หนังสือ - รหสั หนงั สือ 20202-2008 + ชื่อหนังสือ การพฒั นา บุคลกิ ภาพนักขาย + อ่าน + พมิ พ์ ปกหนังสอื คานา สารบัญ บทของเนือ้ หา บรรณานุกรม - เนื้อหาแตล่ ะบท - ประเภทของปก - เน้อื หา - เน้ือความ + อ่าน - เนอื้ ความ - ชือ่ ผู้แต่ง - ประเภทของ + พลกิ สารบัญ + พลิก + อ่าน + พลิก + อา่ น + อ่าน + พลิก + อา่ น หนา้ หนงั สือ - เนอื้ หาแตล่ ะหนา้ + พลิก + อ่าน ตวั หนงั สอื รูปภาพ - อกั ขระ + ภาพ - สะกด + ดู
คำนำ หนังสือเรียนวิชาการพัฒนาบุคลิกภาพนักขายเล่มน้ีผู้เรียบเรียงได้จัดทาข้ึนตรงตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการโดยมจี ุดประสงค์เพื่อใช้ในการประกอบการเรยี นการสอนให้ ผูเ้ รยี นได้รบั ความรู้ความ เขา้ ใจในการพฒั นาบุคลิกภาพนักขายตามหลักสตู รและได้รบั การพฒั นาทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานอาชีพตาม ความต้องการของตลาดแรงงานและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพ่ือรองรับการเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียนเน้ือหาสาระ ของวิชาน้ีสอดคล้องกับคาอธิบายรายวิชาได้บรรจุเน้ือหาการเรียนรู้ไว้ อย่างเหมาะสมแบ่งเนื้อหาออกเป็น 6 บท ได้แก่ ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับบุคลิกภาพจิตวิทยาและทฤษฎี บุคลิกภาพกระบวนการพัฒนาบคุ ลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพกับอาชีพขายมารยาททางสังคมและ ศิลปะ การพูดซ่งึ แตล่ ะบทประกอบด้วยแผนผงั ความคดิ สาระการเรียนรจู้ ดุ ประสงค์การเรยี นร้สู มรรถนะการเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนสาระสาคัญเนื้อหาสาระน่ารู้บทสรุปกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ใบมอบหมายงาน แบบทดสอบหลังเรียนและคาศัพท์ ภาษาอังกฤษพร้อมคาแปลโดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเกิดการ เรียนรู้ในสายวิชาชีพสอดคล้องกับการปฏ ิรูปการศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละพระราชบญั ญตั ิการอาชวี ศึกษา ผจู้ ดั ทา
สารบัญ 1 2 หน่วยท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐาน บคุ ลกิ ภาพท่ดี ี 6 ความหมายของบุคลกิ และประเภทของบุคลิก ประเภทของบคุ ลกิ ภาพ
หน่วยท่ี 1 ควำมรู้พ้นื ฐำน บุคลกิ ภำพท่ดี ี
2 ควำมหมำยของบุคลิก และประเภทของบุคลิก บคุ ลกิ ภำพ 1. ควำมหมำยของบุคลิก ภาพบุคลิกภาพ (Personality) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า Persona มีความหมายว่า Mask แปลว่าหน้ากากสาหรับตัวละครให้สวมออกแสดงตามบทบาทที่ถูก กาหนดให้ในชีวิตประจาวันของมนุษย์ก็เหมือนละครมีชาวยุโรปท่านหนึ่งได้กล่าวเปรียบเทียบไว้ ว่า บุคลิกภาพของเราก็คือลักษณะของเส้ือผ้าท่ีสวมใส่กิริยาอาการท่ีแสดงและกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีกระทาความ สลบั ซับซอ้ นแหง่ ธรุ กจิ และการดาเนินชีวิตจะบังคบั ให้บุคคลต้องแสดงกนั คนละหลาย ๆ บทบาทบุคลกิ ภาพ จึงพัฒนาข้ึนเพื่อ เป็นแนวทางให้มนุษย์เผชิญกับโลกสร้างเสริมมิตรภาพดารงชีวิตอยู่และปฏิบัติภารกิจที่ ต้องกระทาซง่ึ มีสาระสาคญั คือ ภำพที่ 1.1 บุคลิกภาพทีด่ ี
3 ทีม่ ำ : www.prachachat.net 1.1 ควำมหมำยของบุคลิกภำพตำมทัศนะของผู้รู้ ได้ให้ความหมายเพื่ออธิบายลักษณะเฉพาะ ของแต่ละบุคคลต่าง ๆ กันดังนี้เบอร์นาร์ด (Bernard) กล่าวว่าบุคลิกภาพเป็นผลรวมท้ังหมดของท่าทาง รูปร่างทั้งลักษณะทางกายพฤติกรรมท่ีแสดงออกแนวโน้ม การกระทาขอบเขตความสามารถท้ังซ่อนเร้นอยู่ ภายในและท่ีแสดงออกมาใหเ้ ห็นมอร์แกน (Morgan) กล่าวว่าบุคลกิ ภาพคือคุณสมบัติและคุณลักษณะเดน่ ของบุคคลรวมทั้งการปรบั ตัวของบุคคลต่อส่งิ แวดล้อมต่าง ๆ ชไนเดอร์ (Schneiders ) กล่าวว่าบุคลิกภาพ คือการรวมคุณลักษณะด้านร่างกายและจิตใจของบุคคลตลอดจนอุปนิสัยกิริยาท่าทางของแต่ละบุคคล โดยเฉพาะบคุ ลิกภาพจะเปน็ เครื่องกาหนดปฏิกิริยาของบุคคลและวฒั นธรรมของสังคมที่เขาอยู่พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 กลา่ ววา่ บุคลกิ ภาพหมายถึงสภาพนิสัยจาเพาะเขากาลังเผชิญอยู่กล่าว โดยสรุปบุคลิกภาพหมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลท่ีเกิดจากการเรียนรู้ประสบการณ์แล้วแสดง พฤติกรรมต่าง ๆ ออกมาทางกายและจิตภายในตัวบุคคลพฤติกรรมดังกล่าวจะเป็นเคร่ืองกาหนดวิธี การ ปรบั ตวั ของแต่ละบุคคลในสถานการณ์ตา่ ง ๆ 1.2 ลกั ษณะท่ัวไปของบุคลิกภำพ บคุ ลกิ ภาพมผี ลสืบเน่ืองมาจากพันธุกรรม (Heredit ทีไ่ ดร้ ับมา จากบรรพบุรุษและสิ่งแวดล้อม (Environment) ท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวเราการอบรมเลี้ยง (Socialization) บรรยากาศของครอบครัวท่ีบุคคลเจริญเติบโตขึ้นมาล้วนเปน็ เครอ่ื งปลกู กล่อมเกลาใหบ้ ุคคลมีบุคลิกลักษณะ ที่แตกต่างกันไปส่วนใหญ่มักจะเรียนรู้และพัฒนาบุคลิกภาพให้เป็นไปตามความต้องการของสังคมลักษณะ ของบคุ ลกิ ภาพโดยทัว่ ไปสามารถรวม ลกั ษณะต่าง ๆ ไดด้ ังนี้ ภำพท่ี 1.2 อารมณ์ความร้สู กึ ของคนเราอยู่ที่ใบหนา้ ท่ีมำ : www.toptenthailand.com
4 1.2.1 ลักษณะทำงร่ำงกำย เป็นผลมาจากพันธกุ รรมเป็นส่วนใหญ่เช่นรูปร่างหน้าตาสผี มสผี ิวสตี า ความสูงเตยี้ อ้วนผอม 1.2.2 ลักษณะทำงสติปัญญำควำมถนัดควำมสำมำรถพิเศษ บุคคลจะสามารถพัฒนาสติปัญญา ไดจ้ ากการอ่านฟงั คิดถามและเขียนเพ่ือเพิ่มความรู้ให้กว้างไกลและเปดิ ใจรับความรู้เร่ืองใหม่ ๆ จากเร่ืองที่รู้ เรื่องที่ยังไม่รู้จาก เร่ืองราวความเป็นจริงไปสู่การหาข้อสรปุ ฝึกใช้สมองท้ังซีกซ้ายและซีกขวาให้สมดุลจึงจะ สามารถพัฒนาสตปิ ัญญาได้ 1.2.3 ลักษณะทำงอำรมณ์ มีคากล่าวว่า“ อารมณ์ความรู้สึกของคนเราอยู่ที่ใบหน้า \"เม่ือบุคคล ได้รับการกระตุ้นก็จะแสดงออกในระดับต่าง ๆ กันจะเห็นได้ชัดจากสีหน้าและแววตานอกจากจะตั้งใจข่ม และซ่อนอารมณค์ วามร้สู กึ ไวจ้ ึงมีลกั ษณะท้งั ด้านบวกและด้านลบการทบ่ี ุคคลสามารถควบคุมอารมณต์ ่าง ๆ ของตนเองได้จะสามารถสร้างและรักษาความสมั พนั ธก์ บั ผู้อ่ืนไดด้ ี 1.2.4 ลักษณะทำงสังคม ถ้าบุคคลสามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับบุคคลอ่ืนได้ดีมีพฤติกรรมท่ีเป็นไป ตามความต้องการของสังคมก็จะอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุขในทางตรงกันข้ามถ้าปรับตัวไม่ดีวางตนไม่ เหมาะสมกจ็ ะส่งผลต่อบคุ ลิกภาพในด้านอ่นื ๆ ดว้ ย ๆ ภำพที่ 1.3 ลกั ษณะทางมารยาทสงั คม ที่มำ : www.sites.google.com
5 1.2.5 ลักษณะทำงอุปนิสัย เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของการตอบสนองทางอารมณค์ วามรูส้ ึกของแต่ละ บคุ คล เกดิ จากความเคยชินสั่งสมมาเป็นบุคลิกภาพจะเหน็ ได้จากการแสดงออกของแต่ละบคุ คลเช่นบางคน เก็บตวั กา้ วร้าวเปดิ เผยใจร้อนเอ้ือเฟื้อมอี ารมณ์ขัน 1.2.6 ลักษณะทำงเจตคติ มักจะข้ึนอยู่กับแนวโน้มของสังคมที่ตนเองอยู่มีความคิดเห็นหรือการ แสดงพฤติกรรมสอดคล้องหรอื คล้อยตามบคุ คลสว่ นใหญ่ในสังคมถ้าเรามีเจตคตทิ ่ีขัดแย้งกับบุคคลในสังคม กจ็ ะมีบคุ ลิกภาพก้าวรา้ วต่อตา้ นสังคม ในทสี่ ุดกอ็ าจมบี ุคลิกภาพแปรปรวนได้ทัง้ นี้ข้ึนอยู่กับการยอมรับของ บคุ คลในสังคมเปน็ ส่วนใหญ่ 1.2.7 ลักษณะของควำมต้องกำรและควำมสนใจ บุคคลในแต่ละวัยมีความต้องการและความ สนใจที่แตกต่างกันแม้แต่ในวัยเดียวกันก็ ยังมีความต้องการและสนใจไม่เหมือนกันเช่นบางคนตอ้ งการด้าน วัตถุมากกว่าคุณค่าทางจิตใจหรือบางคนเป็นนกั อนุรักษนิยมไม่ชอบการเปล่ียนแปลง แต่บางคนชอบความ ทนั สมัยมเี ทคโนโลยีใหม่ ๆ ชอบการทา้ ทายเปน็ ไปตามความตอ้ งการและความสนใจของแตล่ ะคน ๆ 1.2.8 ลักษณะทำงด้ำนจิตใจมนุษย์ จะมีจิตใจท่ีดีหรือไม่ดีจึงขึ้นอยู่กับกาลงั ใจคือความสามารถท่ี จะควบคุมหรือบังคับกิริยาอาการต่าง ๆ ท่ีกระทาไปโดยเจตนาเช่นคนมีจิตใจท่ีดีก็จะเข้มแข็งเบิกบานส่วน คนทห่ี มดกาลังใจจะท้อถอยเบื่อหน่ายไมส่ ามารถตอ่ สู้กับอุปสรรคตา่ ง ๆ ได้ 1.2.9 ลักษณะทำงมำรยำทสังคม ขึ้นอยู่กับการอบรมสั่งสอนขัดเกลาจากครอบครัวดังนั้น มารยาททด่ี หี มายถงึ การวางตวั ใหถ้ ูกกาลเทศะคนที่มมี ารยาทจะมีความสภุ าพเป็นพ้ืนฐานท้ังดา้ นกริ ยิ าวาจา ใจเช่นผู้มีมารยาทดีก็จะ ได้รับคายกย่องชมเชยส่วนคนไม่มีมารยาทก็จะถูกตาหนิจะเห็นได้ว่าบุคลิกภาพ เปน็ สอ่ื ที่ทาใหเ้ ราร้จู กั บุคคลใดบุคคลหนึง่ ในภาพรวมบุคลิกภาพจงึ มีความสาคญั ตอ่ การดารงชวี ติ ของมนุษย์ ในสังคมทั้งในด้านส่วนตัวอาชีพการ งานบุคคลท่ีมีบุคลิกดีเป็นท่ีช่ืนชอบของบุคคลโดยทั่วไปจะประสบ ความสาเรจ็ ท้งั ในด้านส่วนตวั และอาชพี การงาน
6 ประเภทของบุคลกิ ภำพ 2. ประเภทของบุคลิกภำพ (Personality Types) แบง่ ออกไดด้ ังนี้ 2.1 แบ่งตามความแตกต่างของมนุษย์นักจิตวิทยาคานึงถึงความแตกต่างของมนุษย์เป็นหลักการ แสดงออกทางพฤติกรรมของบุคคลจะมีลักษณะเฉพาะตัวเป็นบุคลิกภาพแยกได้เป็น 2 ลักษณะคือ บุคลกิ ภาพ ภายนอกและบุคลกิ ภาพภายใน 2.1.1 บุคลิกภำพภำยนอก(External Personality) เป็นลักษณะเฉพาะของบุคคลที่ ปรากฏออกมาให้เห็นได้ชัดเจนหรือสามารถสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสท้ังห้า ได้แก่ การมองเห็น (ตา) ไดย้ นิ (ห)ู ดมกล่ิน (จมกู ) ลม้ิ รส (ล้นิ ) สัมผสั ทางกายกาย) และทางใจ ภำพที่ 1.4 บุคลิกภายนอกสามารถสัมผัสได้
7 1) กำรมองเห็น ไดแ้ ก่ สิง่ ทป่ี รากฏแกส่ ายตาผู้อืน่ เช่นรปู ร่างหนา้ ตากริ ิยามารยาทการแต่งกาย เหมาะสมหรือไมก่ ารไปปรากฏตัวในทตี่ ่าง ๆ การเข้าสงั คมไมเ่ ก้อเขนิ 2) กำรได้ยิน ประกอบด้วยถ้อยคาใช้ภาษารดั กุมเวลาสนทนากบั ผ้อู น่ื มีนา้ เสยี งชดั เจนไมห่ ลบ สายตาหรือจอ้ งมากเกินไปได้ฝกึ นสิ ัยในการพูด“ คิดก่อนพูดมใิ ช่พูดก่อนคดิ ” มีมารยาทในการพดู การฟัง อย่างถูกต้อง 3) กำรดมกล่ิน ดว้ ยการดูแลตวั เองโดยการทาความ สะอาดร่างกายไมใ่ ห้มีกล่ินปากกลิน่ ตวั กลิน่ ไปรบกวนผู้อื่น 4) กำรรับรส สว่ นใหญ่จะเป็นอาหารถา้ อรอ่ ยมากก็อย่ารบั ประทานจนเสยี กริ ยิ าต้องรู้มารยาทใน การรับประทานอาหารหรือถา้ ไม่อร่อยถูกปากก็ไมค่ วรพดู จาใหก้ ระทบกระเทือนใจผอู้ น่ื ต้องรจู้ ักการควบคมุ กริ ิยาวาจาให้เหมาะสม อยู่เสมอ 5) กำรสมั ผสั ทำงกำยทำงใจสัมผสั ทำงกำย ได้แก่ การแสดงออกอยา่ งน่มุ นวลสภุ าพการแสดง ความรูส้ กึ สามารถสัมผัสได้
8 จากภาษากายไม่ว่าจะเป็นกิริยาทา่ ทีการแสดงออกทางสายตาทาให้บุคคลรับรู้ถึงความปรารถนาดี หรือไมด่ ตี อ่ กนั ได้บคุ ลิกภาพภายนอกจงึ มีความสาคญั ต่อการสานสัมพันธ์ไมตรีต่อกนั บางคนพบหน้ากันคร้ัง แรกก็ถูกชะตา นิยมชมชอบ แต่ในบางคนเพิ่งจะพบหน้าสนทนากันครั้งแรกก็เป็นศัตรูกันบางรายถึงขนาด ฆ่ากันตายก็มีอยู่มากมายดังนั้นการสร้างบุคลิกภาพภายนอกท่ีดีจึงเป็นส่ิงสาคัญในการดารงชีวิตเป็นอย่าง มาก 2.1.2 บุคลิกภำพภำยใน (Internal Personality) เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นสัมผัสอากต้องอยู่รว่ มกัน นาน ๆ จึงจะเห็นบุคลิกภาพภายในชัดเจนข้ึนเรื่อย ๆ บางอย่างแก้ไขปรับปรุงได้ แต่ถ้าเป็นลักษณะ บุคลิกภาพในที่ฝังรากลึกจนเป็นนิสัยถาวรแล้วจะแก้ไขปรับปรุงยากต้องอาศัยเวลาการเรียนรู้และ ประสบการณเ์ พราะเปน็ สงิ่ ที่ได้รบั การอบรมสั่งสมมาต้ังแตเ่ ยาวว์ ัยทาใหบ้ คุ คลมีบุคลิกที่แตกตา่ งกัน ทมี่ ำ : ทนิ วฒั น์ บุกคพทิ ักษ์
9 2.2 แบ่งตำมควำมคดิ เหน็ ของบุคคลตำ่ ง ๆ ดงั นี้ 2.2.1 กินวฒั น์มฤคพทิ กั ษผ์ ูอ้ านวยการศนู ย์พฒั นาบุคลิกภาพ (เอ็มทแี อล) ดงั น้ีได้กล่าวถึง ความ แตกต่างของบุคลิกภาพภายนอกและภายในไวด้ ังนี้ ตำรำง ท่ี 1.1 แสดงความแตกตา่ งของบุคลิกภาพภายนอกและภายใน บุคลิกภาพเป็นลักษณะเฉพาะตวั บคุ คลไมจ่ าเปน็ ต้องมีลกั ษณะเหลา่ ท้ังหมดอาจมีเพยี งบางส่วนก็ ถือได้ว่ามบี ุคลิกภาพชนดิ น้ันได้ถ้าตอ้ งการมีบุคลิกภาพท่ีดีควรสารวจตนเองและพยายามปรบั ปรุงแก้ไขอยู่ ตลอดเวลาสามารถพฒั นาบคุ ลกิ ภาพได้ตามต้องการ 2.2.2 รววิ งศ์ ศรที องรุ่ง กล่าววา่ การพฒั นาทางด้านจิตใจและบคุ ลกิ ภาพของบุคคลเปน็ กระบวนการของการเจริญเติบโตทางรา่ งกายจติ ใจสติปัญญาและการปรับตัวตอ่ สงั คมต้ังแตว่ ัยเด็กวัยรุ่น จนกระทัง่ ไปสูว่ ยั ผใู้ หญใ่ นแต่ละบุคคลอาจจะ บรรลุวุฒิภาวะแตกตา่ งกนั ไปข้ึนอยกู่ ับวธิ ีการปรับตวั ในการ ดาเนนิ ชวี ิตการแสดงออกของบคุ คลในสถานการณ์ต่าง ๆ สว่ นมากจะมีลักษณะ ๆ เฉพาะตนซ่งึ เรยี กได้ว่า พฤติกรรมที่กระทาบอ่ ยคร้งั น้ันเป็นอุปนสิ ยั หรอื บุคลกิ ภาพซ่ึงมี หลายลกั ษณะเช่นชอบแสดงออกกา้ วรา้ วไม่ ไวว้ างใจคนไม่ชอบสังคมเป็นคนเกบ็ ตวั เงยี บเฉยทั้งนบ้ี ุคลิกภาพจะมีลักษณะใดย่อมขึ้นอยกู่ ับสิ่งที่ติดตวั บคุ คลนน้ั ๆ มาตั้งแตก่ าเนิดรวมท้งั การเลย้ี งดูในวยั เด็กและอทิ ธิพลจาก สิง่ แวดล้อมแตล่ ะองค์ประกอบ ย่อมมีความสาคญั เทา่ เทยี มกัน 2.2.3 วิลเลียมเชลลอน (William Scheldon) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้แบ่งประเภทของ บคุ ลกิ ภาพของบุคคลตามลักษณะโครงสร้างของร่างกายไว้ 3 ประเภทคอื (1) ประเภทอ้วน ได้แก่ บุคคลที่มีบุคลิกภาพในลักษณะอ้วนเต้ียลงพุงกล้ามเนื้อ และโครงสร้าง ของกระดกู ไมแ่ ขง็ แรงชอบสนุกสนานรนื่ เริงและเฮฮาจดั บนเสยี งท้งั ฟงั ชดั โกรธงา่ ยหายเรว็ และชอบกิน (2) ประเภทสมส่วน ได้แก่ บุคคลที่มีบุคลิกภาพในลักษณะสมส่วนตัวตรงไหล่กว้างกล้ามเน้ือและ โครงสร้างของกระดูกแข็งแรงคล่องแคล่วว่องไว มีความอดทนและพลังมากส่วนใหญ่ชอบเลน่ กีฬาและเป็น นกั กีฬา (3) ประเภทผอมบำง ได้แก่ บุคคลท่ีบุคลิกภาพในลักษณะผอมสูงไหลหลเอวเล็กเอางสะโพกเล็ก กลา้ มเนื้อนอ้ ยไวตอ่ ความรูส้ กึ และไมช่ อบเขา้ สังคมใจน้อยและ ออนไหวาย
10 2.2.4 กำร์ดสตำฟ (Carl Costuy Jung) นักจิตวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์ได้แบ่งประเภทของ บคุ ลิกภาพตามลกั ษณะพฤติกรรมเป็น 2 ประเภทคอื (1) ประเภทชอบกำรแสดงตัว (Extrovert) ได้แก่ บุคคลท่ีมีบุคลิกภาพใน ลักษณะชอบการ แสดงออก (Show Off) ชอบเกี่ยวข้องกับผู้อ่ืนและร่วมมือกับผู้อื่นชอบสังสรรค์และสนใจเรื่องราวของผู้อน่ื ชอบคุยเร่ืองราวของตนเองให้ผอู้ นื่ ฟงั เปน็ บคุ คลท่เี ปดิ เผยสว่ นใหญเ่ ป็นบุคคลที่ปรบั ตวั ได้ดี (2 ) ประเภทชอบเก็บตัว (Introvert) ได้แก่ บุคคลท่ีมบี ุคลิกภาพในลกั ษณะข้ีอายชอบเกบ็ ตัวอยู่ ตามลาพังไม่ชอบและไม่สนใจที่จะเก่ียวข้องกับผู้อื่นชอบคิดชอบฟังชอบเก็บความรู้สึกและชอบหลบหลีก การเขา้ สงั คมสว่ นมากเป็นบุคคล ท่มี ปี ญั ญา 2.2.5 ศรียบ บบภูมิ ได้กล่าวถึงชนิดของบุคลิกภาพของบุคคลที่อยู่ในเกณฑ์ปกติซึ่งมีลักษณะเด่น (Personality Traits) ของอุปนิสัยแตกต่างกันออกไปซึ่งในคนคนเดียวอาจมีบุคลิกภาพ มากกว่า 1 ชนิดก็ ได้ลกั ษณะของบคุ ลกิ ภาพน้จี ะแสดงชดั เจนเม่ือเข้าส่วู ยั ผูใ้ หญโ่ ดยแบ่งออกเป็น 11 ประเภทคอื ภำพที่ 1.5 Carl Costuy Jung ทมี่ ำ : www.elisabethpomes.com
11 (1) บุคลิกภำพมนั่ คง ไดแ้ ก่ ผู้มีวุฒิภาวะของพัฒนาการทางอารมณ์และบคุ ลกิ ภาพสขุ มุ เยือกเย็นมี ความรับผิดชอบสงู มเี หตุผลมวี ิจารณญาณในการแก้ปญั หาเปน็ ได้ทง้ั ผู้นาและผ้ตู ามมองโลกในแง่ดีปรบั ตัวได้ (2) บุคลิกภำพชอบ หลีกเลี่ยง ได้แก่ ผู้ที่ไม่มั่นใจในการเข้าสังคมและกลัวการถูกตาหนิพยายาม หลกี เล่ียงกิจกรรมทางสงั คมกลวั การถูกวิจารณ์และกลัวการเสย่ี งภยั ตา่ ง ๆ (3) บุคลิกภำพด้ือเงียบ ได้แก่ ผู้ท่ีชอบต่อต้านอย่างเงียบในการแสดงพฤติกรรมที่ เหมาะสมใน ฐานะสมาชกิ ครอบครวั หรือในสงั คมไม่รบั ผดิ ชอบในงานชอบอ้างเหตผุ ลเพ่ือเลยี่ งความผิดพลาดที่เกิดขนึ้ (4) บุคลิกภำพยำคิดย้ำทำ ได้แก่ บุคคลเจ้าระเบียบเคร่งครัดไม่ค่อยยืดหยุ่นเข้มงวดตอ่ กฎเกณฑ์ ชอบบงการใหผ้ ู้ใกล้ชดิ กระทาในสงิ่ ทีต่ นต้องการไม่ไวว้ างใจผู้อนื่ วา่ จะทางานไดด้ ีเสมอตน (5) บุคลิกภำพหลงตนเอง ได้แก่ คนที่มีลักษณะชื่นชมตัวเองว่ามีความสามารถและประสบ ความสาเร็จสูงอ่อนไหวต่อคาวิจารณ์ของผู้อื่นและไม่ค่อยเห็นอกเห็นใจ อ่ืนเป็นคนชอบอิจฉาริษยาไม่ยินดี ในความสาเรจ็ ของผูอ้ ืน่ (6) บุคลิกภำพเรียกร้องควำมสนใจ เป็นคนเจ้าอารมณ์ต้องการคาสรรเสริญการยอมรับและคา ปลอบใจจากผู้อ่ืนเสมอ ๆ อารมณ์เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความเด่นทางเพศของตนเองดึงดูดความ สนใจจากผู้อน่ื ภำพที่ 1.6 บคุ ลิกภาพม่นั คง ทมี่ ำ : www.thaihealthlife.com
12 (7) บุคลกิ ภำพกง่ึ คอื ผมู้ ี ปญั หาเกย่ี วกับความเป็นตัวเอง (Identity) มภี าพพจน์ของตนทไ่ี ม่มั่นคง มีปัญหาในการสร้างมนุษยสัมพันธ์อารมณ์เปล่ียนแปลงง่ายทาตามใจตนเองอารมณ์แปรปรวนมีปัญหาใน การสร้างความสมั พนั ธ์กับผู้อืน่ ไมแ่ นใ่ จในบทบาทและภาพพจน์ (8) บุคลิกภำพหุนหันพลันแล่น และก้ำวร้ำว ไม่มีการวางแผนล่วงหน้าในการกระทาสิ่งต่าง ๆ อารมณร์ อ้ นโกรธงา่ ยควบคุมตนเองไดน้ ้อยชอบกระทาสิ่งตา่ ง ๆ อย่างรวดเร็วและก้าวร้าว (9) บุคลิกภำพต่อต้ำนสังคม ชอบก่อเร่ืองขัดแย้งกับผู้อื่นไม่สนใจความรู้สึกของผู้ อื่นไม่สนใจ กฎระเบยี บต่าง ๆ ชอบฝา่ ฝนื ขอ้ ตกลงของหมคู่ ณะหงุดหงิดง่ายก้าวร้าวเอาแต่ใจตนเองขาดความรับผิดชอบ ไม่ใช้ประสบการณเ์ ป็นบทเรียน (10) บุคลิกภำพอำรมณ์แปรปรวน ได้แก่ ผู้ที่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายเด๋ียวเศร้าสลับครึกคร้นื มี อารมณแ์ ปรปรวนแสดงออกอยา่ งเปดิ เผย และมปี ญั หาในการสร้างมนษุ ยสัมพันธ์ (11) บุคลิกภำพระแวงเ ป็นผู้ชอบสงสัยไม่ไว้วางใจผู้อ่ืนมองโลกในแง่ร้า ยหากมีข้อขัดแย้งจะ โตต้ อบรุนแรงและอาฆาตพยาบาทมีกระแวงค่คู รองไมค่ ่อยให้อภัยผอู้ น่ื และผใู้ กลช้ ิดว่าไม่ซ่ือตรงกบั ตน ภำพท่ี 1.7 บคุ ลกิ ภาพต่อตา้ นสังคม ทีม่ ำ : www.pobpad.com
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: