Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit3

unit3

Published by pat pan, 2019-06-04 22:11:33

Description: unit3

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 3 การวิเคราะหร์ ายการค้า พชั รี ชนะเทพ

หนว่ ยท่ี 3 การวเิ คราะหร์ ายการคา้ ความหมายของการวิเคราะห์รายการคา้ การวเิ คราะห์รายการคา้ (Business Transaction Analysis) ความหมายของการวิเคราะห์รายการค้า (Business Transaction Analysis) การวเิ คราะหร์ ายการค้า หมายถึง การพจิ ารณาวา่ รายการคา้ ทเี่ กดิ ข้นึ มีผลทาใหส้ นิ ทรพั ย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ เปลยี่ นแปลงไปในทางท่เี พิ่มขน้ึ หรอื ลดลงเปน็ จานวนเท่าใด เมื่อวิเคราะห์รายการค้าได้แลว้ จงึ นาไปบันทึกลงในสมดุ บัญชตี ่าง ๆ หลกั ในการวเิ คราะห์ รายการค้า ความหมายของการบนั ทึกรายการคา้ ในสมุดบัญชี การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี การบนั ทกึ รายการคา้ ในสมดุ บัญชี หมายถึง การจดเรื่องราวเกย่ี วกับรายจ่าย หรือส่งิ ของทต่ี ีมูลคา่ เปน็ จานวน เงินลงในรูปแบบบัญชีทกี่ าหนด จะได้ผลจากการ ดาเนนิ งานไปสรุปผลในวนั สน้ิ งวดบัญชี เพอื่ หาผลกาไรขาดทนุ รายการค้า ------> สมุดบญั ชแี ยกประเภท ----------> งบดุ ดังนัน้ การวิเคราะหร์ ายการค้ารายการหนง่ึ ๆ จะตอ้ งบนั ทึกบญั ชที างด้าน เดบิตบญั ชหี นงึ่ และทางด้านเครดติ อีกบัญชีหนง่ึ ในจานวนเปน็ ทเ่ี ทา่ กัน ลักการบัน ทกึ นลักษณะนี้เรียกว่า หลกั การบญั ชคี ู่ (Double Entry System) ลกั ษณะของบัญชีแยกประเภท บัญชีแยกประเภทโดยทวั่ ไป มีลักษณะแบ่งเป็น 2 ดา้ น ด้านหนง่ึ สาหรบั จดบนั ทกึ รายการค้าท่เี พิ่มขึน้ และอีกด้านหนง่ึ สาหรบั จดบันทกึ รายการคา้ ที่ลดลง ทางด้านซา้ ยมือของบัญชีแยกประเภท เรยี กว่า ด้านเดบติ (Debi )ตวั ยอ่ Dr ทางด้านขวามือของบัญชีแยกประเภท เรยี กว่า ด้านเครดติ (Credit)ตัวย่อ Cr หลกั ในการบนั ทึกบญั ชี การบนั ทกึ บญั ชหี ลักจากการวิเคราะห์รายการคา้ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1.1สนิ ทรพั ย์เพ่มิ สินทรัพย์ลด 1.2หน้ีสนิ เพิม่ หนส้ี นิ ลด 1.3สว่ นของเจ้าของเพมิ่ ส่วนของเจา้ ของลด

หลักในการบันทึกบญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย์ ด้านเดบิต เม่อื สนิ ทรัพย์เพิม่ ขึน้ ให้บนั ทกึ บัญชสี นิ ทรพั ย์ ด้านเครดติ เม่ือสนิ ทรัพย์ลดลง ใหบ้ นั ทึกบญั ชสี นิ ทรัพย์ หลักในการบนั ทกึ บัญชีประเภทหน้ีสนิ ดา้ นเครดิต เมอื่ หน้สี นิ ์เพ่มิ ขึน้ ใหบ้ นั ทึกบัญชีหน้ีสิน ดา้ นเดบิต เม่อื หนีส้ นิ ลดลง ใหบ้ ันทกึ บญั ชหี นส้ี ิน หลกั ในการบนั ทึกบัญชปี ระเภทสว่ นของเจา้ ของกจิ การ เม่ือส่วนของเจ้าของกิจการเพ่มิ ขน้ึ ให้ บนั ทกึ บญั ชีสว่ นของเจา้ ของ ด้านเครดติ เม่ือส่วนของเจา้ ของกจิ การลดลง ใหบ้ ันทกึ บัญชีส่วนของเจ้าของ ด้านเดบิต การตัง้ ชื่อบญั ชี ประเภทของบญั ชี ประเภทของบัญชี แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1.บญั ชีประเภทสนิ ทรพั ย์ ไดแ้ ก บัญชปี ระเภทสินทรพั ย์หมุนเวยี น สนิ ทรพั ยถ์ าวร และสนิ ทรัพยอ์ น่ื ๆ 2.บัญชีประเภทหนส้ี นิ ไดแ้ ก่ บญั ชีประเภทหน้สี ินหมุนเวียน และหนส้ี นิ ระยะยาว 3.บญั ชรี ปะเภทสว่ นของเจ้าของ ไดแ้ ก่ บญั ชีประเภททุน และการถอนเงนิ ไปใช้ ส่วนตวั การกาหนดชื่อบัญชแี ยกประเภท หลกั จากท่ไี ดว้ ิเคราะห์รายการค้าแลว้ ใหพ้ ิจารณาวา่ รายการค้าที่จะบันทึกบญั ชีนั้นใช้ชื่อบัญชีใด โดยคานงึ ถึงความเหมาะสมดว้ ย หลักเกณฑใ์ นการพิจารณาการกาหนดชอื่ บญั ชแี ยกประเภท มีดังนี้ 1.ใชช้ ือ่ บัญชีท่ีนยิ มใชโ้ ดยท่ัวไป 2.ตั้งชอ่ื ใหม้ คี วามหมายตามประเภทและหมวดของบญั ชี 3.ไมค่ วรตั้งชอื่ บญั ชียาวไป หรอื ช่อื แปลก 4.ช่อื บัญชีท่ตี ง้ั นนั้ ควรลงรายการคา้ ได้มาก ๆ การตง้ั ชอ่ื บัญชตี ามประเภทของบญั ชี มดี ังนี้ 1.บัญชีประเภทสนิ ทรพั ย์ ไดน้ าช่ือของสนิ ทรพั ย์มาต้ังช่อื บญั ชี เชน่ บญั ชีเงินสด บัญชีลกู หนี้ บัญชีวสั ดุ สานกั งาน ฯลฯ 2.บัญชีประเภทหนี้สิน ใหน้ าชอ่ื หน้สี นิ มาตั้งเป็นชื่อบญั ชี เช่น บัญชเี จา้ หนี้ บัญชเี งนิ กู้ ฯลฯ

3.บญั ชีประเภทสว่ นของเจ้าของ ให้นาช่ือประเภทสว่ นของเจ่าของมาต้งั เปน็ ชอื่ บญั ชี เชน่ บัญชีทุน บญั ชถี อนใช้ส่วนตัว ฯลฯ รายการท่ี 1 ตวั อยา่ งที่แสดงถึงผลกระทบของพิทักษก์ ารพมิ พ์ ซ่งึ เปน็ กจิ การรบั พมิ พง์ าน รายการคา้ ในเดอื น เมษายน 25x1 ซง่ึ เป็นเดอื นแรกของการเปิดกจิ การ ดังนี้ เมษายน 1 นายพิทักษ์นาเงินสดมาลงทนุ 100,000 บาท และอาคาร 300,000 บาท มาลงเปน็ ทุน วเิ คราะห์ สนิ ทรัพย์ : เงนิ สด เพ่ิม 100,000 บาท อาคาร เพม่ิ 300,000 บาท เพิ่ม ส่วนของเจ้าของ : ทุน-นายพทิ ักษ์ 400,000 บาท สมการบญั ชี สนิ ทรัพย์ = หนสี้ ิน + ส่วนของเจา้ ของ 400,000 = 0 + 400,000 400,000 = 400,000 ฐานะการเงิน ณ วนั ที่ 1 เมษายน 25x1 จะเปน็ ดังนี้ พทิ ักษ์การพมิ พ์ งบดุล ณ วนั ท่ี 1 เมษายน 25x1 เงินสด สนิ ทรัพย์ หนว่ ย : บาท อาคาร หนสี้ นิ และสว่ นของเจ้าของ รวมสินทรัพย์ 100,000 300,000 ทนุ - นายพทิ ักษ์ 400,000 รวมหน้สี ินและส่วนของเจ้าของ 400,000 400,000

รายการท่ี 2 มกราคม 2 ซื้อเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ (อปุ กรณส์ านกั งาน) 2 เคร่ือง ในราคาเคร่อื งละ 50,000 บาท โดยจา่ ยเปน็ เงนิ สด 20,000 บาท ทเี่ หลือจะจา่ ยในเดือนถดั ไป วิเคราะห์ สินทรัพย์ : อปุ กรณ์สานักงาน เพิ่ม 100,000 บาท เงินสด ลด 20,000 บาท 80,000 บาท หนี้สิน : เจา้ หน้อี ่ืน เพมิ่ สมการบัญชี สนิ ทรัพย์ = หนี้สิน + สว่ นของเจา้ ของ (100,000 - 20,000) = 80,000 + 0 80,000 = 80,000 ฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 2 เมษายน 25x1 จะเปน็ ดังนี้ พิทักษ์การพมิ พ์ งบดลุ ณ วันท่ี 2 เมษายน 25x1 หนว่ ย : บาท สนิ ทรพั ย์ เงนิ สด 80,000 อาคาร 300,000 อุปกรณส์ านกั งาน 100,000 รวมสนิ ทรัพย์ 480,000 หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ เจ้าหนี้อื่น 80,000 ทนุ - นายพทิ กั ษ์ 400,000 รวมหนีส้ ินและสว่ นของเจา้ ของ 480,000

รายการที่ 3 มกราคม 15 ซอื้ วัสดุบริการเป็นเงินเชื่อ 2,500 บาท วเิ คราะห์ สินทรัพย์ : วัสดุบริการ เพ่ิม 2,500 บาท หนสี นิ : เจา้ หนกี้ ารคา้ เพมิ่ 2,500 บาท สมการบญั ชี สนิ ทรัพย์ = หน้ีสนิ + สว่ นของเจ้าของ 2,500 = 2,500 + 0 2,500 = 2,500 ฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 15 เมษายน 25x1 จะเป็นดังน้ี พิทักษ์การพิมพ์ งบดลุ ณ วันที่ 15 เมษายน 25x1 หน่วย : บาท สนิ ทรพั ย์ เงินสด 80,000 วัสดุบรกิ าร 2,500 อาคาร 300,000 อุปกรณ์สานกั งาน 100,000 รวมสนิ ทรัพย์ 482,500 หนสี้ ินและสว่ นของเจา้ ของ เจา้ หนี้การค้า 2,500 เจา้ หน้ีอนื่ 80,000 ทนุ - นายพทิ กั ษ์ 400,000 รวมหน้ีสนิ และสว่ นของเจา้ ของ 482,500

รายการที่ 4 เมษายน 28 ใหบ้ ริการแกน่ ายสุชาติไดร้ ับคา่ บริการเป็นเงินสด 3,000 บาท วิเคราะห์ สนิ ทรพั ย์ : เงินสด เพ่ิม 3,000 บาท สมการบัญชี เพ่ิม 3,000 บาท รายได้ : รายไดค้ ่าบรกิ าร หนีส้ นิ + สว่ นของเจา้ ของ = 0 + 3,000 สนิ ทรพั ย์ = = 3,000 3,000 3,000 ฐานะการเงนิ ณ วันที่ 28 เมษายน 25x1 จะเปน็ ดังน้ี พทิ ักษ์การพมิ พ์ งบดลุ ณ วันที่ 28 เมษายน 25x1 หน่วย : บาท สินทรพั ย์ เงนิ สด 83,000 วัสดบุ รกิ าร 2,500 อาคาร 300,000 อุปกรณ์สานกั งาน 100,000 รวมสินทรัพย์ 485,500 หนสี้ ินและสว่ นของเจ้าของ เจา้ หนกี้ ารค้า 2,500 เจา้ หนอ้ี นื่ 80,000 ทนุ - นายพิทกั ษ์ 403,000 รวมหนี้สินและสว่ นของเจา้ ของ 485,500

กระดาษวิเคราะห์รายการ กระดาษวเิ คราะหร์ ายการเปน็ เครื่องมือท่ชี ว่ ยในการวิเคราะหร์ ายการคา้ ทเ่ี กิดขึน้ วา่ มีผลกระทบ ตอ่ สมการบัญชี ลกั ษณะของกระดาษวิเคราะหร์ ายการจะมหี ัวกระดาษแสดงช่อื กจิ การ ชอื่ กระดาษวเิ คราะห์ รายการ และวนั เดอื นปที ่ีจัดทา ในตวั กระดาษจะแบง่ เปน็ 2 ด้าน ตามสมการบญั ชี คอื ด้านสนิ ทรัพย์ กบั ด้าน หนีส้ ินและส่วนของเจ้าของ และแบ่งเป็นช่องตามจานวนชื่อบัญชี ตวั อยา่ งการบันทึกรายการคา้ ในกระดาษวิเคราะห์รายการค้าของพิทกั ษก์ ารพมิ พ์ ซึ่งดาเนนิ กิจการในเดือน พฤษภาคม 25x1 ซ่ึงเป็นเดือนท่ี 2 ต่อจากเดอื นเมษายน 25x1 รายการค้าเดอื นพฤษภาคม มี ดังนี้ พฤษภาคม 1 นายพทิ กั ษน์ าเงนิ สดมาลงทนุ เพิม่ อีก 100,000 บาท 4 จา่ ยชาระเจ้าหนี้ค่าคอมพิวเตอร์ 80,000 บาท 8 ให้บริการพิมพง์ านให้กับลกู ค้า เป็นเงิน 18,000 บาท แตย่ งั ไม่ได้รบั เงิน 12 จ่ายค่าสาธารณูปโภคเปน็ เงิน 1,500 บาท 19 จา่ ยค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ดเปน็ เงนิ 2,000 บาท 28 จ่ายเงินเดือนพนกั งาน 6,000 บาท 28 นายพิทกั ษ์ถอนเงินมาใชส้ ่วนตัว 50,000 บาท

สนิ ทรพั ย์ พทิ ักษ์ก กระดาษวเิ คร รายการ เงนิ สด ลูกหน้ี ประจาเดือน พฤ พ.ค.1 ยอดยกมา การค้า = หนสี้ นิ 1 วัสดุบริการ อาคาร คงเหลอื 83,000 - 4 2,500 300,000 คงเหลอื 100,000 8 2,500 300,000 คงเหลอื 183,000 - 2,500 300,000 12 (80,000) คงเหลือ 2,500 300,000 103,000 - 19 2,500 300,000 คงเหลอื 18,000 2,500 300,000 28 103,000 คงเหลอื 2,500 300,000 (1,500) 18,000 28 2,500 300,000 101,500 (2,000) 18,000 99,500 18,000 (6,000) 93,500 18,000 (50,000) 43,500 18,000

การพมิ พ์ ราะหร์ ายการ ฤษภาคม 25x1 + ส่วนของเจา้ ของ อุปกรณ์ เจา้ หนี้ เจา้ หนอี้ ่นื ทนุ -นายพทิ กั ษ์ ชอื่ บัญชี สานักงาน การคา้ 0 100,000 80,000 403,000 100,000 เงินลงทุน 2,500 80,000 503,000 (80,000) 0 100,000 - 503,000 18,000 รายไดบ้ รกิ าร 2,500 - 521,000 คา่ สาธารณปู โภค (1,500) 0 100,000 - 519,500 (2,000) คา่ ใช้จ่ายเบด็ เตลด็ 2,500 - 517,500 (6,000) เงินเดือน 0 100,000 - 511,500 (50,000) เงินเดือน 2,500 - 461,500 0 100,000 2,500 0 100,000 2,500 0 100,000 2,500 0 100,000 2,500

การจดั ทางบการเงินจากกระดาษวเิ คราะห์รายการ เม่อื ไดว้ ิเคราะหร์ ายการค้าและบนั ทึกในกระดาษวิเคราะหร์ ายการแลว้ ยอดคงเหลือของแต่ละวัน คอื ฐานะการเงินของกจิ การท่เี ปล่ียนไป และสามารถนามาจัดทางบดุลไดท้ ุกวนั การจัดทางบการเงิน ณ วัน สนิ้ เดอื น พฤษภาคม 25x1 มีดังน้ี พิทกั ษ์การพมิ พ์ งบกาไรขาดทนุ สาหรับงวด 1 เดือน สิ้นสุดวันท่ี 28 พฤษภาคม 25x1 รายไดบ้ รกิ าร หนว่ ย : บาท หกั คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน 18,000 คา่ สาธารณูปโภค 1,500 คา่ ใช้จ่ายเบด็ เตล็ด 2,000 เงนิ เดือน 6,000 9,500 กาไรสทุ ธิ 8,500 พทิ ักษก์ ารพมิ พ์ งบแสดงการเปล่ยี นแปลงในสว่ นของเจา้ ของ สาหรบั งวด 1 เดอื น สน้ิ สดุ วันที่ 28 พฤษภาคม 25x1 หน่วย : บาท ทุน- นายพทิ ักษ์ 403,000 108,500 บวก ลงทุนเพม่ิ 100,000 511,500 50,000 กาไรสุทธิ 8,500 461,500 รวม หกั เงนิ ถอนทุน ทุน-นายพิทกั ษ์

พทิ ักษ์การพมิ พ์ งบดุล ณ วันที่ 28 เมษายน 25x1 หนว่ ย : บาท สินทรพั ย์ เงินสด 43,500 ลกู หนีก้ ารค้า 18,000 วสั ดบุ ริการ 2,500 อาคาร 300,000 อปุ กรณส์ านกั งาน 100,000 รวมสินทรัพย์ 464,000 หน้สี ินและสว่ นของเจา้ ของ เจา้ หน้กี ารคา้ 2,500 ทนุ -นายพทิ กั ษ์ 461,500 รวมหนี้สนิ และส่วนของเจ้าของ 464,000 สมการบัญชี (Accounting Equation) สมการบัญชี หมายถึงสมการทีแ่ สดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งสินทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของ เจ้าของ หรอื เรยี กว่า สมการงบดลุ (Balance Sheet Equation) Asset = Liabilities + Equity หรือ A = L+ E การวิเคราะหร์ ายการค้า การวิเคราะห์รายการค้าจะนาไปบนั ทึกในสมุดบัญชีทเี่ กีย่ วขอ้ ง โดยตอ้ งบันทกึ เป็นรายการ เดบิต เครดิต ตามแบบฟอร์มของสมุดบัญชี เดบติ (Debit) เปน็ การบันทึกบัญชที างด้านซ้าย ซง่ึ จะเปน็ การเพิ่มหรือลด ข้นึ อยู่กบั ประเภทของ รายการ โดยเดบิตจะใชย้ ่อว่า “Dr.” เครดิต (Credit) เปน็ การบันทกึ บญั ชที างด้านขวามือ ซงึ่ จะเปน็ การเพมิ่ หรอื ลด ขนึ้ อย่กู บั ประเภท ของรายการ โดยเดบติ จะใชย้ ่อว่า “Cr.”

จากสมการบญั ชีถ้านารายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายเข้ามาในสมการบัญชีจะไดด้ ังนี้ สินทรัพย์ = หน้ีสนิ + ส่วนของเจา้ ของ + รายได้ - ค่าใชจ้ ่าย - รายการประเภทสินทรัพย์และค่าใช้จา่ ยมยี อดคงเหลอื ปกติทางด้านเดบิต ดงั นั้น ถา้ เดบิตบัญชีทั้ง สองประเภท หมายถงึ บวกหรือเพิ่ม แต่ถา้ เครดติ หมายถึง หักหรือลด - รายการประเภทหนี้สนิ ส่วนของเจา้ ของ และรายไดม้ ียอดคงเหลือปกติดา้ นเครดิต ดังน้นั ถา้ เดบติ บญั ชีทัง้ 3 ประเภท หมายถึง หักหรอื ลด แต่ถา้ เครดิต หมายถงึ บวกหรอื เพ่มิ ตารางที่ 2.1 สรปุ หลักของเดบติ และเครดิต ประเภทบัญชี เพม่ิ ขนึ้ ลดลง ยอดคงเหลอื ปกติ สนิ ทรพั ย์ เดบติ เครดติ เดบติ หนี้สิน เครดิต เดบิต เครดติ สว่ นของเจา้ ของ เครดิต เดบิต เครดติ รายได้ เครดิต เดบิต เครดติ ค่าใช้จ่าย เดบิต เครดิต เดบติ หลักการบัญชคี ู่ (Double – Entry Concept) หมายถึง หลักการบันทกึ ผลกระทบของรายการค้าหนง่ึ ๆ ทม่ี ตี อ่ สนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ และส่วนของเจ้าของ และเป็นการบันทกึ รายการเดบติ และเครดิตนัน้ ตอ้ งใหจ้ านวนเงินที่บันทึกในบัญชที ้ัง 2 ดา้ นเท่ากนั เสมอซ่ึง เรยี กว่าระบบบัญชคี ู่ ซง่ึ ตามระบบบัญชคี ูน่ ั้นไมจ่ าเป็นท่จี านวนรายการท้ัง 2 ด้านตอ้ งเท่ากันเพียงแต่ยอดรวม ของจานวนเงนิ ท้งั ด้านเดบติ และเครดิตต้องเท่ากนั เทา่ น้ัน

ตัวอยา่ ง รายการท่ี 1 บรษิ ัท สหการ จากดั ออกจาหน่ายหุ้นสามัญ 10,000 หุ้น ราคาตามมลู ค่า 10 บาท ใน ราคา 15 บาท วิเคราะห์ เงนิ สด เพิ่ม : สนิ ทรัพย์ เพ่ิม บันทกึ เดบิต 150,000 บาท ทุนเรอื นห้นุ เพมิ่ : ส่วนของผู้ถือหุน้ เพ่ิม บนั ทกึ เครดิต 100,000 บาท ส่วนเกินมลู คา่ หุ้น เพมิ่ : สว่ นของผถู้ ือหุ้น เพิ่ม บันทึก เครดติ 50,000 บาท หลักบัญชีคู่ เดบิต = เครดติ 150,000 = 150,000 รายการท่ี 2 ซ้ืออปุ กรณส์ านักงานเป็นเงนิ สด 20,000 บาท วเิ คราะห์ อุปกรณ์สานกั งาน เพ่มิ สนิ ทรัพย์ เพม่ิ บันทกึ เดบิต 20,000 บาท เงินสด ลด สนิ ทรพั ย์ ลด บนั ทกึ เครดิต 20,000 บาท หลกั บัญชคี ู่ เดบิต = เครดติ 20,000 = 20,000 รายการท่ี 3 บริษัทประกาศจา่ ยเงนิ ปันผลใหแ้ ก่ผถู้ อื หุ้นเปน็ เงิน 30,000 บาท วิเคราะห์ เงินปันผล เพ่มิ : ส่วนของผถู้ อื หนุ้ ลด บันทึก เดบิต 30,000 บาท เงนิ ปันผลค้างจา่ ย เพม่ิ : หน้สี ิน เพมิ่ บันทกึ เครดิต 30,000 บาท หลกั บัญชีคู่ เดบติ = เครดิต 30,000 = 30,000 รายการท่ี 4 สง่ ใบแจง้ หน้เี รียกเกบ็ เงนิ จากลูกค้าสาหรบั บรกิ ารที่ทาเสร็จแล้ว 15,000 บาท วเิ คราะห์ ลกู หน้ีการค้า เพิ่ม : สินทรัพย์ เพม่ิ บนั ทึก เดบติ 15,000 บาท รายได้ค่าบริการ เพ่มิ : รายได้ เพ่มิ บันทึก เครดติ 15,000 บาท หลักบัญชีคู่ เดบติ = เครดิต 15,000 = 15,000

รายการท่ี 5 บรษิ ัทจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถอื ห้นุ ตามที่ได้ประกาศไวเ้ ป็นเงนิ 30,000 บาท วิเคราะห์ เงนิ ปันผลคา้ งจ่าย ลด : หน้ีสนิ ลด บันทกึ เดบิต 30,000 บาท เงนิ สด ลด : สนิ ทรัพย์ ลด บันทึก เครดิต 30,000 บาท หลักบัญชีคู่ เดบิต = เครดิต 30,000 = 30,000 ขนั้ ตอนการบนั ทกึ บัญชแี ละการวิเคราะหร์ ายการค้า 1. การบนั ทกึ รายการคา้ ในสมดุ บันทกึ รายการข้ันตน้ เรียกวา่ สมุดรายวัน (Journal) โดยเรียงลาดับ ตามวนั ท่ีทเี่ กดิ รายการค้า ซ่ึงแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื 1.1 สมดุ รายวันทั่วไป (General Journal) เปน็ สมดุ บนั ทึกรายการข้ันต้นท่ีบันทึกรายการคา้ ท่ีเกดิ ขึน้ ในแต่ละวนั รวมทงั้ การปรับปรงุ รายการ การเปดิ บญั ชี การปิดบัญชี การกลับรายการ ลักษณะของ สมดุ รายวนั ท่วั ไป มดี ังน้ี วนั เดือน ปี รายการ สมดุ รายวันทว่ั ไป เดบติ เครดติ Date Transaction หน้า ...... Debit Credit อ้างองิ Ref. 1.2 สมดุ รายวนั เฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดบนั ทกึ รายการขั้นตน้ ที่ใช้บันทกึ แตล่ ะ รายการคา้ โดยเฉพาะตามประเภททีร่ ะบุไว้ โดยบันทกึ รายการทเี่ กิดข้ึนบอ่ ยๆ ไวด้ ว้ ยกนั หากมีรายการคา้ เกิดขนึ้ ที่ไมใ่ ช่ประเภทเดยี วกับที่จะสามารถบันทกึ ไวใ้ นสมุดรายวันเฉพาะแต่ละเลม่ ได้ก็จะบันทึกไว้ในสมดุ รายวนั ทั่วไป สมดุ รายวันเฉพาะไดแ้ ก่ - สมุดรายวันรับเงิน - สมุดรายวันจา่ ยเงิน - สมดุ รายวนั ซ้ือ - สมุดรายวันขาย

การบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป ชอ่ งที่ 1 ช่อง วนั เดือน ปี ใช้สาหรบั บันทึก วนั เดือน ปี ทเ่ี กิดรายการนั้น ๆ ช่องที่ 2 ชอ่ งรายการ ใช้สาหรบั บันทึกบัญชี และอธบิ ายรายการคา้ ท่ีเกดิ ข้ึน ช่องที่ 3 ช่องอา้ งอิง ใชส้ าหรบั บนั ทกึ เลขทบ่ี ญั ชี หรือหน้าบญั ชที ี่ผ่านบญั ชี ช่องท่ี 4 และช่องท่ี 5 ชอ่ งเดบิต และช่องเครดติ ใช้สาหรบั บันทึกจานวนเงินดา้ นเดบติ หรือเครดิต สมดุ บญั ชแี ยกประเภท (Ledger) เป็นบัญชีทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ รายการค้าท่เี หมอื นกันมาบันทึกไวด้ ้วยกัน เพ่อื จะรวมยอดคงเหลือ ของรายการนั้นๆ ในงวดเวลาใดเวลาหนง่ึ ท่จี ัดทางบการเงนิ ซง่ึ ทาต่อจากสมดุ รายวนั เพอื่ ใช้ในการผ่านบญั ชีมา จากสมุดรายวันท่วั ไป บญั ชีแยกประเภทมีหลายรูปแบบคอื 1. บญั ชแี ยกประเภทรปู ตัวที 2. บญั ชแี ยกประเภทชนดิ แบ่งเป็น 3 ช่อง 3. บัญชแี ยกประเภทชนดิ แบ่งเปน็ 4 ชอ่ ง ตัวอยา่ งตารางบญั ชแี ยกประเภทรูปตวั ที วนั รายการ ช่ือบัญชี รายการ เลขที่บญั ชี....... เดือน ปี อา้ ง จานวนเงนิ อา้ ง จานวนเงนิ วนั เดอื น อิง อิง ปี โดยบญั ชแี ยกประเภทรูปตวั ทเี ปน็ รูปแบบทีน่ ิยมมากที่สุด อธบิ ายได้ดงั นี้ ชื่อบญั ชี แสดงช่ือรายการค้าทน่ี ามาบนั ทกึ บัญชีท่ตี อ้ งการจะรวมยอดคงเหลอื เลขท่ีบญั ชี แสดงเลขทีบ่ ญั ชีทไี่ ด้กาหนดไว้จากชื่อบญั ชี เดบติ เป็นรายการทางดา้ นซา้ ยมอื ของบญั ชแี ยกประเภท

เครดิต เป็นรายการทางด้านขวามือของบญั ชีแยกประเภท วนั เดือน ปี แสดงวนั ทท่ี ี่เกิดรายการทผ่ี า่ นบญั ชีมา รายการ แสดงชอ่ื บัญชที ี่บนั ทกึ ตรงกนั ขา้ มกนั ไว้ อ้างอิง แสดงเลขที่หน้าของสมุดรายวันท่ัวไปที่รายการคา้ ที่นามาผ่านในบญั ชีแยกประเภทได้ บนั ทกึ ไวใ้ นสมดุ รายวันท่วั ไป จานวนเงิน แสดงจานวนของรายการค้าแตล่ ะรายการทผ่ี ่านมาจากสมุดรายวนั ท่วั ไป ผังบญั ชี (Chart of Account) เป็นชื่อบญั ชแี ละเลขที่บัญชที ่ีกิจการกาหนดข้ึนกอ่ นจะทาการวิเคราะหร์ ายการคา้ สาหรับเลขท่ี บญั ชมี ีไวเ้ พอ่ื ใช้ในการอา้ งอิงเวลาผา่ นบญั ชีไปสมุดบัญชแี ยกประเภท และเพือ่ ความสะดวกในการบนั ทกึ ขอ้ มูล และการอา้ งองิ รวมทง้ั ในการสรุปจานวนเงนิ ของแต่ละรายการ เลขท่ีบัญชอี าจจะมีตัวเลขหลายๆ หลกั ขน้ึ อยู่ กบั ความใหญ่เล็กของกิจการ เชน่ ถ้ากิจการมเี ลขที่บัญชี 3 หลัก หลักท่ี 1 หมายถงึ ประเภทบัญชี หลัก ที่ 2 หมายถงึ หมวดหมู่บญั ชี และหลักท่ี 3 หมายถึงจานวนบัญชี เปน็ ตน้ ตัวอย่างเชน่ หลกั ท่ี 1 ประเภทบญั ชี มีดังน้ี สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ แทนตวั เลข 1 ทนุ แทนตวั เลข 2 รายได้ แทนตวั เลข 3 คา่ ใชจ้ ่าย แทนตวั เลข 4 แทนตัวเลข 5 หลกั ที่ 2 หมวดหมู่บญั ชีมดี ังนี้ สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน แทนตัวเลข เงินลงทุนระยะยาว แทนตวั เลข 1 เชน่ 11 หนี้สินระยะยาว แทนตัวเลข 2 เชน่ 12 2 เชน่ 22 หลกั ท่ี 3 จานวนบัญชี กาหนดเรียงลาดับตาม ประเภทบัญชีและหมวดหมูบ่ ญั ชี เช่น บัญชเี งนิ สด เลขท่ี 111 บญั ชลี ูกหน้ีการค้า เลขท่ี 112 บญั ชที นุ เลขที่ 311

ในการกาหนดเลขที่บญั ชี โดยปกติ จะใชเ้ ลขทีบ่ ญั ชเี ปน็ ตวั เลข โดย บญั ชปี ระเภทสินทรพั ย์ จะขึ้นต้นด้วยเลข 1 เช่น บัญชเี งินสด 111 บญั ชลี ูกหน้กี ารคา้ 112 บญั ชปี ระเภทหน้สี ิน จะขน้ึ ตน้ ด้วยเลข 2 เชน่ บัญชเี จ้าหน้กี ารคา้ 211 บัญชเี จ้าหนีเ้ งนิ กู้ 221 บญั ชปี ระเภททนุ จะข้ึนตน้ ด้วยเลข 3 เช่น 311 บญั ชีทนุ 312 บญั ชเี งินถอน บญั ชปี ระเภทรายได้ จะขึ้นต้นด้วยเลข 4 เช่น 411 บญั ชีรายได้คา่ บริการ 412 บญั ชีรายได้ดอกเบยี้ บัญชีประเภทคา่ ใชจ้ า่ ย จะข้ึนตน้ ดว้ ยเลข 5 เช่น 512 บญั ชีเงนิ ถอน 513 บัญชคี ่าโทรศัพท์ วธิ ีการบนั ทึกรายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป มีข้นั ตอนดังนี้ ตวั อย่าง วันท่ี 1 มกราคม 25x1 นายพิทักษ์นาเงนิ สดมาลงทุนในกิจการ 500,000 บาท บนั ทึกดงั นี้ สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ ...... วนั เดอื น ปี รายการ อ้างอิง เดบิต เครดติ Date Transaction Ref. Debit Credit

รายการร่วม คอื รายการบญั ชีทีม่ ีบญั ชีทางด้านเดบิต หรือเครดิต มากกวา่ 1 บัญชี ตัวอยา่ ง ในวันท่ี 1 สงิ หาคม 25x1 กจิ การแห่งหน่งึ ซ้อื อุปกรณส์ านกั งานราคา 30,000 บาท โดยจ่าย เป็นเงินสดเพียง 10,000 บาท ทเี่ หลือจ่ายทีหลัง รายการบัญชบี ันทึกดังน้ี สมุดรายวันทัว่ ไป หน้า ...... วนั เดือน ปี รายการ อ้างอิง เดบิต เครดติ Date Transaction Ref. Debit Credit การผ่านบัญชีจากสมุดรายวันไปสมุดบัญชแี ยกประเภท หมายถงึ การนารายการบัญชที ไ่ี ด้บันทกึ ไว้แล้วในสมุดรายวันทั่วไปด้านเดบติ และเครดติ ไป บันทกึ ในสมุดบัญชแี ยกประเภท มขี น้ั ตอนดังนี้ 1. เขยี นชื่อบัญชีแยกประเภทน้ันเพื่อให้ทราบวา่ บัญชีน้ันคือบญั ชีอะไร เชน่ บญั ชีเงินสด บัญชีลูกหนี้ การค้า บญั ชที ุน- นายพิทกั ษ์ เป็นต้น 2. เขยี นเลขที่บญั ชขี องบญั ชนี ั้น ๆ บนด้านขวามือของบญั ชแี ยกประเภท เชน่ บญั ชีเงนิ สด เลขท่ี 111 3. บนั ทึก วนั เดือน ปี ที่ผ่านรายการน้ันจากสมดุ รายวนั ลงในบญั ชีแยกประเภท 4. บนั ทกึ ตัวเลขจานวนเงนิ ทางด้านเดบิต ไปยังดา้ นซา้ ยของบญั ชีแยกประเภทท่เี ดบิต 5. บันทกึ ตวั เลขจานวนเงินทางด้านเครดติ ไปยงั ด้านขวาของบัญชแี ยกประเภททเ่ี ครดิต 6. เขยี นอธบิ ายรายการด้วยช่อื บญั ชีทีต่ รงข้ามกบั บญั ชที เ่ี ก่ียวข้องในชอ่ งรายการในช่องรายการใน กรณีท่ีมีรายการร่วม ซึ่งมบี ญั ชีตรงขา้ มหลายบญั ชีให้เขยี นในช่องรายการดว้ ยคาว่า “บัญชตี า่ ง ๆ” 7. เขยี นเลขท่ีบัญชีแยกประเภทในช่องอ้างองิ ในสมดุ รายวนั ทั่วไป 8. เขียนเลขทหี่ นา้ บญั ชใี นสมดุ ราวนั ทว่ั ไป ในชอ่ งอ้างองิ ของบัญชีแยกประเภท เชน่ รว.1 คือ สมุด รายวันท่ัวไป หนา้ 1

การคานวณหายอดคงเหลอื ในบัญชีแยกประเภท การคานวณหายอดคงเหลือ หมายถึง การคานวณหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทเพ่อื นา ยอดทไ่ี ดไ้ ปจัดทางบทดลอง การคานวณหายอดคงเหลอื ในบัญชแี ยกประเภท มขี นั้ ตอนดงั นี้ 1. ใหร้ วมจานวนเงินทางด้านเดบิต และเขยี นจานวนเงินทร่ี วมไดด้ ้วยดินสอไว้ใต้รายการสดุ ท้าย ใน ชอ่ งจานวนเงนิ ด้านเดบิต 2. ให้รวมจานวนเงนิ ทางดา้ นเครดติ และเขยี นจานวนเงนิ ท่รี วมไดด้ ว้ ยดนิ สอไว้ใตร้ ายการสดุ ท้าย ใน ช่องจานวนเงินดา้ นเครดติ 3. ถา้ บัญชีใดมีจานวนเดยี วก็ไมต่ อ้ งรวมยอด 4. ให้คานวณหาผลตา่ งระหวา่ งยอดรวมด้านเดบิต และดา้ นเครดิต ถ้ายอดรวมทางด้านเดบิตสูงกว่า เครดติ เรยี กว่ายอดคงเหลอื ด้านเดบติ ให้ใสย่ อดคงเหลือไว้ในชอ่ งรายการหนา้ จานวนเงนิ รวมทางดา้ นเดบติ และเชน่ เดยี วกนั ในกรณที ยี่ อดรวมทางด้านเครดติ สูงกว่าเดบติ เรียกว่ายอดคงเหลอื ทางดา้ นเครดิต ก็ให้ใสย่ อด คงเหลือไวใ้ นชอ่ งรายการหน้าจานวนเงินรวมทางดา้ นเครดติ งบทดลอง เป็นงบท่ีจัดทาข้นึ เพ่อื พสิ จู น์ความถูกตอ้ งเบ้ืองต้นของการบันทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไป ข้ันตอนต่าง ๆ ในการจัดทางบทดลอง มีดังน้ี 1. เขียนสว่ นหวั งบทดลอง ซง่ึ ประกอบด้วย ชื่อกิจการ ชือ่ งบทดลอง และ วนั เดือน ปี ที่จดั ทา 2. ตวั งบทดลองมี 3 ชอ่ ง คือ ช่ือบญั ชี จานวนเงินดา้ นเดบิต และจานวนเงินดา้ นเครดิต 3. นายอดคงเหลอื จากบัญชีแยกประเภทมาใส่ในงบทดลอง โดยบัญชีใดมยี อดคงเหลือดา้ นเดบิตใส่ใน ชอ่ งเดบติ และบญั ชใี ดมียอดคงเหลือดา้ นเครดติ ใสใ่ นช่องเครดิต บญั ชีใดไม่มียอดคงเหลอื ไมต่ ้องนามาลงในงบ ทดลอง 4. เรียงตามลาดับประเภทของบญั ชี เรม่ิ จากสินทรัพย์ หน้สี ิน ส่วนของเจา้ ของ รายได้ และค่าใชจ้ ่าย 5. รวมยอดทางด้านเดบิต และด้านเครดิต ท้ังสองด้านต้องเท่ากนั

ตวั อย่างงบทดลอง พทิ ักษ์การพมิ พ์ งบทดลอง วันท่ี 31 เมษายน 25x1 เงนิ สด 380,000 หนว่ ย : บาท ลกู หนีก้ ารคา้ 14,000 วสั ดุบริการ 20,000 689,000 อุปกรณส์ านกั งาน 160,000 689,000 เจ้าหน้ีอื่น 160,000 ทุน- นายพิทักษ์ 500,000 ถอนเงิน- นายพิทกั ษ์ 100,000 รายได้คา่ บริการ 29,000 เงินเดือน 10,000 คา่ ใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด 5,000


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook