใบยอภาพท่ี 2.4 ตัวอยา่ งสมนุ ไพรทม่ี ีส่วนของใบท่ีบริโภคได้ เรยี บเรยี งโดย นางสาวบศุ ริน เหมือนพร้อม
2.1.1.4 ดอก สมนุ ไพรทบ่ี รโิ ภคส่วนดอก เชน่ ดอกคา้ ฝอย ดอกสารภีดอกสารภี ดอกคาฝอยภาพท่ี 2.5 ตัวอยา่ งสมนุ ไพรทม่ี ีส่วนของดอกท่บี ริโภคได้2.1.1.5 ผลและเมลด็ เช่น แกน่ แสมทะเล แกน่ ข้ีเหล็กแกน่ แสมทะเล แก่นขเ้ี หลก็ภาพท่ี 2.6 ตัวอย่างสมนุ ไพรที่มีส่วนของผลและเมลด็ ที่บรโิ ภคได้ เรยี บเรียงโดย นางสาวบศุ รนิ เหมอื นพรอ้ ม
2.2 คณุ ภาพวตั ถดุ ิบ (จริงแท.้ 2549 : 141) คุณภาพของสมุนไพรในการแปรรูปท่ีได้มาตรฐานแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ คือลักษณะภายนอกและลักษณะภายใน 2.3.1 ลักษณะภายนอก (External characteristic หรือ Appearance) ได้แก่ลักษณะต่างๆ ท่ีมองเห็นดว้ ยตา สมั ผัสไดด้ ว้ ยมือ ประกอบด้วย รปู ร่าง ขนาด สี ความเปน็ มันเงา และลกั ษณะอื่นๆ 2.3.2 ลักษณะภายใน (Internal characteristic) เป็นคุณสมบัติทางเคมีท่ีอยู่ในผลผลิตเช่นคุณค่าทางอาหาร ปรมิ าณสารอาหารจะเพิ่มขึ้นเมอ่ื สมุนไพรแก่ ลักษณะภายในท่ีสัมผัสได้จากการบริโภคด้วยปาก ลิ้น และจมูก ได้แก่ รสชาติ(taste) เนื้อสัมผัส (texture) นอกจากนั้นลักษณะอื่นๆ เช่น ความหนาของเนื้อปรมิ าณเนื้อ ขนาดของเมลด็ จดั เข้าอยใู่ นลกั ษณะภายในน้ีด้วย 2.4 การวิเคราะห์คุณภาพ (จรงิ แท.้ 2549 : 142) การวเิ คราะหค์ ุณภาพทา้ ได้ 2 ลกั ษณะคือ แบบจิตวิสัย (Subjective) ได้แก่การประเมินคุณภาพด้วยตา หรือมือสัมผัส หรือด้วยการชิม ซ่ึงการวิเคราะห์แบบนี้ความผิดพลาดเกิดข้ึนได้ง่ายท้ังน้ีเพราะผู้ตรวจสอบต่างคนย่อมมีความชอบไม่เหมือนกันท้ังหมดและอาจเกิดความล้าเอียงขึ้น แม้ในบุคคลเดียวกันก็อาจตัดสินคุณภาพของอย่างเดียวกันต่างกันก็ได้ เพราะประสาทการรบั ร้ทู งั้ ตา ปาก และมือสัมผัสในแต่ละเวลาไม่เท่ากัน ผู้ท่ีมีประสบการณ์มากก็อาจใช้ความช้านาญตรวจสอบคณุ ภาพไดค้ ่อนข้างแมน่ ย้า แบบวัตถวุ ิสัย (Objective) การวัดคุณภาพโดยอาศัยเกณฑ์ทว่ี ัดออกมาเป็นตัวเลขได้โดยใช้เครื่องมือ การวิเคราะห์คุณภาพวิธีน้ีได้เท่ียงตรงมากข้ึน มีความผิดพลาดน้อย แต่ก็มีข้อเสียคือส่ิงท่ีวัดได้อาจไม่ตรงกับการตัดสินคุณภาพของผู้บริโภคก็เป็นได้ ในการประเมินต้องอาศัยวิธีการแบบจิตวิสัยประกอบด้วย และช่วยให้การตดั สนิ คณุ ภาพท้าได้ดีข้ึน ดงั รายละเอยี ดดังนี้ 2.4.1 ลักษณะภายนอก 2.4.1.1 รูปร่าง (Shape, Dimension) รูปร่างของสมุนไพรที่ดีจะต้องมีรูปร่าง-รูปทรงตรงตามพันธ์ุมีความสวยงาม 2.4.1.2 ขนาด (Size) ขนาดของสมุนไพรใหญ่ หรือเลก็ ข้ึนอย่กู บั ความต้องการของผู้บรโิ ภค 2.4.1.3 สี (Color) สที ด่ี ีของผลผลติ ควรเป็นสตี ามธรรมชาติของผลผลิตน้ันๆ และสีของผลผลิตมักเป็นสิ่งส้าคัญในการดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค สมุนไพรที่มีสีสวยงามจึงท้าให้ผู้บริโภคมีความอยากรับประทาน หรืออยากซอ้ื ไดง้ ่าย การวิเคราะห์คุณภาพของสมุนไพรตามสีอาจท้าได้โดยการเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน หรือด้วยการวัดสีโดยตรงด้วยเครื่องมือวัดสี ใช้การวิเคราะห์ทางเคมี เช่น การหาปริมาณคลอโรฟิลล์ ปริมาณคลอโรฟิลล์สูงยอ่ มแสดงว่าผลผลติ นนั้ ๆ มีสเี ขียวมาก สที มี่ ักจะพบในสมุนไพรมีดงั น้ี 1) คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) เป็นเม็ดสีท่ีให้สีเขียวของสมุนไพรที่ใบ ก้าน เช่นคลอโรฟิลลจ์ ้าเปน็ สา้ หรบั การสังเคราะห์แสง เพราะเป็นการสร้างอาหารส้าหรับสมุนไพร คลอโรฟิลล์ดูดพลังงานจากแสงแดดไวส้ ร้างคาร์โบไฮเดรตและคารบ์ อนไดออกไซด์ ยงั บง่ ชีค้ วามแก่-อ่อนของสมนุ ไพรสเี ขียว เรียบเรยี งโดย นางสาวบุศรนิ เหมอื นพร้อม
ตะไคร้ ใบมะกรดู ภาพที่ 2.14 ตัวอย่างสมุนไพรทมี่ ใี บ ก้านสเี ขียวซึ่งเกิดจากเม็ดสีคลอโรฟลิ ล์ 2) คาโรทนิ นอยด์ (Carotenoids) ให้สีเหลืองแสด และแสดแดง เช่น ขม้ิน ไพล สีของคาโรทินนอยด์ทนต่อกรดและด่างไม่ละลายน้า ท้าให้สีสวยน่ารับประทาน โมเลกุลคาโรทินนอยด์ไม่อิ่มตัวถูกออกซไิ ดซ์ เมอ่ื สัมผัสอากาศนานๆ ทา้ ใหส้ ญู เสยี วติ ามนิ เอ และทา้ ให้อาหารท่ตี ากแห้งเปลย่ี นสี ขมิน้ ไพล ภาพท่ี 2.15 ตัวอย่างสมนุ ไพรทม่ี สี ีเหลืองแสด และสีแดงซ่ึงเกดิ จากเมด็ สีคาโรทนิ อยด์ เรยี บเรียงโดย นางสาวบศุ ริน เหมอื นพรอ้ ม
3) แอนโธซานตนิ (Anthoxantin) ใหส้ ีเหลืองนวลเกือบขาว เช่น ขิง ละลายในน้าถูกกรดและดา่ งจะเปลี่ยนสี ขงิ ภาพที่ 2.16 ตัวอยา่ งสมุนไพรใหเ้ มด็ สเี หลืองนวลเกือบขาว 4) แอนโธไซยานิน (Anthocyanin) ให้สีแดงและสีม่วงหรือน้าเงิน เช่น กราวเครือแดงสแี อนโธไซยานิน เม่อื เติมกรดจะมสี สี ดขน้ึ แอนโธไซยานินละลายในนา้ ไดด้ ี เม่ือต้มนานสีจะละลายออกมากับน้าต้มผัก ท้าให้ผัก ผลไม้มีสีซีดดอกอัญชญั กราวเครือแดงภาพที่ 2.17 ตวั อย่างสมุนไพรใหเ้ มด็ สแี ดงและสีม่วงหรอื น้าเงนิ เรยี บเรียงโดย นางสาวบุศริน เหมือนพร้อม
5) แทนนิน (Tannin) เป็นสารที่ไม่มีสี ท้าปฏิกิริยากับสารอื่นท้าให้เกิดสีน้าตาล เช่นมะกอกไทย มะตูม มะขามปอ้ มมะกอกไทย มะขามปอ้ ม ภาพที่ 2.18 ตัวอย่างสมุนไพรให้แทนนิน 2.4.1.4 ตา้ หนิหรอื ขอ้ บกพรอ่ ง (Defect) เป็นลกั ษณะภายนอกสามารถมองเห็นดว้ ยตาเปล่า ได้แก่รอยบาดแผล รวมท้ังแผลเป็น ทั้งท่ีเกิดจากการเสียดสี แรงกระทบ และเกิดจากการเข้าท้าลายของแมลงหรือจากสารเคมีท่ีใช้ในการป้องกันก้าจัดศัตรูสมุนไพร สิ่งมีชีวิตอ่ืนๆ เช่น เช้ือราและแมลงตลอดจนมูลของแมลง รวมทง้ั ส่วนทเี่ จรญิ ผิดปกตบิ นผลผลิตนนั้ ๆ ผลผลิตท่ีมีต้าหนิจะต้องถูกคัดออกหรือท้าความสะอาดถ้าท้าได้ ส่วนท่ีถูกคัดออกอาจนา้ ไปขายในตลาดทอ้ งถิ่นหรือตลาดระดับล่าง หรืออาจนา้ ไปแปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์อยา่ งอ่ืนหรอื น้าไปเลีย้ งสัตว์ ผลผลิตท่ีมีต้าหนิเหล่าน้ีแม้ว่าจะท้าให้คุณภาพตามลักษณะท่ีปรากฏด้อยลง แต่คุณภาพภายในยังคงเปน็ ปกติอยู่ ได้มีการนา้ ผลผลิตเหลา่ นไี้ ปแปรรปู พร้อมบริโภค (Minimal processing) 2.4.1.5 ความสม่้าเสมอ ผลผลิตท่ีผลิตได้จากแหล่งแต่ละท่ีมีทั้งผลผลิตท่ีมีคุณภาพดีและไม่มีคุณภาพปะปนกันไป การคัดเลือกเอาผลผลิตที่ดีไปอยู่ด้วยกันเป็นการเพ่ิมคุณค่าให้กับผลผลิตน้ันๆ ผู้บริโภคหรอื ลูกค้ามีความมั่นใจในคุณภาพผลผลิตนน้ั มากข้นึ 2.4.2 ลักษณะภายใน ลกั ษณะภายในของผลผลิตแบ่งได้เปน็ ลักษณะต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 2.4.2.1 เนื้อสัมผัส (Texture) เน้ือสัมผัสของผลผลิตแต่ละอย่างแตกต่างกันไป ภายหลังการเก็บเกี่ยว การเปล่ียนแปลงลักษณะเนื้อสัมผัสก็แตกต่างกันด้วย บางอย่างเปลี่ยนจากกรอบเป็นเหนียว บางอย่างเปลี่ยนจากแน่นแข็งเป็นน่ิม และบางอย่างเปลี่ยนจากเนื้อแห้งเป็นแฉะ เป็นต้นลักษณะท่ีดีขึ้นอยู่กับความนิยมของผบู้ รโิ ภค ทีเ่ หน็ ได้จากความแตกตา่ งกนั การวเิ คราะหเ์ นือ้ สัมผสั อาจท้าได้ 2 วธิ ี ดงั นี้ 1) การวัดการเสียรูปทรง หรือ Deformation test ซ่ึงเป็นวิธีเลียนแบบการตรวจสอบความออ่ นนมุ่ ของผลไมข้ องคนทั่วไป ใช้มือบีบดูว่าผลไม้แข็งหรืออ่อนนุ่ม โดยมีหลักง่ายๆ เป็นการออกแรงกดให้ผลผลิตยุบตัวลง อาจออกแรงกดด้วยแรงคน แล้ววัดระยะทางที่ผลผลิตยุบตัวลง หรือออกแรงกดให้ผลผลิตยุบตัวลงในระยะทางคงทีแ่ ล้ววัดว่าตอ้ งใช้แรงกดเท่าไร เรียบเรียงโดย นางสาวบุศรนิ เหมือนพรอ้ ม
2) เป็นการวัดลักษณะความแข็งหรืออ่อนนุ่มของเนื้อผลผลิตโดยตรงเช่นเดียวกับการกัดและเคย้ี วบดด้วยปากและฟันของผู้บริโภค วธิ ีน้มี ักใช้เครื่องมอื ท่ีมีหัวลักษณะต่างๆ กดลงบนผลผลิตจนทะลุเข้าไปในเน้ือแล้วอ่านค่าแรงท่ีใช้กด เคร่ืองมือท่ีใช้เรียกว่า เพนนีโตรมิเตอร์ (Penetrometer) หรือ เฟิมเนิสเทสเตอร์ (Firmness tester) วิธีน้ียังใช้เป็นวิธีการตรวจสอบความบริบูรณ์ของผลไม้ เช่น แอปเป้ิลและสาลี่ในตา่ งประเทศด้วยแอปเปิล้ สาลี่ การวัดเน้ือสัมผัสในพวกสมุนไพรที่มีความเหนียวเพ่ิมมากขึ้นเม่ือเก็บเกี่ยวมานานนิยมใช้การวิเคราะหห์ าปริมาณเส้นใย เพราะเสน้ ใยเปน็ ตน้ เหตุสา้ คญั ของความเหนยี วของสมุนไพรหลายชนิด 2.4.2.2 รสชาติ (Taste) รสชาติประกอบด้วยทั้งรส (flavor) และกลิ่น (Aroma) รสชาติผลผลิตแต่ละอย่างแตกต่างกันไป การวิเคราะห์คุณภาพของผลผลิตแต่ละอย่างจึงแตกต่างกัน ต้องอาศัยการชิมเป็นส่ิงสุดท้ายในการตัดสินคุณภาพ อย่างไรก็ตามรสพื้นฐานที่มีในผลไม้ส่วนใหญ่ได้แก่ ความหวาน, ความเปร้ียว,ความขม, ความฝาด บางชนดิ อาจมีความมันเขา้ มาเกีย่ วขอ้ งด้วย การวิเคราะห์คุณภาพด้านรสและกลิ่นเหล่านี้อาจทา้ ไดด้ งั น้ี ความเปรี้ยว (Sourness) ความเปรี้ยวในสมุนไพรเกิดจากปริมาณของกรดอินทรีย์ที่สะสมอยใู่ นผนงั ของเซลล์สมนุ ไพร (แวควิ โอล) สมนุ ไพรแต่ละชนดิ มีกรดอนิ ทรีย์ทต่ี า่ งกัน เรียบเรยี งโดย นางสาวบศุ รนิ เหมือนพรอ้ ม
ประโยชน์ทางดา้ นอาหาร กระทกรก สามารถใชป้ ระโยชน์ได้เกือบท้ังหมดตัง้ แต่ราก ล้าตน้ เถาเลื้อย ยอดกระทกรกมีรสขมเลก็ น้อย ใชเ้ ปน็ ผักสด ลวกจ้มิ กับน้าพริกและใช้แกงเลียง ผลกระทกรก ใช้กินเมลด็ โดยใสเ่ กลือเลก็ น้อย ตักทานรสเปรี้ยวอมเค็ม อร่อยมากประโยชน์ ทางดา้ นสมุนไพร ผล ใชก้ นิ เมลด็ และเย่ือหุ้มเมลด็ ทางด้านสมุนไพร เนื้อไม้ ใช้เปน็ ยาควบคุมธาตุ ถอนพษิ เบื่อเมาทกุ ชนดิ และใชร้ กั ษาบาดแผล ราก ใช้ตม้ น้าดื่มแก้ไข้ แก้กามโรค ใบ ใช้ต้าใหล้ ะเอยี ดแล้วค้นั เอาน้าดืม่ เปน็ ยาเบือ่ และขับพยาธิ ดอก ขับเสมหะ แก้ไอ ผล แกป้ วด บา้ รุงปอด ใบสด ใชพ้ อกแก้สวิ ต้น ใช้ขับปสั สาวะ ขับเสมหะแก้ไอ และอาการบวม เน้อื ไม้กระทกรก เป็นยาควบคุมธาตุ ที่ใชป้ ระโยชนใ์ นการถอนพิษเบ่ือเมาได้ทุกชนิด นอกจากน้ันยังใช้รกั ษาบาดแผล ราก ใชต้ ม้ นา้ ดื่มแก้ไอ แกก้ ามโรคได้ สว่ นใบตา้ ให้ละเอียดแลว้ ค้ันเอาน้าดืม่ เปน็ ยาเบอื่ เพือ่ ขับพยาธิ ดอกทานใชข้ บั เสมหะ แก้ไอ สว่ นลูกกระทกรก สว่ นลกู กระทกรกทา่ นบอกวา่สามารถใช้แกป้ วด นอกจากนั้นยงั มีประโยชนอ์ ีกมาก ความฝาด (Astringency) ความฝาดของสมุนไพรเกิดจากสารประกอบพวก ฟีนอล(Phenol) โดยปกตผิ ลท่ียังไม่บรบิ รู ณ์จะมปี ริมาณสารประกอบฟนี อลมากจะลดลงเมื่อผลพัฒนาเข้าสคู่ วามบรบิ ูรณ์และชราภาพ สมุนไพรทีม่ ีรสฝาดจดั วา่ มีคณุ ภาพทไ่ี มด่ ี การตรวจสอบความฝาดนอกจากการชมิสามารถท้าไดโ้ ดยการวเิ คราะหห์ าปรมิ าณสารประกอบฟนี อล สามารถวดั ได้คร่าวๆ โดยการใชน้ า้ ยา ฟอร์ริคครอไรด์( Ferric chloride) (FeCl3 ) ความเขม้ ข้น 1% หยดลงบนผวิ ของผลผลติ ถา้ บรเิ วณนน้ั มสี ารประกอบฟีนอลมากจะทา้ ปฏิกิริยาไดส้ ีเข้มมาก ถ้าไม่มีเลยกจ็ ะพบแต่สีเหลอื งของสารละลาย กนิ ทับทิม บารงุ หัวใจ ยบั ยั้งมะเร็ง เรียบเรียงโดย นางสาวบศุ รนิ เหมือนพร้อม
เป็นผลไม้มงคล เป็นสญั ลกั ษณ์ของความเจรญิ งอกงามและความอุดมสมบรู ณ์ (อาจเป็นเพราะทบั ทมิ มีเมลด็ มาก มีความสวยงามและรบั ประทานได้) จึงมักใหผ้ ลทบั ทิมเป็นของขวญั แก่บ่าวสาวในพิธีแตง่ งาน เพอ่ื ให้มีลกู หลานมาก ๆ และยงั เช่ือด้วยว่า ใบและก่งิ ทบั ทมิ ชว่ ยขับไล่ภตู ผิ ปี ีศาจ ดังน้ันจงึ มักนยิ มปลกู ต้นทบั ทิมไว้ในบริเวณบา้ น การแพทย์แผนโบราณไดม้ ีการน้าทับทมิ มาทา้ เป็นยารักษาโรค ในต้ารับการแพทย์โบราณของเปอรเ์ ซยีระบุว่า ทับทมิ มีประโยชนม์ ากมาย เชน่ ช่วยฟอกไตและท่อปสั สาวะ ช่วยการทา้ งานของหวั ใจและตับ เปน็ ยาบ้ารุงก้าลัง ฟอกโลหิต ช่วยในการย่อยอาหารขจัดไขมันสว่ นเกนิ ปรบั ฮอร์โมนในสตรีวยั ทอง ต่อต้านการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ปอ้ งกันโรคขีห้ ลงขึ้ลมื และช่วยให้ผิวพรรณดี ในเปลอื กทับทิมมีสารในกลมุ่ แทนนินสงู มสี รรพคุณใช้เปน็ ยาแก้ทอ้ งเดิน โรคบิด ฆ่าเช้ือแบคทเี รียหลายสบิ ชนดิ ลดอาการอักเสบ ทง้ั ยงั มฤี ทธ์ติ ่อตา้ น และยับยั้งเซลลม์ ะเรง็ ได้หลายชนิดไมใ่ หเ้ พ่ิมจา้ นวนข้นึ เชน่ มะเรง็ผวิ หนัง มะเรง็ ล้าไส้ มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งตอ่ มลูกหมาก เป็นตน้ การวิจยั ทางการแพทย์ของสหรฐั อเมรกิ า พบวา่ ในนา้ ทับทมิ มีสารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระหลายชนดิ และมีประสทิ ธิภาพสูงมาก สามารถลดภาวะการสะสมไขมนั ในผนังเส้นเลอื ด ป้องกนั เสน้ เลือดอดุ ตนั และแขง็ ตัว ซง่ึ จะก่อให้เกดิ โรคหัวใจขาดเลือดตามมา รวมท้ังท้าให้เส้นเลือดที่หนาตัวและมไี ขมนั สะสม ซ่ึงเปน็ เส้นเลือดทีไ่ ม่ดี มีความหนาตวั ลดลง และลดไขมันท่สี ะสมลงอกี ด้วย ช่วยบา้ รงุ หวั ใจในผปู้ ่วยทเ่ี ป็นโรคหวั ใจขาดเลอื ด โดยเพิ่มการไหลเวียนทด่ี ีขน้ึ และลดภาวะหวั ใจขาดเลือดในผ้ปู ่วยโรคหัวใจ นอกจากนส้ี ารจากทบั ทิมยงั ชว่ ยบา้ รุงตับ มฤี ทธิ์ป้องกันการเป็นพิษต่อตบั และยับยง้ั เซลล์มะเร็งอีกด้วย เปลอื กห้มุ รากทับทิมมีฤทธิ์ในการขบั พยาธติ วั ตดื นอกจากนเ้ี ปลือกหุ้มรากยังมีฤทธติ์ ้านเชื้อไดห้ ลายชนดิเชน่ เชื้อไทฟอยด์ เช้อื วัณโรค เป็นต้น และยงั มีฤทธ์ติ ้านเชื้อราที่ผวิ หนังด้วย ใบ มีรสฝาด แก้ท้องร่วง แกบ้ ดิ มูกเลือด สมานแผล ดอก มรี สฝาดหวาน ตม้ ดื่มแกห้ ูช้ันในอักเสบ บดโรยแผลท่ีมีเลือดออก เนอื้ มีรสหวานอมเปรีย้ วเป็นยาระบายออ่ น ๆ บารงุ หัวใจ เปลือกมีรสฝาด ต้มด่มื แก้ท้องรว่ ง แก้บิดมูกเลือด ถา่ ยพยาธิ แกต้ กขาว สมานแผล ฆา่ เชอ้ื โรค เปลือกราก ต้มด่มื แก้ระดูขาว แกต้ กเลือดถา่ ยพยาธิ นอกจากนี้ทางสมนุ ไพรของจนี ถือวา่ ทบั ทิมมีฤทธเ์ิ ยน็ รสหวานอมเปรีย้ วจงึ ช่วยแก้กระหาย ป้องกันโลหิตจางระงับกล่นิ ปาก ลดไข้ แกต้ าอักเสบ หลอดลมอักเสบ และบา้ รงุ ตา ทับทิมเปน็ ผลไม้ท่มี ีประโยชน์ตอ่ สุขภาพ มสี รรพคุณเป็นยารกั ษาโรคได้ หลายชนิด แตก่ ็ไมค่ ่อยมีใครชอบกินทับทิม เหมือนผลไม้อืน่ ๆ แค่น้ามาใชใ้ นพธิ ีกรรมทางศาสนาเท่านน้ั อาจเป็นเพราะวา่ ทบั ทิมมีเนื้อนอ้ ยก็เปน็ ได้ บ้านเราจึงไมค่ ่อยมีใครปลกู ขาย มแี ต่ปลูกเป็นไม้ประดับตามบ้าน ทับทิมก็เลยกลายเปน็ ผลไม้หายากคอ่ นข้างมีราคาแพง แตป่ จั จุบนั มที ับทิมจากประเทศจีนสง่ เขา้ มามาก และมีราคาถกู จึงถือเปน็ โอกาสดีของผูบ้ รโิ ภค ความขม (Bitterness)พืช สมุนไพรบางชนิดมีรสขม เช่น สะเดา ความขมจะเป็นลักษณะผลผลิตทีม่ คี ุณภาพต้า่ แต่ผบู้ รโิ ภคบางคนนิยมรสขม ความขมน้ีเกิดจากสารเคมีต่างชนิดกนั เรียบเรียงโดย นางสาวบศุ ริน เหมือนพรอ้ ม
สะเดา ภาพที่ 2.20 ตัวอยา่ งสมุนไพรทคี่ วามขม กลิ่น (Aroma) โดยมากเป็นสารระเหยอินทรีย์(Volatile) ที่ผลผลิตสร้างขึ้น ผลผลิตที่มีคุณภาพดีควรมีกลิ่นตรงตามพันธ์ุและเป็นกล่ินท่ีน่าช่ืนใจ แต่ก็ปรากฏว่าผู้บริโภคมีรสนิยมแตกต่างกันไป บางคนก็ชอบบางคนก็ไม่ชอบในเรื่องของรสชาตินี้เป็นเรื่องค่อนข้างยากในการตัดสิน เพราะอาศัยความพอใจส่วนบคุ คลเปน็ ส้าคญั อุปกรณแ์ ละวธิ ีการต่างๆ ในการวัดคณุ ภาพเป็นเพยี งเครอื่ งชว่ ยในการตัดสนิ แม่นย้ายิ่งข้ึน แต่ประสบการณก์ ็ยังคงเปน็ สิ่งส้าคญั ในเรือ่ งคณุ ภาพดา้ นน้ี 2.4.2.3 คุณค่าทางอาหาร (Nutrition) คุณภาพของผลผลิตซึ่งผู้บริโภคตลอดจนผู้ผลิตเองมักมองข้ามไปเสมอคือ คุณภาพในแงข่ องคุณคา่ ทางอาหาร เปน็ สง่ิ ทส่ี ัมผัสได้ยากผู้บริโภคจะเห็นความส้าคัญของการเลือกบรโิ ภคอาหารรวมทั้งสมนุ ไพรท่ีใหค้ ุณค่าทางอาหาร 2.4.2.4 ความปลอดภัยในการบริโภค (Safety) สารประกอบทางเคมีหลายชนิดถูกน้าไปใช้ระหว่างการปลูก เช่นการใช้ยาปราบศัตรูสมุนไพร อาจท้าให้มีสารพิษตกค้างเหลือติดอยู่กับสมุนไพรได้ ความตื่นตัวถึงสารพิษตกคา้ งในผลผลติ ทางการเกษตรมีมากขึน้ ในปัจจุบันผู้บริโภคบางส่วนได้หาซื้อสมุนไพรซึ่งผลิตขึ้นเองตามธรรมชาติหรือปลูกโดยปราศจากการใช้สารเคมหี รือยาฆา่ แมลง 2.5 การเกบ็ รักษาวัตถดุ บิ การเกบ็ รักษาวัตถดุ ิบ ก่อนการจ้าหนา่ ย หรอื ขณะรอการแปรรูป ต้องมีการเก็บรักษาอย่างถูกวิธีก่อนที่ผลผลติ นน้ั จะมกี ารเปลี่ยนแปลง เพ่อื ให้เก็บไว้ไดน้ านและปอ้ งกนั การเสียหายทกุ ๆ ดา้ นที่อาจจะเกดิ ขึ้นได้ หากเก็บถูกวิธีผลผลิตอยู่ได้นานช่วยยืดอายุการใช้งานได้นานท่ีสุดคุณภาพของผลผลิตมีคุณภาพดีและสดท้าให้เกษตรกรมีอ้านาจในการต่อรองราคามากขึ้นสามารถขยายตลาดได้กว้างข้ึน ต้องเร่ิมต้นจากการเก็บเก่ียว,วิธีการเก็บเก่ียว ควรเก็บเก่ียวในวัยท่ีเหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้บริโภค, ความแก่ – อ่อนของผลผลิตหลงั การเกบ็ เกยี่ วจากต้นแล้วกระบวนการเผาผลาญตา่ งๆ ยังเกดิ ข้นึ ตลอดเวลา การหายใจ การคายน้า การสุกการชราภาพ และมีเชือ้ จลุ ินทรยี ต์ า่ งๆ แมลงและสตั วต์ ่างๆ คอยทา้ ลาย มวี ิธีการเก็บรกั ษาวตั ถดุ ิบไดด้ งั ต่อไปน้ี 2.5.1 การเก็บรักษาโดยใช้อุณหภูมิต่้า เพื่อชะลออัตราการหายใจ กระบวนการเผาผลาญภายในเซลของสมุนไพรให้ช้าลงชะลอการแก่และการสุกให้ช้าลง อุณหภูมิควรเหมาะสมกับชนิดและพันธ์ุของสมุนไพรมีการหมนุ เวียนของอากาศภายในหอ้ งเย็นอย่างสม่้าเสมอ เรยี บเรียงโดย นางสาวบศุ รนิ เหมือนพรอ้ ม
2.5.2 การเก็บรักษาโดยวิธีเปล่ียนแปลงส่วนประกอบของบรรยากาศ เป็นการเก็บในภาชนะบรรจุหีบห่อในภาชนะชนิดต่างๆเช่น บรรจุในเข่งมีช่องว่างมากปริมาณแก๊สชนิดต่างๆอาจเปล่ียนแปลงไม่มาก ในขณะที่บรรจุถุงพลาสติกท้าให้ออกซิเจนลดลงต่้าคาร์บอนไดออกไซด์เพ่ิมสูงขึ้นมากจนท้าให้เกิดการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนขึ้นไดเ้ ป็นการดัดแปลงบรรยากาศรอบๆพชื สมุนไพร\" โดยทั่วไปนัน้ แบ่งออกเปน็ 5 สว่ นสา้ คัญด้วยกนั คือ1.ราก2.ล้าต้น3.ใบ4.ดอก5.ผล\"พืชสมนุ ไพร\" เหล่าน้มี ลี กั ษณะล้าต้น ยอด ใบ ดอก ที่แตกตา่ งกันไปตามสายพันธุ์ แต่ส่วนตา่ งๆ ก็ท้าหน้าทเ่ี ชน่ เดยี วกนั เช่นรากก็ท้าหน้าท่ดี ูดอาหารมาเลย้ี งล้าต้นกิง่ ก้านต่างๆและใบกบั ส่วนต่างๆนนั่ เองใบก็ท้าหนา้ ท่ีปรงุ อาหารดูดออกซเิ จน คายคาร์บอนไดออกไซดอ์ อกมา ดอก ผล เมลด็ กท็ ้าหนา้ ทสี่ บื พันธ์ุกันตอ่ ไป เพอื่ ทา้ ให้พืชพนั ธนุ์ ี้แพร่กระจายออกไปเรื่อยๆไม่มีท่ีสิ้นสุดส่วนตา่ งๆของพชื ทใ่ี ชเ้ ป็นพืชสมนุ ไพร »1.รากรากของพืชมีมากมายหลายชนิดเอามาเป็นยาสมนุ ไพรได้อยา่ งดี เช่น กระชายขมิน้ ชัน ขงิ ข่า เรว่ ขมนิ้ ออ้ ย เปน็ ตน้รูปร่างและลักษณะของราก แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ1.1รากแก้ว ตน้ พืชมากมายหลายชนดิ มีรากแก้วอยู่ นบั ว่าเปน็ รากทสี่ ้าคญั มากงอกออกจาลา้ ต้นสว่ นปลาย รูปร่างยาวใหญ่เปน็ รูปกรวยดา้ นข้างของรากแกว้ จะแตกแยกออกเปน็ รากเลก็ รากนอ้ ยและรากฝอยออกมาเปน็ จ้านวนมากเพ่ือทา้ การดดู ซึมอาหารในดินไปบ้ารงุ เล้ียงส่วนต่างๆของตน้ พืชที่มีรากแก้วไดแ้ ก่ ตน้ ขเี้ หลก็ตน้ คูน เป็นตน้1.2รากฝอย รากฝอยเป็นสว่ นที่งอกมาจากลา้ ตน้ ของพืชท่ีสว่ นปลายงอกออกมาเป็นรากฝอยจา้ นวนมากลกั ษณะรากจะกลมยาวมขี นาดเทา่ ๆกันต้นพืชที่มีใบเลย้ี งเดย่ี วจะมีรากฝอย เชน่ หญ้าคา ตะไคร้ เป็นตน้ เรียบเรียงโดย นางสาวบศุ ริน เหมือนพร้อม
2.ลาต้นนบั ว่าเป็นโครงสร้างที่ส้าคัญของตน้ พืชท้ังหงายที่มีอยูส่ ามารถค้ายันเอาไว้ได้ไม่ให้โค่นลม้ ลง โดยปกติแลว้ ล้าต้นจะอยบู่ นดินแต่บางส่วนจะอยู่ใตด้ นิ พอสมควร รูปร่างของลา้ ต้นนน้ั แบ่งออกได้เปน็ 3 สว่ นดว้ ยกัน คือ ตา ข้อ ปล้อง บริเวณเหลา่ นี้จะมกี ่ิงกา้ น ใบ ดอกเกดิ ข้ึนอีกดว้ ย ซงึ่ จะทา้ ให้พืชมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปชนิดของล้าต้นพชื แบง่ ตามลักษณะภายนอกของลา้ ตน้ ได้เปน็1.ประเภทไมย้ นื ตน้2.ประเภทไม้พุม่3.ประเภทหญา้4.ประเภทไม้เล้ือย3.ใบใบเปน็ สว่ นประกอบท่ีส้าคัญของตน้ พชื ทวั่ ไป มหี น้าที่ทา้ การสงั เคราะหแ์ สง ผลิตอาหารและเปน็ สว่ นทแี่ ลกเปลีย่ นน้าและอากาศใหต้ น้ พืช ใบเกดิ จากการงอกของกงิ่ และตาใบไม้โดยทัว่ ไปจะมสี ีเขยี ว (สีเขยี วเกดิ จากสารท่ีมชี ื่อว่า\"คอลโรฟิลล\"์ อยู่ในใบของพืช)ใบของพชื หลายชนดิ ใช้เป็นยาสมุนไพรไดด้ มี าก รปู ร่างและลักษณะของใบน้ันใบทีส่ มบูรณ์มสี ว่ นประกอบรวม 3 สว่ นด้วยกนั คือ1.ตัวใบ2.กา้ นใบ3.หใู บชนดิ ของใบ แบ่งออกได้เปน็ 2 ชนิด คือ1.ชนดิ ใบเลี้ยงเดย่ี ว หมายถึงก้านใบอนั หน่ึง มีเพยี งใบเดียว เชน่ กานพลู ขลู่ ยอ กระวาน2.ชนิดใบประกอบ หมายถึงต้ังแต่ 2 ใบขนึ้ ไปท่ีเกิดขนึ้ กา้ นใบอันเดยี ว มี มะขามแขกแคบ้าน ขี้เหล็ก มะขาม เป็นต้น4. ดอกส่วนของดอกเปน็ สว่ นทสี่ า้ คัญของพืชเพื่อเปน็ การแพร่พนั ธ์ุของพืช เปน็ ลักษณะเด่นพเิ ศษของต้นไมแ้ ตล่ ะชนิด สว่ นประกอบของดอกมีความแตกต่างกนั ตามชนิดของพนั ธไ์ุ ม้และลักษณะทแี่ ตกต่างกันนเี้ ป็นข้อมูลสา้ คัญในการจา้ แนกประเภทของต้นไม้ เรียบเรียงโดย นางสาวบุศรนิ เหมอื นพรอ้ ม
รปู ร่างลกั ษณะของดอก ดอกจะต้องมสี ว่ นประกอบทสี่ า้ คัญ 5 ส่วนคือ1.ก้านดอก2.กลบี รอง3.กลีบดอก4.เกสรตัวผู้5.เกสรตัวเมยี5. ผล ผลคือส่วนหน่งึ ของพืชทีเ่ กดิ จากการผสมเกสรตัวผกู้ ับเกสรตวั เมียในดอกเดยี วกนัหรอื คนละดอกกไ็ ด้ มลี ักษณะรูปร่างทแี่ ตกต่างกันออกไปตามประเภทและสายพันธุ์รูปร่างลกั ษณะของผลมหี ลายอยา่ ง ตามชนิดของตน้ ไม้ทแ่ี ตกตา่ งกัน แบง่ ตามลักษณะของการเกดิ ได้รวม 3 แบบ1.ผลเดย่ี ว หมายถึง ผลท่เี กิดจากรังไขอ่ นั เดียวกนั2.ผลกล่มุ หมายถึง ผลทเี่ กดิ จากปลายชอ่ ของรังไขใ่ นดอกเดียวกัน เชน่ นอ้ ยหนา่3.ผลรวม หมายถึง ผลทเี่ กดิ มาจากดอกหลายดอก เช่น สบั ปะรดมีการแบ่งผลออกเปน็ 3 ลกั ษณะคือ1.ผลเนือ้2.ผลแห้งชนิดแตก3.ผลแหง้ ชนดิ ไม่แตก เรียบเรยี งโดย นางสาวบศุ ริน เหมอื นพร้อม
เอกสารอา้ งอิงเกษตรพอเพียง ดอท คอม.ทเุ รยี นหมอนทอง.[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: www.kasetporpeang.com/images/tour/agr23.JPG.สืบค้น(10 มกราคม 2551)คณาจารย์คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร. 2546. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร. กรุงเทพฯ : คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.งานส่งเสริมการเกษตร.เงาะโรงเรียน. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: http://gotoknow.org/file/jaithipd /DSC00650.JPG. สืบค้น(10 มกราคม 2551)จรงิ แท้ ศิรพิ านิช. 2549. สรีรวทิ ยาและเทคโนโลยหี ลังการเกบ็ เกี่ยวผกั และผลไม้ . กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.ดนยั บณุ ยเกยี รติ และนิธิยา รัตนาปนนท์. 2535. การปฏบิ ัตกิ ารหลงั การเกบ็ เก่ียวผกั และผลไม้. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์.บทเรยี นออนไลน์ของโรงเรยี นบดินทรเดชา. นา้ กระเจย๊ี บ.[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก:http://bodin2.exteen.com/20070117/roselle. สบื คน้ (10 มกราคม 2551)พูลทรพั ย์ เจตลลี า. 2546 . ครวั ดอกไม้. กรุงเทพฯ : สีดา.เมฆ จันทน์ประยรู . 2543. ผกั พนื้ บา้ น. กรุงเทพฯ : แสงแดด. . 2541. ผักสวนครวั . กรงุ เทพฯ : แสงแดด.ระพีพรรณ ใจภกั ดี. 2544. ผกั ดอก. กรงุ เทพฯ : แสงแดด. . 2544. ผกั ใบ. กรงุ เทพฯ : แสงแดด. . 2544. ผกั ผล. กรุงเทพฯ : แสงแดด. . 2544. ผกั หัวและผกั ฝกั . กรงุ เทพฯ : แสงแดด.วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.ออ้ ย. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://th.wikipedia.org/wiki/. สืบค้น (10 มกราคม 2551)ศูนย์ประสานงานโครงการปฏิบัติการหาร2. Energyfantasia. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.energyfantasia.com/ef4/webboard/viewboard.php?Id=11199. สืบค้น (10 มกราคม 2551)สถาบนั การแพทย์ไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. 2542. ผกั พ้นื บา้ นภาคเหนอื .กรุงเทพฯ : องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ .สนกุ ! ผหู้ ญงิ .ผิวขาวหน้าใสด้วยแอปเปิล้ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: http://women.sanook.com/beauty/howto/howto_27899.php.สบื คน้ (10 มกราคม2551)ส้านักส่งเสรมิ และถา่ ยทอดเทคโนโลยี. ลาไย.[ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: www.ttc.most.go.th / journal / food/ Lamyai.htm. สบื ค้น (10 กรกฎาคม 2551)สมภพ ฐิตะวสนั ต์. 2537. หลกั การผลติ ผกั . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพส์ หมิตรออฟเซต.อาชวี ศึกษา, กรม. 2540. เอกสารประกอบการสอนผลติ ภัณฑ์สมุนไพร. เอกสารอัดส้าเนา. เรียบเรียงโดย นางสาวบศุ รนิ เหมอื นพร้อม
ฮอลเิ ดย์ปาร์คเขาใหญ่รีสอรท์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.holidayparkkhaoyai.com/.../grape4.jpg.สืบคน้ (10 มกราคม 2551)Bluekoff บา้ นดอยช้าง. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.bluekoff.com.สืบคน้ (10 มกราคม 2551) เรียบเรยี งโดย นางสาวบุศริน เหมือนพรอ้ ม
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: