ใบความรู้ รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เรือ่ ง การอา่ นออกเสียงรอ้ ยแก้ว หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ อา่ นออกเสียงเรียงภาษา โรงเรียนลาปางกลั ยาณี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ การอ่านอาจแบง่ เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ อย่าง ดังน้ี ๑. การอ่านเงียบ การอ่านเงียบหรือการอ่านในใจ มีบทบาทสาคัญต่อชีวิต ประจาวันของคน ในยุคปัจจุบันเป็นอย่างมาก การอ่านประเภทน้ีมีประโยชน์เป็นอย่างมากท้ังทางตรงและทางอ้อมแก่ผู้อ่าน นักเรียน ผู้เรียนดีเด่น ได้คะแนนยอดเยี่ยมจากการสอบมักเป็นนักเรียนที่มีความสามารถในการอ่าน นักธุรกิจหรือผู้มีอาชีพอ่ืน และผู้ประสบความสาเร็จในชีวิต มักเป็นผู้มีความสนใจในการอ่านเช่นเดียวกัน การอ่านเงียบหรือการอ่านในใจ มีด้วยกัน หลายชนิด เช่น การอ่านข่าวหนังสือพิมพ์ อ่านนิยาย นวนิยาย หรืออ่านเร่อื งบนั เทงิ อ่านบทความหรอื สารคดี อ่านตาราเรยี น หรือขอ้ สอบ เป็นตน้ ๒.การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียงคือการเปล่งเสียงตามตัวอักษรที่ปรากฏให้ถูกต้องตาม อกั ขรวิธีหรือโดยใช้อวัยวะเก่ียวกับ การออกเสียง เช่น ริมฝี ปาก เพดาน ล้ิน ฟัน หรอื กล่องเสียง เป็นต้น ใหเ้ คล่อื นไหวตามลักษณะของฐานที่เกิดแห่งเสียงนนั้ ๆ การอา่ นออกเสยี งมีหลายชนดิ เช่น การอา่ นออกเสียงเม่ือเรมิ่ เรียน การอา่ นออกเสยี งให้ถูกต้องตามหลกั ภาษาหรืออักขรวธิ ี การอ่านออกเสียงเพ่ือทดสอบวัดผล การอา่ นขา่ วทางวิทยุ การอา่ นข่าวทางโทรทศั น์ การอา่ นรายงานหรือการอา่ นกลา่ วตอบรายงาน การอา่ นบทพากยภ์ าพยนตรห์ รอื บทละคร การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคาท่ีมีผู้เรียบเรียง หรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่ง เสียงและวางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรื่องท่ีอ่าน มีการเล่นลีลาของเสียงไป ตามเจตนารมณ์ของผู้ประพนั ธ์ เพ่อื ถ่ายทอดอารมณน์ ั้น ๆ ไปสู่ผู้ฟัง ซงึ่ จะทาใหผ้ ู้ฟังเกิดอารมณ์คล้อยตาม ไปกบั เรอื่ งราว หรอื รสของคาประพนั ธ์ทอ่ี า่ น การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ เปน็ การอ่านให้ผู้อืน่ ฟงั เสียงของเรา ผอู้ า่ นจะตอ้ งปฏิบตั ิตามหลกั ดงั น้ี ๑.การยืนต้องยืนตรงแต่ไม่เกร็งเท้าท้ังสองห่างกัน พอสมควร น้าหนักตวั ตกอยู่ที่ฝ่าเท้า ท้ัง ๒ ข้าง ถ้า น่งั ต้องนง่ั ให้เรยี บรอ้ ย หลังตรงไมแ่ ข็งทือ่ ขาวางแนบกัน ไม่ควรนัง่ ไขว่ห้าง ๒. การจบั หนังสือ จบั หนงั สอื ใหม้ ั่น ให้ช่วงสายตากับ ตวั หนงั สอื อย่ใู นระดับ ที่เหมาะสม
๓. กอ่ นอ่านควรนาเนื้อหาทอ่ี ่านมาแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้องเหมาะสม ๔.อา่ นให้คลอ่ งอยา่ งตะกกุ ตะกัก ๕.อ่านให้ถูกต้องตามอั กขรวิธีโดยยึดการอ่านออกเสียงตามหลักพจนานุกรมฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ๖.อา่ นออกเสยี งให้ชัดเจนรวมท้งั ตวั ร ล และคาควบกล้าดว้ ย ๗. ใช้น้าเสยี งใหส้ อดคลอ้ งกับเนื้อเร่อื งท่ีอา่ น ๘. ไมอ่ ่านตกเตมิ หรอื ตตู่ ัว ๙. ไมอ่ า่ นเสยี งดัง หรือค่อยเกินไป ๑๐. ไม่อ่านเรว็ หรือช้า เกนิ ไป ๑๑. มีการเน้นเสียงหนกั เบาในท่ีท่คี วรเนน้ ๑๒.มีการสบสายตากับ ผู้ฟังเปน็ คร้งั คราว ไมใ่ ชก่ ้มหน้ากม้ ตาอ่านอย่ตู ลอดเวลา การอ่านตีบท เป็นการอ่านออกเสียงโดยถ่ายทอดสารจากหนังสือหรือข้อความท่ีผู้แต่งแสดงไว้ให้ ส่ือไปถึงผู้อ่าน จึงจาเป็นต้องรักษาใจความหรือสาระเดิมไว้ให้มากที่สุด ท้ังในด้านความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ถ้อยคา สาระ อารมณ์ และความรูส้ ึก หรือบรรยากาศของเรือ่ ง ขน้ั ตอนการฝึกทักษะการอ่านตีบท ๑.อา่ นเนือ้ หาทง้ั หมดให้เขา้ ใจเสยี ก่อน ๒. แบง่ วรรคตอนใหเ้ หมาะสม ๓. พยายามตีเจตนาของผูแ้ ต่ง ตลอดจนบรรยากาศของเร่ืองตามเนอ้ื หาตอนน้ัน ๆ อย่างละเอียด ๔. ทดลองอา่ นโดยใชอ้ ารมณ์ ความรสู้ ึก และใชน้ า้ เสียงให้เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั บรรยากาศ ๕. ฝกึ อา่ นซ้า ๆ จนเกดิ ทกั ษะ ลักษณะท่าทางในการอ่าน ลกั ษณะทา่ ทางในการอ่านเปน็ องค์ประกอบท่สี าคัญของการเริม่ ต้นอา่ น ๑. การน่ังหรือการยืน ควรกะระยะให้ตัวอักษรห่างจากสายตาประมาณ ๑๒ น้ิว ซ่ึงเป็นระยะ ของคนที่สายตาปกติ โดยสายตาทามุมกับตัวอักษรประมาณ ๔๕ องศา มีแสงสว่างเพียงพอที่จะมองเห็น ตวั อักษรชัดเจน ถา้ อยู่ในท่านั่งอา่ น ควรเป็นท่าน่ังทีเ่ ปน็ ไปตามธรรมชาติ ไม่น่งั หลังโค้งหรอื งอ ๒. การวางหนังสือ วางหนังสือในตาแหน่งที่ตรง ไ่ม่เอียงหรืตะแคง ทาให้สายตาต้องปรับทิศทางใน การมองตวั อักษรให้ชดั เจน ๓. การจับหนังสือ ลักษณะการจับต้องม่ันคงไม่ให้หนังสือตกหล่นจากมือได้ง่าย ถ้าอยู่ในท่ายืน ส่วนมากมักจะใช้แขนซ้ายรองส่วนปก มือซ้ายจับส่วนบนของหนังสือ มือขวาจับส่วนปกทางด้านขวา กะระยะห่างระหว่างตัวอักษรกับสายตาประมาณ ๑๒ นิ้ว และถือหนังสือให้ตรงกับระดับสายตา และจบั ให้มน่ั คง
วิธกี ารเคล่ือนสายตา การอ่านควรเคลื่อนตาจากซ้ายไปขวาตามตัวอักษรแต่ไม่เคลื่อนใบหน้า ตามสายตา การเคลื่อน ใบหน้าตามสายตาจะทาให้เกิดอาการเม่อื ยกบั การเคลือ่ นใบหน้าทาใหเ้ กิดอาการเหน่ือยล้าทีจ่ ะอา่ น แบบฝกึ อ่านรอ้ ยแก้ว สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งตามเสด็จพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ในการทรงงานแทบจะทุกพ้ืนที่ พระราชทานสัมภาษณ์ในรายการวิทยุ พูดจาประสาช่าง ทางสถานีวิทยุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่า พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวทรงเน้นเร่ืองของการคิดและทาด้วยตนเองอย่างมาก การท่ีท่านใช้งานต่าง ๆ ก็ทราบว่าท่านไม่ต้องการบริการจากเราเท่าไร แต่ท่านพยายามสอนให้รู้จักทาอะไรด้วย ตนเอง ตอนน้ัน ท่านให้ตาราเกี่ยวกับแหล่งน้าเป็นภาษาอังกฤษ ให้มาแปลเป็นภาษาไทย พอดีมีเพื่อนคนหนึ่งเป็นวิศวกรมาเจอเข้า บอกว่า โธ่เอ๊ย! แปลให้แป๊บเดียว ง่ายนิดเดียว เขาแปลเสร็จ พิมพ์เสร็จเรียบร้อยไปถวายให้ได้ แทนท่ีจะได้ดีท่ีหางานมาถวาย ทาเสร็จ กลับโดนกร้ิวว่า รู้สึกว่าจะมีบุญเกินไปหน่อย มีบุญในทางไม่ดี ระวัง อีกหน่อยจะไม่มีบุญ คือ ทา่ นตอ้ งการให้ทาด้วยตัวเอง ไม่ใช่ว่ามีบุญ พอทาอะไร มีคนมาช่วยตลอดเวลา เพราะ ท่านเอง ทาทุกอย่างด้วยมือ การทาอะไรด้วยมือได้ ไม่ใช่หมายความว่ามือทาเอง มันมา จากสมอง สมองส่ังให้มือทา จึงจะทาได้ งานช่าง คือ งานท่ีผนวกกันระหว่างสมองกับมือ เพราะฉะน้ันต้องทาเอง ขีดเอง ลูบคลามันไป แล้วมันจะได้จากมือท่ีลูบคลา จากตาที่ดู ย้อนกลับมาสมองทาใหค้ ดิ อะไรขึ้นมาได้
ใบความรู้ รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ือง การอา่ นออกเสียงรอ้ ยกรอง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ อา่ นออกเสียงเรียงภาษา โรงเรยี นลาปางกลั ยาณี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ การอา่ นออกเสยี งร้อยกรอง การอ่านออกเสยี งร้อยกรอง อ่านได้ ๒ วิธี ได้แก่ ๑. อ่านทานองธรรมดา หรือทานองสามัญคือการอ่านบทร้อยกรองเป็นเสียงพูด ปกติเหมือนอ่าน ร้อยแกว้ แต่มจี งั หวะ วรรคตอน มีการเน้น สัมผัสตามลกั ษณะบังคบั ของคาประพันธ์แต่ละชนดิ ๒. อ่านทานองเสนาะ คือการอ่านเป็นทาน้องเสียงดนตรี มีการเอ้ือนเสียง เน้น สัมผัสตามจังหวะ ลีลา และท่วงทานองท่ีแตกต่างไปตามลักษณะบังคับของของบทประพันธ์ ผู้อ่านต้องใส่เทคนิค ในการทอดเสยี งเอ้ือนเชอ่ื มโยง มีลกู เล่น ลกู เกบ็ อย่างมีศลิ ปะ วัตถุประสงค์ในการอา่ นทานองเสนาะ การอ่านทานองเสนาะ เป็นการอ่านให้ผู้อ่ืนฟัง ฉะน้ันทานองเสนาะต้องอ่านออกเสียง เสียงทาให้ เกิดความรู้สกึ ทาใหเ้ หน็ ความงาม เหน็ ความไพเราะ เห็นภาพพจน์ ผู้ฟงั สัมผัสด้วยเสียงจึงจะเข้าถงึ รสและ ความงามของบทร้อยกรองท่ีเรียกว่า อ่านแล้ว ฟังพร้ิงเพราะเสนาะโสต การอ่านทานองเสนาะจึงมุ่งให้ ผู้ฟงั เข้าถึงรสและเหน็ ความงามของบทร้อยกรอง รสในการอา่ นทานองเสนาะ ๑. รสถอ้ ย (คาพูด ) แตล่ ะคามีรสในตวั เอง ผูอ้ ่านจะต้องอ่านให้เกิดรสถอ้ ย ๒. รสความ(เร่ืองราวที่อ่าน)ข้อความท่ีอ่านมีเร่ืองราวเกี่ยวกับอะไรเช่น โศกเศร้า สนุกสนาน ต่นื เต้นโกรธรกั เวลาอ่านต้องอ่านใหม้ ีลีลาไปตามลักษณะของเน้ือหานั้นๆ ๓. รสทานอง (ระบบเสียงสูงต่าซ่ึงมีจังหวะส้ันยาว) ในบทร้อยกรองไทยจะประกอบด้วยทานอง ต่าง ๆ เช่น ทานอง โคลง ทานองฉันท์ ทานองกาพย์ ทานองกลอนและทานองร่าย ผู้อ่านจะต้องอ่าน ให้ถูกต้องตามทานองของร้อยกรองน้ัน ๔. รสคล้องจอง ในบทร้อยกรองมีคาคล้องจองเวลาอ่านทานองเสนาะคาคลอ้ งจองนนั้ ให้ออกเสยี ง ตอ่ เนอ่ื งกันโดยเนน้ สมั ผสั นอกเป็นสาคญั ๕. รสภาพเสียงทาให้เกิดภาพ ในแต่ละคาจะแฝงไปด้วยภาพในการอ่านให้เห็นภาพต้องใช้เสียง สงู -ตา่ ดงั -คอ่ ย แลว้ แตจ่ ะให้เกิดภาพพจน์อยา่ งไร
หลักการอา่ นทานองเสนาะ ๑. ก่อนอ่านทานองเสนาะใหแ้ บ่งคาแบง่ วรรคใหถ้ กู ต้องตามหลกั คาประพนั ธ์เสยี ก่อนโดยตอ้ งระวัง ในเร่ืองความหมายของคาด้วยเพราะคาบางคาอ่านแยกคากัน ไม่ได้ เชน่ “ สร้อยคอขนมยุระ ยงู งาม ” (ขน-มยรุ ะ) ๒. อา่ นออกเสยี งธรรมดาให้คล่องกอ่ น ๓. อา่ นให้ชัดเจนโดยเฉพาะออกเสยี ง ร ล และคาควบกล้าใหถ้ ูกตอ้ ง ๔. อ่านใหเ้ อ้ือสมั ผัสเพื่อใหเ้ กดิ เสียงสมั ผัสทีไ่ พเราะ เช่น “ พระสมทุ รสุดลกึ ล้นคุณนา ” (อ่านวา่ พระ-สะ-หมุด-สดุ -ลกึ -ลน้ -คน-นะ-นา) ๕. ระวัง ๓ ต คอื อย่าใหต้ กหล่น อยา่ ตอ่ เติม และอย่าตูต่ ัว ๖. อ่านให้ถูกจังหวะ คาประพันธ์แต่ละประเภทจะมีจังหวะแตกต่างกันต้องอ่านให้ถูกจังหวะตาม แบบแผนของคาประพนั ธ์นน้ั ๆ ๗.อ่านให้ถูกตอ้ งทานองของคาประพนั ธ์น้ันๆ ๘. ผู้อ่านต้องใส่อารมณ์ตามรสความของคาประพันธ์น้ันๆ เช่น รสรักโศก ต่ืนเต้นโกรธแล้ว ใส่ นา้ เสียงใหส้ อดคล้องกับรสหรืออารมณต์ ่าง ๆ เหลา่ นั้น ๙.อ่านให้เสยี งดัง พอที่จะไดย้ ินกัน ทั่ว ถงึ ๑๐. เวลาอ่านอยา่ ใหเ้ สียงขาดเป็นช่วง ๆ ตอ้ งให้เสยี งตดิ ตอ่ กันตลอด ๑๑. เวลาจบให้ทอดเสียงชา้ ๆ
ใบความรู้ที่ ๓ รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทยพืน้ ฐาน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่อื ง การอ่านจับใจความสาคัญ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ อ่านออกเสยี งเรียงภาษา โรงเรยี นลาปางกัลยาณี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ หมายถึง ใจความที่สาคัญ และเด่นท่ีสุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้า ท่ีสามารถ ครอบคลุมเนื้อความในประโยคอ่ืน ๆ ในย่อหน้านั้นหรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเด่ียว ๆ ได้โดยไม่ต้องมี ประโยคอ่ืนประกอบ ซ่ึงในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคในความสาคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมาก ไม่เกนิ ๒ ประโยค หมายถึง ใจความหรือประโยคที่ขยายความประโยค ใจความสาคัญ เป็นใจความสนับสนุนใจความสาคัญใหช้ ัดเจนขึ้น อาจเป็นการอธบิ ายให้รายละเอียด ให้คา จากัดความยกตัวอย่างเปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด ส่วนที่ไม่ใช่ ใจความสาคัญ และไม่ใชใ่ จความรอง แต่ช่วยขยายความให้มากขึน้ คือรายละเอยี ด หมายถึง การอ่านเพ่ือจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสาคัญหลักของ ข้อความหรือเร่ืองท่อี า่ น เป็นข้อความที่คลุมข้อความอ่ืน ๆ ในย่อหนา้ หนึง่ ๆ ไวท้ งั้ หมด ๑. ใจความสาคัญเป็นข้อความที่ทาหน้าท่ีคลุมใจความของข้อความอื่น ๆ ในตอนนั้นๆ ได้หมด ขอ้ ความนอกนน้ั เป็นเพียงรายละเอียดหรือส่วนขยายใจความสาคัญเทา่ นนั้ ๒. ใจความสาคัญของข้อความหน่งึ ๆ หรือยอ่ หนา้ หนึง่ ๆ ส่วนมากจะมเี พยี งประการเดยี ว ๓. ใจความสาคัญส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคเดียวหรือประโยคซ้อนก็ได้ แตใ่ นบางกรณีใจความสาคญั ไม่ปรากฏเปน็ ประโยค เปน็ เพียงใจความที่แฝงอยู่ในข้อความตอนนั้น ๆ ๔. ใจความสาคญั ทม่ี ลี ักษณะเปน็ ประโยคส่วนมากจะปรากฏอยู่ตน้ ข้อความ ๑. ตัง้ จดุ มุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน ๒. อ่านเรื่องราวอยา่ งครา่ ว ๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสาคญั ของแต่ละย่อหนา้ ๓. เมอื่ อา่ นจบให้ตง้ั คาถามตนเองว่า เรือ่ งท่ีอา่ น มีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมอ่ื ไหรอ่ ยา่ งไร ๔. นาสง่ิ ที่สรปุ ไดม้ าเรยี บเรียงใจความสาคัญใหม่ดว้ ยสานวนของตนเองเพื่อให้เกิดความสละสลวย
วิธีการจับใจความมีหลายอยา่ งข้ึนอยู่กับความชอบว่าอย่างไร เช่น การขีดเสน้ ใต้ การใช้สตี ่างๆ กัน แสดงความสาคัญมากน้อยของข้อความ การบันทึกย่อเป็นส่วนหนึ่งของการอ่านจับใจความสาคัญท่ีดี แต่ผู้ที่ย่อควรย่อด้วยสานวนภาษา และสานวนของตนเองไม่ควรย่อด้วยการตัดเอาข้อความสาคัญมาเรียง ตอ่ กัน เพราะอาจทาให้ผู้อ่านพลาดสาระสาคัญบางตอนไปอันเป็นเหตุให้การตีความผิดพลาดคลาดเคล่ือน ได้ วธิ จี บั ใจความสาคญั มีหลักดงั น้ี ๑. พจิ ารณาทีละย่อหนา้ ๒. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่างสานวนโวหาร อุปมาอุปไมย (การเปรียบเทียบ) ตวั เลข สถิติตลอดจนคาถามหรอื คาพดู ของผ้เู ขียนซึ่งเป็นสว่ นขยายใจความสาคัญ ๓. สรปุ ใจความสาคัญดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง ใจความสาคญั ของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดงั นี้ ๑. ประโยคใจความสาคญั อยตู่ อนต้นของยอ่ หน้า ๒. ประโยคใจความสาคัญอยตู่ อนกลางของยอ่ หน้า ๓. ประโยคใจความสาคัญอยตู่ อนท้ายของย่อหนา้ ๔. ประโยคใจความสาคัญอยตู่ อนตน้ และตอนท้ายของย่อหน้า ๕. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (ในกรณีใจความสาคัญหรือความคิด สาคัญ อาจอยู่ รวมในความคิดย่อย ๆ โดยไม่มีความคิดท่ีเป็นประโยคหลัก) หลัก การอ่านจับใจความ สาคญั ใหเ้ ข้าใจงา่ ยและรวดเรว็ ๑. สารวจส่วนประกอบของหนังสือเช่น ชื่อเรื่อง คานาสารบัญ ฯลฯ เพราะ ส่วนประกอบของ หนังสอื จะทาให้เกดิ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องหรือหนงั สือทีอ่ า่ นไดก้ ว้างขวางและรวดเรว็ ๒. ตัง้ จุดมุ่งหมายในการอ่านเพือ่ เป็นแนวทางใช้กาหนดวิธอี ่านใหเ้ หมาะสมและจับใจความหรือหา คาตอบได้รวดเร็วขึ้น โดยจับใจความให้ได้ว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่อย่างไร แล้ว นามาสรุปเป็น ใจความสาคัญ ๓. มีทักษะในการใช้ภาษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ มีประสบการณ์ หรือภูมิ หลังเก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่าน มีความเข้าใจลักษณะของหนังสือเพราะหนังสือแต่ละประเภทมีรูปแบบการแต่ง และเป้าหมายของเรือ่ งทีแ่ ตกตา่ งกัน ๔. ใช้ความสามารถในด้านการแปลความหมายของคาประโยค และข้อความต่าง ๆ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ๕. ใชป้ ระสบการณ์เก่ียวกับเรื่องทอี่ า่ นมาประกอบจะช่วยใหเ้ ข้าใจและจบั ใจความได้ง่ายข้นึ
หมายถึง การอ่านท่ีต้องการแยกแยะเร่ืองที่อ่านให้ได้ว่า ส่วนใดเป็นใจความหรือข้อความที่สาคัญท่ีสุด และส่วนใดเป็นข้อความประกอบ การจับใจความจะช่วยให้ ผู้อ่านเข้าใจว่าผู้เขียนต้องการสอนอะไรอย่างถูกต้อง โดยผู้อ่านต้องใช้ความสามารถทางภาษา ประสบการณ์หรือภูมิหลังในด้านการแปลความหมายของคา ข้อความเพ่ือให้จับใจความได้รวดเร็วขึ้น ทกุ คนสามารถฝกึ ฝนการเปน็ นักอา่ นจบั ใจความได้ดว้ ย วธิ ีการต่อไปน้ี ๑. สร้างนิสัยรักการอ่าน โดยพยายามฝึกอ่านข้อความทุกประเภท แม้แต่ป้ายประกาศต่าง ๆ ก็ควร อ่าน การฝึกอ่านบ่อย ๆ จะทาให้เกิดนิสัยรักการอ่าน อ่านหนังสือได้เร็ว ช่างสังเกตและจดจา ขอ้ ความต่าง ๆ ได้ดีขึ้น ๒. หัดใช้พจนานุกรม เม่ืออ่านแล้วพบศพั ท์ท่ไี ม่เขา้ ใจอยา่ ท้อถอยหรือปล่อยผ่าน การใช้พจนานกุ รม จะทาให้นักเรียนรคู้ าศัพท์มากขนึ้ ๓. จัดบันทึกการอ่าน ขณะท่ีอ่านควรมีสมุดจัดบันทึก เพ่ือบันทึกถ้อยคา ท่ีน่าสนใจ แปลกใหม่ ไพเราะ มีคติ ขอ้ คิด ความรใู้ หม่ ๆหรือข้อความท่นี ักเรยี นประทับใจ โดยบันทกึ ชอื่ หนงั สอื และผ้เู ขียน ไว้ด้วย และหากเป็นหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านบ่อย ๆ อาจใช้ปากกาขีดเน้น ข้อความหรือแปะ กระดาษสีคั่นหน้าที่มขี ้อความดงั กลา่ ว ๔. ฝึกจับใจความสาคัญทีละย่อหน้า การอ่านจับใจความสาคัญน้ัน ควรเร่ิมต้นจากการจับใจความ สาคัญในแต่ละย่อหน้าให้ได้ถูกต้องแม่นยา เสียก่อน เพราะงานเขียนทด่ี ีน้ันแมใ้ จความหลายอย่างแต่ ใน ๑ ย่อหน้า มีใจความสาคัญเพียง ๑ ใจความเท่านั้น หากเรื่องมีหลายย่อหน้า แสดงว่ามีใจความ สาคญั หลายใจความเมือ่ นาใจความสาคญั ของแตล่ ะย่อหนา้ มาพิจารณารว่ มกนั กจ็ ะทาให้สามารถจับ ใจความสาคญั ของเรอื่ งไดใ้ นทีส่ ุด
ใบความรทู้ ี่ รหสั วชิ า ท๒๑๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่อื ง ลักษณะเสยี งในภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ พัฒนาทักษะการส่ือสาร โรงเรยี นลาปางกัลยาณี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ หมายถึง เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อส่ือความหมายระหว่างกัน ซ่ึงการที่เสียง ในภาษาจะเกิดข้ึนได้นั้น ก็ต้องอาศัยอวัยวะต่าง ๆ ที่ทาให้เกิดเสียง สาหรับอวัยวะที่ทาให้เกิดเสียง ได้แก่ ริมฝปี าก ปมุ่ เหงือก ฟนั ลน้ิ เพดานปาก ล้นิ ไก่ กล่องเสยี ง หลอดลม และปอด ๑.) เสียงสระ หรือเสยี งแท้ คือ เสยี งทเี่ ปลง่ ออกมาจากลาคอโดยตรง ไม่ถูกสกัดก้ันด้วยอวัยวะ ส่วนใดในปาก แล้วเกิดเสียงก้องกังวาน และออกเสียงได้ยาวนาน ซ่ึงเสยี งสระในภาษาไทยแบ่งออกเปน็ สระเดย่ี ว มีจานวน ๑๘ เสยี ง โดยสระเดีย่ ว แบง่ ออกเป็น สระเสยี งสนั้ (รสั สระ) ได้แก่ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ สระเสียงยาว (ทฆี สระ) ได้แก่ อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ สระประสม มีจานวน ๖ เสียง โดยสระประสม แบ่งออกเปน็ สระเสียงสน้ั (รสั สระ) ได้แก่ เอียะ เกิดจากการประสมของ สระอิ + สระอะ เออื ะ เกดิ จากการประสมของ สระอึ + สระอะ อัวะ เกดิ จากการประสมของ สระอุ + สระอะ สระเสียงยาว (ทฆี สระ) ได้แก่ เอีย เกดิ จากการประสมของ สระอี + สระอา เอือ เกิดจากการประสมของ สระอื + สระอา อัว เกิดจากการประสมของ สระอู + สระอา
*เพอื่ ใหง้ ่ายต่อความเข้าใจ และจะไดจ้ าง่ายเลยจบั เอาสระเด่ยี วและสระประสมทงั้ หมด มาเขียนในรปู ของตารางได้ดังต่อไปน้ี สระเสยี งส้นั (รสั สระ) สระเสยี งยาว (ทีฆสระ) สระเดย่ี ว (๑๘ เสียง) อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม (๖ เสียง) เอยี ะ (อ+ิ อะ) เอีย (อ+ี อา) เออื ะ (อึ+อะ) เออื (อื+อา) อัวะ (อุ+อะ) อัว (อู+อา) นอกจากเสยี งสระทง้ั ๒๔ เสียงน้แี ลว้ ยงั มรี ปู สระอีก ๘ รูป ท่ไี ม่รวมอยูใ่ นเสยี งข้างตน้ ซง่ึ สาเหตุ ทมี่ นั ไมถ่ ูกรวมอยดู่ ้วยกเ็ พราะ สระเหล่าน้ีมเี สยี งซา้ กับเสียงแท้นนั่ เอง แถมยังมีเสยี งพยัญชนะประสมอยู่ ดว้ ย สาหรับสระ ๘ รูปจาพวกน้ีเรียกวา่ “สระเกิน” ไดแ้ ก่ “อา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ” อา = อะ + ม (เกิดจากเสยี งสระอะ ผสมกับเสียงพยัญชนะ ม.ม้า) ไอ = อะ + ย (เกดิ จากเสยี งสระไอ ผสมกับเสียงพยญั ชนะ ย.ยักษ์) ใอ = อะ + ย (เกิดจากเสียงสระใอ ผสมกับเสียงพยัญชนะ ย.ยักษ)์ เอา = อะ + ว (เกดิ จากเสียงสระเอา ผสมกับเสยี งพยญั ชนะ ว.แหวน) ฤ = ร + อึ (เกดิ จากเสียงพยัญชนะ ร.เรือ ผสมกับเสยี งสระอึ) ฤๅ = ร + อื (เกดิ จากเสียงพยัญชนะ ร.เรือ ผสมกับเสยี งสระอี) ฦ = ล + อึ (เกิดจากเสยี งพยัญชนะ ล.ลงิ ผสมกับเสียงสระอ)ึ ฦๅ = ล + อื (เกิดจากเสยี งพยัญชนะ ล.ลิง ผสมกับเสียงสระอ)ี
๒.) เสยี งพยัญชนะ หรือเสยี งแปร คือ เสียงทเ่ี ปล่งออกมาจากลาคอ แลว้ กระทบกบั อวยั วะสว่ น ใดส่วนหนง่ึ ในปาก เช่น คอ ปุ่มเหงือก ฟัน รมิ ฝปี าก ซงึ่ ทาให้เกดิ เป็นเสยี งตา่ ง ๆ กัน โดยพยัญชนะไทยมี ๒๑ เสยี ง ๔๔ รปู ดังต่อไปน้ี พยญั ชนะ ๒๑ เสียง พยัญชนะ ๔๔ รูป ๑. ก ก ๒. ค ขฃคฅฆ ๓. ง ง ๔. จ จ ๕. ช ชฌฉ ๖. ซ ซศษส ๗. ด ดฎ ๘. ต ตฏ ๙. ท ทธฑฒถฐ ๑๐. น นณ ๑๑. บ บ ๑๒. ป ป ๑๓. พ พภผ ๑๔. ฟ ฟฝ ๑๕. ม ม ๑๖. ย ยญ ๑๗. ร ร ๑๘. ล ลฬ ๑๙. ว ว ๒๐. ฮ ฮห ๒๑. อ อ
๓.) เสยี งวรรณยกุ ต์ หรอื เสียงดนตรี ก็ คือ เสยี งสระ หรือเสยี งพยญั ชนะ ซึ่งเวลาเปล่งเสียงแล้วเสยี งจะมี ระดบั สูง ต่า เหมือนกบั เสยี งดนตรี สาหรบั เสียงวรรณยกุ ต์ที่ใชใ้ นภาษาไทยมี ๕ เสียง ดังต่อไปน้ี เสียงวรรณยุกต์ รปู วรรณยุกต์ ตัวอย่าง ๑. เสยี งสามญั (ไม่มีรปู ) กนิ ตา งง ๒. เสียงเอก ่ ขา่ ว ปาก ศัพท์ ๓. เสยี งโท ้ ชอบ น่งั ใกล้ ๔. เสยี งตรี งิว้ รัก เก๊ียะ ๕. เสยี งจตั วา ฉัน หนงั สอื เก ทบทวนความรู้ : บอกเสยี งของพยางค์ในประโยคต่อไปน้ี ประโยค เสยี งวรรณยกุ ต์ จัตวา สามัญ เอก โท ตรี หัวล้านได้หวี - - ได้ ล้าน หัว / หวี ดินพอกหางหมู ดนิ - พอก - หาง / หมู แผ่นดนิ กลบหน้า ดนิ แผ่น / กลบ หนา้ - - ฝนตกขห้ี มไู หล - ตก ขี้ - ฝน / หมู / ไหล ขี่ช้างจับตก๊ั แตน แตน ขี่ / จบั - ช้าง / ตก๊ั - พยางค์ หมายถึง เสียงทีเ่ ปลง่ ออกคร้งั หน่ึง ๆ โดยเสียงนนั้ จะมีความหมายหรอื ไมม่ คี วามหมายก็ ได้ โดยเสียงที่เปล่งออกมา ๑ ครงั้ เรยี กวา่ ๑ พยางค์ หรือถ้าเปลง่ เสียงออกมา ๒ ครั้ง เรียกว่า ๒ พยางค์ เช่น ประวัตศิ าสตร์ อา่ นวา่ ประ-หวัด-ติ-สาด มีจานวน ๔ พยางค์ สวรรค์ อา่ นว่า สะ-หวนั มีจานวน ๒ พยางค์ องค์ประกอบของพยางค์ พยางค์หนึ่งจะประกอบด้วยเสียงอย่างน้อยที่สุด ๓ เสียง คือ เสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ (บางพยางค์อาจมีเสียงพยัญชนะท้ายเพ่ิมอีก ๑ เสยี ง ซง่ึ เรยี กวา่ “ตวั สะกด” )
เชน่ คาวา่ “ ทหาร” (อ่านวา่ ทะ- หาน) ประกอบดว้ ย - เสียงพยัญชนะตน้ คือ ท. - เสียงสระ คอื สระอะ (ทะ) และสระอา (หาน) - เสียงวรรณยกุ ต์ คอื เสยี งสามญั (ทะ) และเสยี งจัตวา (หาน) - เสยี งพยัญชนะท้ายพยางค์ คอื หาน ซ่งึ ตรงกบั มาตราตวั สะกด แม่ กน เสยี ง พยญั ชนะในภาษาไทยมี ๒๑ เสียง แต่ทง้ั ๒๑ เสยี งนี้ ทาหน้าท่ีเปน็ พยัญชนะท้ายพยางค์ หรอื เป็นตวั สะกด ไดเ้ พยี ง ๘ เสยี ง เท่าน้นั ซึง่ เราเรียกพยญั ชนะท้ายพยางค์วา่ “มาตราตัวสะกด”แบ่งเปน็ ๑. แม่ ก กา คือ พยางคท์ ี่ไม่มเี สียงพยัญชนะทา้ ยพยางค์ เชน่ แม่ ใคร มา ๒. แม่ กก คือ พยางค์ที่มีเสยี ง ก ทา้ ยพยางค์ เช่น ทกุ ข์ สขุ มรรค ๓. แม่ กง คือ พยางค์ที่มีเสยี ง ง ท้ายพยางค์ เชน่ องค์ ปรางค์ ทอง ๔. แม่ กด คอื พยางค์ที่มเี สียง ด ทา้ ยพยางค์ เชน่ อาทิตย์ สิทธิ์ ครฑุ ๕. แม่ กน คือ พยางคท์ ่ีมีเสียง น ทา้ ยพยางค์ เชน่ สถาน การ บริเวณ ๖. แม่ กบ คอื พยางค์ที่มเี สียง บ ทา้ ยพยางค์ เชน่ กราบ กราฟ โลภ ๗. แม่ กม คอื พยางคท์ ี่มเี สยี ง ม ท้ายพยางค์ เชน่ ขนม กลม อาศรม ๘. แม่ เกย คอื พยางค์ที่มีเสยี ง ย ท้ายพยางค์ เช่น กล้วย ปลาย ผ้ชู าย ๙. แม่ เกอว คือ พยางคท์ ี่มเี สยี ง ว ท้ายพยางค์ เช่น แมว้ ไขเ่ จยี ว ปีนเกลียว เป็นที่น่าสงั เกตวา่ เสียงตวั สะกดอาจจะไมต่ รงกับ รปู ของตัวสะกดท่เี ราออกเสียงก็ได้ เช่น - “ อาทิตย์” เขยี นด้วย “ ต” แต่เวลาออกเสียงตัวสะกด จะเปน็ “ แมก่ ด” - “ สมโภชน”์ เขียนดว้ ย “ ช” แต่เวลาออกเสยี งตัวสะกด จะเป็น “ แมก่ ด” - “ พรรค” เขียนด้วย “ ค” แต่เวลาออกเสยี งตวั สะกด จะเป็น “ แม่กก” ทบทวนความรู้ : บอกเสยี งของพยางค์ต่อไปน้ี โดยคาเหลา่ น้จี ะประกอบดว้ ยเสียงพยญั ชนะต้น เสยี งสระ เสียงวรรณยกุ ต์ และเสียงตวั สะกด ลองทาดูนะคะ พยางค์ เสียงพยัญชนะตน้ เสียงสระ เสยี งวรรณยุกต์ เสยี งตัวสะกด ฉนั ฉ อะ จัตวา แม่ กน รกั ร อะ ตรี แม่ กก ประ ป อะ เอก แม่ ก กา เทศ ท เอ ตรี แม่ กด ไทย ท ไอ สามัญ แม่ เกย
ใบความรู้ที่ รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ รายวิชา ภาษาไทยพืน้ ฐาน๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ือง การเขียนเรยี งความ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ อ่านออกเสียงเรยี งภาษา โรงเรียนลาปางกัลยาณี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เรียงความ คือ การนาขอ้ ความต่าง ๆ มาเรียบเรียงให้เปน็ เร่ืองราว เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ของผู้เขยี นใหผ้ อู้ ่านรบั ทราบ เรียงความมีองค์ประกอบท่ีสาคัญอยู่ ๓ ส่วน ได้แก่ คานา เน้ือเร่ือง และสรุป ดังนั้นเรียงความ เร่ืองหนึ่ง ๆ จะประกอบดว้ ยขอ้ ความ ๓ ยอ่ หนา้ เปน็ อย่างนอ้ ย ๑. หลกั การเลือกหวั ข้อหรอื ช่อื เรอ่ื ง * ในกรณที ม่ี ชี ่ือเร่ืองกาหนดให้แลว้ ควรเลือกตามหลักการเลือกดงั น้ี ๑.๑ เลือกเรื่องทีผ่ เู้ ขยี นสนใจมากทส่ี ดุ และอยากเขยี นมากท่ีสุด ๑.๒ เลอื กเร่อื งท่ีผูเ้ ขียนมีความรแู้ ละมคี วามชานาญมากท่สี ดุ ๑.๓ เลือกเรือ่ งท่ีผเู้ ขียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ไดส้ ะดวกและครบถว้ นมากท่สี ุด ๑.๔ เลือกเรอ่ื งที่ผ้เู ขยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ ได้กว้างขวางทส่ี ดุ * ในกรณที ผ่ี ูเ้ ขยี นต้องการต้ังชื่อเรอ่ื งเอง ควรปฏิบัตดิ ังนี้ ๑.๕ ชอ่ื เรอ่ื งต้องครอบคลุมเน้อื หาทงั้ หมด ๑.๖ ชอื่ เรื่องต้องบอกใจความสาคัญของเร่อื งได้ชัดเจน ๑.๗ ชื่อเรื่องตอ้ งกระชับ กะทดั รัด เขา้ ใจง่าย ๒. หลกั การเขียนโครงเรื่อง การเขียนเรียงความมีลักษณะเหมือนการสร้างบ้านท่ีต้องเร่ิมจากโครงก่อนแล้วจึงเติม รายละเอียดอ่นื ๆ มิฉะน้นั จะทาใหเ้ ขยี นยาก ขาดความเป็นระบบ เนอ้ื หาใจความอาจสบั สนทาให้ ผู้อน่ื ไม่เขา้ ใจเน้ือเร่อื งได้
๒.๑ ลักษณะโครงเร่ืองทด่ี ี มดี งั น้ี - อยู่ภายในขอบข่ายของชื่อเร่ือง ไม่กล่าวออกนอกเร่ือง เพราะจะทาให้ผิดประเด็น ทาใหใ้ จความสาคัญไมช่ ัดเจน - มคี วามสมบูรณ์ ครอบคลุมสาระสาคญั ครบทุกข้อ - มีความสมดุลสมา่ เสมอ คอื ทกุ ประเดน็ ควรมีความสาคัญเท่ากัน - มีความเป็นอสิ ระ คอื ทุกประเด็นควรมีความสาคญั เท่ากนั - มคี วามต่อเน่ืองกัน คือ เม่ือนาทุกประเด็นมาเรียงต่อกันจะต้องกลมกลืนและมีใจความ สาคญั เดียวกัน * การเขียนโครงเรื่องเป็นการเตรียมข้อมูลไวเ้ พื่อนามาเรียบเรียงเป็นเนื้อเรื่องท่ีสมบูรณ์ อาจมีการ ทาสงั เขปขอ้ (เขยี นเปน็ ขอ้ ๆ ) ดังตัวอยา่ ง ตวั อยา่ งโครงเรอื่ งเรียงความ เร่อื ง วันสงกรานต์ ๑) ความเป็นมาของวนั สงกรานต์ (วนั สงกรานตเ์ ป็นประเพณีของไทยท่ีมีมานาน) ๒) ความสาคญั ของวันสงกรานต์ (เป็นวนั ข้ึนปีใหม่ของไทย วันครอบครวั ) ๓) กิจกรรมต่าง ๆ ในวันสงกรานต์ (ได้แก่ การสดน้า การรดน้าดาหัว การสรงน้าพระ การปล่อยปลา) ๔) ความสนุกสนานและขอ้ คิดทไ่ี ดจ้ ากเทศกาลสงกรานต์ คานา คือ ข้อความต้นเร่ือง เพื่อนาให้ผู้อ่านเกิดความสนใจในเรื่องน้ันและติดตามเร่ืองต่อไป มี ใจความเพ่ือเกรนิ่ และบอกแนวทางของเรื่องว่าจะเป็นไปในทานองใด คานาที่ดี คือ คานาทบี่ อกให้ผู้อ่านรู้ได้ทันทีว่าผเู้ ขียนเขยี นเร่ืองอะไร โดยต้องเขียนให้กระชับและ รวดเรว็ เพื่อกระตนุ้ ความสนใจผอู้ ่าน นาเข้าเน้ือเร่ืองทนั ที ซ่งึ มีวิธกี ารขนึ้ คานาในหลายลกั ษณะ เช่น ขน้ึ คา นา ด้วยคาคม สุภาษิต หรือบทร้อยกรองท่ีสอดคล้องกับเร่ือง ดังตัวอย่างคานาเร่ือง “การประหยัด พลงั งาน” “ป ปลานัน้ หายาก ต้องลาบากออกเรอื ไป ขนส่งจากแดนไกล ใช้นาแขง็ เปลืองนา้ มนั แชเ่ ยน็ ต้องใช้ไฟ หงุ ต้มใชแ้ กส๊ ทง้ั นน้ั พลงั งานหมดส้นิ พลนั โอ้ลูกหลานจงจาดี” จากบทร้อยกรองข้างตน้ น้ี เราต้องหันมาสนใจ “การประหยัดพลังงาน” ให้มากข้ึน
คือ สาระสาคัญและรายละเอียดของเรื่อง ทาหน้าท่ีขยายความของเรื่อง จะมีกี่ย่อหน้า แล้วแต่ขนาดของเร่ืองและทุกย่อหน้าต้องสัมพันธ์สอดคล้องกันกับช่ือเรื่องอย่างเป็นเอกภาพ ผู้เขียนต้อง แสดงความรู้อย่างกว้างขวางและสมบูรณ์ตรงตามหัวเรื่องที่เขียน จะต้องเรียบเรียงเนื้อเร่ืองไปตามลาดับ ของโครงเร่อื ง ต้อง “เอกภาพ” คือมีแนวคิดและจุดมุ่งหมายเดียวตลอดท้ังเร่ือง ให้ภาษาระดับเดยี วกนั เปน็ ภาษาเขียนไม่ใช้ภาษาพดู และมี “สัมพันธภาพ” คอื เขียนใหส้ ัมพันธก์ ันตลอด ตามโครงเรื่องท่ีวางไว้ ประการสุดท้ายต้องมี “สารัตถภาพ” คือ เขียนให้เน้นใจความสาคัญของเร่ืองได้ แจ่มแจ้งและมีเหตุผล เน้ือหาของเรียงความควรมีย่อหน้า แต่ละย่อหน้าน้ันข้ึนอยู่กับเรียงความขนาดยาว หรือสั้น หลักการเขยี นเนื้อเรอ่ื ง ๑) เรมิ่ ตน้ ใหม้ นี า้ หนกั ชวนใหค้ ดิ ชวนให้ตดิ ตาม ๒) จัดลาดบั เนื้อเรอื่ งใหด้ ีว่าอะไรควรเขยี นก่อน หลัง ๓) ใช้ประโยคท่ีดี เหมาะสม ถูกต้องตามโครงสร้างของประโยค โดยประโยคต้องไม่สั้น หรือเยิ่น เย้อเกินไป ๔) ใชส้ านวนโวหารทีด่ ี เหมาะกับเรื่องที่เขยี น และเขียนให้แจ่มแจง้ ชัดเจน อา่ นเข้าใจง่าย ๕) ควรแยกเน้ือเรื่องออกเป็นย่อหน้า แต่ไม่ควรเกิน ๓ ย่อหน้า เพื่อให้ผู้อ่านสามารถทาความ เขา้ ใจเรื่องได้ง่ายข้ึน ๖) การจบเน้ือเรื่องควรจบให้ประทับใจ และควรฝากข้อคิดไว้ให้ผู้อ่านได้ไตร่ตรองอย่างเหตุผล ดว้ ย อนึ่ง การเขียนเนื้อเรื่อง คือ การนาเอาโครงเรื่องมาขยายเพิ่มเติมรายละเอียดลงไปทีละข้อ นั่นเอง คือ การท้งิ ท้ายเกย่ี วกับเรอื่ งทีเ่ ขยี น เพ่ือให้ผอู้ ่านเกดิ ความประทับใจ สรุปที่ดีต้องกระชับ ตรง ประเดน็ ต้องสอดคล้องกับคานาและเน้ือเรือ่ งทง้ั หมด กลวิธีการเขยี นบทสรุป ๑) ผู้เขยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ ของตนเองลงไปได้ ๒) อาจใชส้ ุภาษิต คาพงั เพย หรอื คาคมตา่ ง ๆ มาชว่ ยทาใหบ้ ทสรุปนา่ สนใจมากย่ิงขึ้น ๓) อาจสรปุ โดยทงิ้ ปญั หาไว้ให้ผูอ้ ่านขบคิดอยา่ งมเี หตผุ ลกไ็ ด้
๑. มีเอกภาพ หมายความว่า เนื้อหาจะต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันไม่กล่าวนอกเร่ือง ไม่ขน้ึ อยกู่ ับการวางโครงเรือ่ ง ๒. มีสัมพันธภาพ หมายความว่า เนื้อหาต้องมีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกันตลอดทั้งเรื่อง เกดิ จากการจัดลาดับความคดิ และการวางโครงเรอื่ งที่ดี และเกิดจากการเรียบเรียงยอ่ หน้าอยา่ งมรี ะเบียบ ๓. มีสารัตภาพ หมายความว่า เรียงความแต่ละเรียงจะต้องมีสาระสมบูรณ์ตลอดท้ังเร่ือง ความสมบรู ณของเน้ือหาเกดิ จากการวางโครงเรอ่ื งท่ดี ี คือ การเลา่ เรอ่ื งเพ่ือให้ผอู้ า่ นเกดิ ภาพพจน์และมีอารมณ์คล้อยตามไปกับข้อความนั้น การเล่าเร่ืองนี้ไม่คานึงถงึ การเรียงลาดับเหตุการณ์เหมือนการบรรยาย แต่มงุ่ อธบิ ายขยายความสิงใดสงิ่ หน่ึง ใหล้ ะเอียดเดน่ ชดั ข้ึน หากเป็นการพรรณนาความร้สู ึกก็จะมีเน้ือความท่ีกระทบอารมณ์ กอ่ ใหเ้ กดิ ความรสู้ ึก ประทบั ใจ การเขียนพรรณนาและการเขียนบรรยายอาจแทรกอยู่ในเรื่องเดียวกัน ในบางโอกาสอาจต้องใช้ การเขยี นอธบิ ายแทรกไว้ในการพรรณนา ๑. การพรรณนาตามความเป็นจริง ได้แก่ การพรรณนาสิ่งต่าง ๆเช่น ทิวทัศน์ ต้นไม้ สัตว์ ท้องฟ้ายาม รุ่งอรุณ ฯลฯ ตามท่ีเป็นจริงและปรากฏต่อประสาทสัมผัส เปรียบได้กับภาพถ่ายท่ีมี รายละเอียดและสิ่งแวดล้อม ตามจริง มีการใช้คาวิเศษณ์มาประกอบคาเพ่ือให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพ เช่น แสงแดดยามเช้าทอประกายระยบิ ระยับบนผนื น้า ๒. การพรรณนาตามความรู้สึก ได้แก่ การพรรณนาความรู้สึกของผู้เขียนทีม่ ีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงหรือ อาจเป็นการพรรณนาอารมณ์ของผู้พรรณนาเอง การพรรณนาความรู้สึกเปรียบได้กับภาพวาดซึ่งศิลปินผู้ วาดสามารถใส่รายละเอียด สี เงา ตามความรู้สึกของตนเองอย่างอิสระ เช่น เด็กน้อยผู้เศร้าสร้อย ทอดสายตาอาลัยร่างของสนุ ขั ทเ่ี ปน็ เสมือนเพื่อนรกั ของเขา
๑. รายละเอียด เป็นรายละเอียดท่ีกระทบความรู้สึกผู้อ่าน การพรรณนาที่จะสร้างให้กระทบ ความรู้สึกได้ ต้องพรรณนารายละเอียดเกี่ยวกับภาพท่ีเห็น ได้แก่ โครงสร้าง สี เส้น เงา พรรณนา รายละเอียดเกีย่ วกับเสียง ได้แก่ ความสูงต่า ความกังวาน ทานอง จังหวะ ถ้าผเู้ ขียนวิเคราะห์ส่ิงต่าง ๆ ได้ ละเอียดมากและเขยี นไดอ้ ย่างกลมกลนื ผอู้ ่านจะเกิดการกระทบความรสู้ ึกได้มาก ๒. มุมมอง เมื่อจะพรรณนาส่ิงใดจะต้องกาหนดจุดเริ่มต้นพรรณนาและมองส่ิงต่าง ๆจากจุดน้ัน ตามลาดับ หากเป็นการพรรณนาความรู้สกึ ก็ตอ้ งกาหนดก่อนวา่ จะเขยี นเรื่องนน้ั ด้วยความรู้สกึ อย่างไรหรือ มแี งค่ ดิ อะไร โดยขอ้ เขยี นนัน้ ต้องเน้นทะเล และความรู้สึกนั้นเป็นหลกั ๓. เลือกใช้ภาษาในการพรรณนา การใช้คาในการพรรณนามีความสาคัญอยา่ งยงิ่ ท่จี ะทาให้ผู้อา่ น เกิดภาพพจน์ ไดแ้ ก่ การใช้คาตรงกันข้าม เช่น ความแก่กลับเป็นความหนุม่ การใช้ความเปรยี บเทยี บเชน่ ความรักเหมือนโคถกึ การเปรียบเทียบโดยนยั เชน่ ความเปลา่ ประโยชน์เปน็ ของแพงท่ีสดุ และเปน็ ของหาง่าย การใชค้ าเลียนเสยี งธรรมชาติ เชน่ ฝนตกกระทบหลังคาสังกะสีกราวใหญ่ การใช้ขอ้ ความกลา่ วเกินจรงิ เช่น ฉันคิดถึงเธอทกุ ลมหายใจเขา้ ออก การสมมุติสิ่งที่ไม่มีตัวตน ให้มีกิริยาอาการเช่นสิ่งท่ีมีตัวตน เช่น มองซิมองเห็นลมคลื่นเห่จูบหิน การเล่นคาคือการใช้คาคาเดียวในความหมายต่างกัน เช่น เมื่อเรือแล่นเข้าคลองมามีแตก่ อจากท้ัง สองฝงั่ จากทีพ่ บไม่ช่วยใหพ้ ี่คลายคดิ ถงึ เมือ่ จากน้องมา
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: