กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 89 ขอ้ บ่งช้ี: ปวดไหล่ ปวดชาแขน ปวดสะบัก คอเคลด็ ยกแขนไม่ขนึ้ วิธีแทงเข็ม: แทงตรงหรอื แทงเฉียง 0.5-1 ชนุ่ 曲垣ชวฺ ีหยวน Qūyuán (SI 13) ชฺวี แปลวา่ โคง้ หยวน แปลว่า กําแพงตํา่ จดุ นี้อย่ตู รงปลาย spine ด้าน medial ซง่ึ ตาํ่ กว่า ตาํ แหนง่ : ตรงแอง่ ท่อี ยู่ขอบบนปลาย spine ของกระดูกสะบักด้าน medial ข้อบ่งชี้: ปวดสะบกั ปวดไหล่ ปวดหลัง ปวดแขน วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรงหรอื แทงเฉียง 0.5-1 ชนุ่ 肩外俞เจยี นวา่ ยซู Jiānwàishū (SI 14) เจียน แปลว่า ไหล่ ว่าย แปลวา่ ด้านนอก ซู แปลว่า จดุ จุดน้อี ยู่ดา้ นนอกต่อขอบกระดูกสะบักด้าน medial ตาํ แหน่ง: ใต้ป่มุ กระดูกสันหลงั อกท่ี 1 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปวดตงึ ต้นคอ ปวดสะบัก วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ช่นุ 肩中俞เจียนจงซู Jiānzhōngshū (SI 15) เจยี น แปลว่า ไหล่ จง แปลวา่ ตรงกลาง ซู แปลว่า จุด จุดนี้อยู่ตรงกลางระหว่างต้าจุย (GV 14) กบั เจยี นจ่ิง (GB 21) ตําแหนง่ : ใต้ปุ่มกระดกู สนั หลงั คอที่ 7 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 2 ชุน่ ข้อบง่ ช้ี: ตาพร่า ปวดสะบัก ไอ หอบหืด ไขห้ นาวสั่น อาเจียนเปน็ เลือด วิธีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ชนุ่ 天窗เทยี นชวง Tiānchuāng (SI 16) เทียน แปลว่า ท้องฟ้า ชวง แปลว่า หน้าต่าง ช่องเปิดสู่ภายนอก หมายถึง หู เป็นจุดรักษาโรค ของทวารเปิดสว่ นบน ตาํ แหนง่ : อยู่ขอบหลังของกล้ามเนอ้ื sternocleidomastoid ระดบั เสมอแนวลูกกระเดอื ก ข้อบ่งชี้: หูตึง หูหนวก หูอ้ือ เจ็บคอ เสียงหายเฉียบพลัน ปวดตึงต้นคอ แก้มบวม อัมพาตใบหน้า เสยี การส่อื ความ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ช่นุ 天容เทียนหรง Tiānróng (SI 17) เทียน แปลว่า ท้องฟ้า หมายถึง ส่วนบน หรง แปลว่า สมบูรณ์ จุดน้ีอยู่บริเวณศีรษะซ่ึงมีช่ีเต็มเปี่ยม ใชร้ กั ษาโรคของทวาร 5 ตาํ แหนง่ : หลังมมุ ขากรรไกรล่าง ตรงร่องทีอ่ ยู่ขอบหน้าของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid
90 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จงิ ล่วั ขอ้ บง่ ช้ี: เจบ็ หน้าอก หอบ หอู อ้ื หตู ึง หหู นวก เจบ็ คอ หอบหืด คอพอก วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุน่ ภาพที่ 3.39 แสดงจุดฝงั เขม็ บนเสน้ ลาํ ไส้เลก็ (SI 16 - SI 17) เฉวฺ ียนเหลียว 颧髎 Quánliáo (SI 18): จดุ เชอื่ มตดั กับเส้นซานเจยี ว เฉฺวยี น คือกระดูกโหนกแก้ม เหลียว แปลว่า ร่องระหวา่ งกระดกู จุดน้ีอยู่ทแ่ี อ่งใต้โหนกแก้ม ตําแหนง่ : แอ่งใต้กระดูกโหนกแก้ม ตรงกับปลายหางตาในแนวดง่ิ ขอ้ บ่งช้ี: อัมพาตใบหนา้ หนังตากระตกุ ปวดเส้นประสาทใบหนา้ ตาแดง ดีซ่าน ปวดฟนั แกม้ บวม วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ แทงเฉยี งหรือแทงราบ 0.5-1 ช่นุ ทิงกง 听宫 Tīnggōng(SI 19): จุดเช่ือมตดั กับเสน้ ถุงน้ําดี เส้นกระเพาะปสั สาวะ และเส้นซานเจียว ทิง แปลว่า ฟัง กง แปลว่า ตําหนัก เป็นจดุ สาํ คัญทีใ่ ช้รักษาโรคหู ตําแหน่ง: ตรงร่องระหว่างก่ึงกลางกระบังหกู ับ condyloid process ของกระดกู ขากรรไกรลา่ ง ขอ้ บ่งชี้: หูอ้ือ หูตึง หหู นวก หูช้นั กลางอกั เสบ ปวดฟัน โรคจิตซมึ เศร้า คลมุ้ คล่งั วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ 7.จุดฝงั เข็มบนเส้นกระเพาะปัสสาวะทา่ ยหยางเท้า จงิ หมิง 睛明 Jīngmíng (BL 1): จดุ เช่อื มตัดกบั เสน้ ลําไสเ้ ลก็ เสน้ กระเพาะอาหาร เส้นยินเชียว และเส้นหยางเชยี ว จิง แปลว่า ดวงตา หมิง แปลวา่ สว่าง จดุ น้ใี ช้รักษาโรคตาเพ่อื ฟ้ืนการมองเหน็ ตาํ แหน่ง: ตรงรอยบมุ๋ เหนอื มมุ หวั ตา อยู่ด้านในของขอบเบ้าตา ข้อบ่งชี้: ตาปวดบวมแดง น้าํ ตาไหล เวียนศรี ษะ ตาบอดกลางคนื ต้อเนือ้ ตอ้ กระจก
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 91 วิธีแทงเข็ม: ให้ผู้ป่วยหลับตา ใช้มือข้างหนึ่งดันลูกตาไว้ แทงตรงระหว่างลูกตากับขอบเบ้าตา ลึก 0.5-1 ชนุ่ หมายเหตุ: ไม่ควรกระตุ้นเขม็ ห้ามลนยา 攒竹ฉวนจู๋ Cuánzhú (BL 2) ฉวน แปลว่า รวมกัน จู๋ แปลวา่ ไผ่ หัวค้วิ เปรียบเสมอื นกอไผ่ ตําแหน่ง: ตรงร่องบมุ๋ ของขอบกระดูกเบ้าตาด้านหวั คว้ิ (supraorbital notch) ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ ปวดหัวคิ้ว หนังตากระตุก หนังตาตก อัมพาตใบหน้า ตาปวดบวมแดง ตาพร่า นาํ้ ตาไหล วิธีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ชุ่น โรคตาให้แทงเข็มเฉียงลง ปวดคิ้วให้แทงเข็มตามแนวค้ิว ปวดศีรษะให้แทงเขม็ เฉยี งขนึ้ 眉冲เหมยชง Méichōng (BL 3) เหมย แปลวา่ คว้ิ ชง แปลวา่ ชน กระทบ จากหัวคว้ิ ลากเสน้ ข้นึ ไปชนเลยขอบชายผมเปน็ จุดน้ี ตาํ แหนง่ : จากรอยบมุ๋ ของขอบกระดูกเบา้ ตาดา้ นหวั คิ้ว ขน้ึ ไปเหนอื ตอ่ แนวชายผมขอบหนา้ ผาก 0.5 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ปวดศรี ษะ คดั จมกู โรคลมชกั วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ ภาพที่ 3.40 แสดงจุดฝงั เข็มบนเสน้ กระเพาะปสั สาวะ (BL 3 - BL 8) ชฺวชี า 曲差 Qūchā (BL 4) ชฺวี แปลว่า คด โค้ง ชา แปลว่า ต่าง หมายถึง ต่างจากแนวเส้นเดิม จุดนี้เบี่ยงโค้งออกจากเหมยชง (BL 3) เป็นจดุ แรกท่ีเบย่ี งออกจากแนวเดิมของเส้นกระเพาะปัสสาวะ ตําแหน่ง: เหนือจุดก่ึงกลางแนวชายผมขอบหน้าผาก 0.5 ชนุ่ และห่างออกไปด้านข้าง 1.5 ช่นุ
92 บทที่ 3 จดุ ฝงั เขม็ และเส้นจิงลว่ั ข้อบง่ ช้ี: ปวดศรี ษะ คดั จมูก วธิ แี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ช่นุ อชู่ ู่ 五处 Wǔchù (BL 5) อู่ แปลว่า หา้ ชู่ แปลวา่ ตาํ แหน่ง เปน็ จดุ ท่ี 5 ของเสน้ จงิ ลั่วน้ี ตําแหนง่ : เหนือจดุ ก่ึงกลางแนวชายผมขอบหน้าผาก 1 ชุ่น และหา่ งออกไปดา้ นขา้ ง 1.5 ชนุ่ ขอ้ บ่งช้ี: ปวดศีรษะ เวยี นศีรษะ โรคลมชกั วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น 承光เฉิงกวาง Chéngguāng (BL 6) เฉงิ แปลว่า รบั กวาง แปลวา่ แสงสวา่ ง จดุ น้ีชว่ ยฟืน้ ฟกู ารมองเหน็ ตําแหน่ง: เหนอื จุดก่ึงกลางแนวชายผมขอบหน้าผาก 2.5 ชนุ่ และห่างออกไปดา้ นข้าง 1.5 ชนุ่ ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดศีรษะ เวยี นศีรษะ คดั จมูก ตาลาย ตามวั หงดุ หงดิ วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น 通天ทงเทียน Tōngtiān (BL 7) ทง แปลว่า สู่ ทะลวง เทยี น แปลวา่ ท้องฟ้า เปน็ จดุ สงู สุดของเส้นจงิ ล่วั นี้ ตําแหนง่ : เหนอื จุดกง่ึ กลางแนวชายผมขอบหน้าผาก 4 ชุ่น และห่างออกไปด้านขา้ ง 1.5 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ปวดศรี ษะ เวียนศรี ษะ คดั จมกู ไซนัสอกั เสบ เลอื ดกาํ เดาไหล วธิ ีแทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ช่นุ หรือลนยา ลวั่ เชวฺ ่ยี 络却 Luòquè (BL 8) ลั่ว แปลว่า เช่ือมโยง เชฺวี่ย แปลว่า ย้อนกลับ เป็นจุดท่ีเส้นจิงลั่วไหลเวียนกลับสู่ภายนอก ภายหลงั เชอื่ มตอ่ กบั สมอง ตาํ แหน่ง: เหนือจดุ กึง่ กลางแนวชายผมขอบหน้าผาก 5.5 ชนุ่ และห่างออกไปด้านข้าง 1.5 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ปวดศีรษะ เวยี นศรี ษะ หอู อื้ โรคจิตซมึ เศรา้ คลุ้มคลง่ั วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น หรอื ลนยา ยฺว่เี จิน่ 玉枕 Yùzhěn (BL 9) ยฺว่ี แปลวา่ หยก เปรียบศีรษะเปน็ สิง่ มคี า่ มาก เจิ่น แปลวา่ หมอน เปน็ ชือ่ โบราณของกะโหลกทา้ ยทอย ตําแหน่ง: เสมอขอบ external occipital protuberance ห่างจากก่ึงกลางแนวศีรษะตามแนว ระนาบ 1.3 ชุน่ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดศรี ษะ ปวดตงึ ต้นคอ ปวดตา คัดจมูก วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น หรอื ลนยา
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 93 天柱เทียนจู้ Tiānzhù (BL 10) เทียน แปลว่า ท้องฟ้า จู้ แปลว่า เสา ศีรษะเปรียบเสมือนฟ้า คอเปรียบเสมือนเสา สมัยโบราณ เรยี กกระดกู สันหลังบริเวณคอว่า “จู้กู่” ตําแหน่ง: บริเวณท้ายทอย อยู่ขอบนอกของกล้ามเนื้อ trapezius ท่ีเป็นแอ่ง ระดับเสมอขอบบน ของปุ่มกระดูกต้นคอที่ 2 หรือวัดจากแนวชายผมขอบท้ายทอยขึ้นมา 0.5 ชุ่น และห่างจากแนวก่ึงกลาง ต้นคอตามแนวระนาบ 1.3 ชุน่ ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดตา ปวดตึงต้นคอ คอเอียง ปวดสะบัก โรคจิตซึมเศร้า คลมุ้ คล่ัง โรคลมชัก คัดจมกู สูญเสียการรบั กลิ่น เจบ็ คอ กลมุ่ โรคไข้ วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี งหรอื แทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น ภาพที่ 3.41 แสดงจดุ ฝังเขม็ บนเสน้ กระเพาะปัสสาวะ (BL 8 - BL 10) ตา้ จู้ 大杼 Dàzhù (BL 11): จุดเชอ่ื มตัดกบั เสน้ ลาํ ไสเ้ ล็ก ต้า แปลว่า ใหญ่ จู้ แปลว่า กระสวย หมายถึง กระดูกสันหลัง จุดนี้อยู่ด้านข้างของกระดูก สันหลงั อกทใี่ หญท่ สี่ ุด ตําแหนง่ : ใตป้ ุม่ กระดกู สันหลังอกท่ี 1 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ไอ หอบ ไข้ ปวดตงึ ตน้ คอ ปวดไหล่ ปวดหลงั วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุ่น เฟงิ เหมนิ 风门 Fēngmén (BL 12): จดุ เชือ่ มตัดกบั เสน้ ตู เฟงิ แปลวา่ ลม เหมนิ แปลวา่ ประตู จุดน้ีเปน็ ประตเู ข้าออกของเสยฺ ชี่ลม ตําแหน่ง: ใต้ปมุ่ กระดกู สนั หลังอกท่ี 2 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ช่นุ ข้อบง่ ช้ี: ไอ ไข้ ปวดศีรษะ คดั จมูก นํา้ มูกใส ปวดตงึ ตน้ คอ ปวดหลัง วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี งเขา้ หาแนวกึง่ กลาง 0.5-0.8 ชุ่น
94 บทที่ 3 จุดฝงั เขม็ และเส้นจงิ ลัว่ เฟย่ ซู 肺俞 Fèishū (BL 13): จุดเปย้ ซขู องปอด เฟย่ แปลวา่ ปอด ซู แปลวา่ จดุ เปน็ จุดทช่ี ข่ี องปอดรวมกนั บริเวณหลงั ตาํ แหนง่ : ใตป้ มุ่ กระดูกสันหลังอกที่ 3 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ไอ หอบ ไอเป็นเลอื ด วณั โรคปอด ไข้เปน็ เวลาหลังเท่ียง เหงื่อออกขณะหลับ เดก็ หลงั ค่อม วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียงเข้าหาแนวกึ่งกลาง 0.5-0.8 ชุ่น ภาพท่ี 3.42 แสดงจุดฝงั เข็มบนเสน้ กระเพาะปสั สาวะ (BL 11 - BL 35) เจฺวีย๋ ยนิ ซู 厥阴俞 Juéyīnshū (BL 14): จดุ เปย้ ซขู องเยื่อห้มุ หวั ใจ เจว๋ยี ยิน คอื เสน้ เย่ือหุ้มหวั ใจ ซู แปลว่า จุด เป็นจดุ ท่ชี ่ีของเย่อื หุม้ หวั ใจรวมกันบรเิ วณหลัง ตําแหนง่ : ใต้ปมุ่ กระดูกสันหลงั อกท่ี 4 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชนุ่ ข้อบง่ ชี้: เจบ็ หน้าอก แน่นหน้าอก ไอ อาเจยี น วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี งเขา้ หาแนวก่ึงกลาง 0.5-0.8 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 95 ซินซู 心俞 Xīnshū (BL 15): จดุ เป้ยซูของหวั ใจ ซิน แปลวา่ หวั ใจ ซู แปลวา่ จดุ เปน็ จุดทช่ี ีข่ องหัวใจรวมกันบรเิ วณหลงั ตําแหน่ง: ใตป้ ่มุ กระดูกสันหลงั อกท่ี 5 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ปวดเค้นหน้าอก ไอเป็นเลือด เหงื่อออกขณะหลับ ใจส่ันเพราะตกใจ นอนไม่หลับ หลงลมื งา่ ย ฝนั เปียก ปัสสาวะข่นุ ขาว โรคลมชกั วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉียงเข้าหาแนวกึง่ กลาง 0.5-0.8 ชนุ่ 督俞ตูซู Dūshū (BL 16) ตู แปลว่า เส้นตู ซู แปลว่า จดุ เป็นจดุ ที่ชข่ี องเส้นตูรวมกันบริเวณหลงั ตําแหนง่ : ใตป้ มุ่ กระดูกสนั หลงั อกที่ 6 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุ่น ข้อบง่ ชี้: เจ็บหน้าอก ปวดทอ้ ง ท้องอดื ท้องร้อง ชีไ่ หลยอ้ น วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียงเขา้ หาแนวก่งึ กลาง 0.5 ชนุ่ เก๋อซู 膈俞 Géshū (BL 17): จดุ อิทธพิ ลของเลือด เกอ๋ แปลวา่ กะบงั ลม ซู แปลว่า จดุ จุดนี้อยูร่ ะนาบเดยี วกบั กะบงั ลม ตาํ แหนง่ : ใต้ปุ่มกระดูกสนั หลังอกท่ี 7 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุ่น ข้อบง่ ชี้: อาเจยี น สะอึก หอบ อาเจยี นเปน็ เลอื ด วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉียงเข้าหาแนวกง่ึ กลาง 0.5-0.8 ชุ่น กานซู 肝俞 Gānshū (BL 18): จุดเป้ยซูของตบั กาน แปลวา่ ตับ ซู แปลวา่ จดุ เป็นจุดที่ชขี่ องตับรวมกันบริเวณหลัง ตาํ แหน่ง: ใต้ปุ่มกระดูกสันหลงั อกที่ 9 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ปวดสีข้าง ดีซ่าน ตาแดง ตาพร่า ตาบอดกลางคืน น้ําตาไหล โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชกั อาเจยี นเป็นเลอื ด วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉียงเขา้ หาแนวก่ึงกลาง 0.5-0.8 ชุน่ ต่านซู 胆俞 Dǎnshū (BL 19): จุดเปย้ ซขู องถุงนํ้าดี ตา่ น แปลว่า ถุงนํ้าดี ซู แปลวา่ จุด เป็นจดุ ทีช่ ี่ของถุงน้ําดีรวมกันบริเวณหลัง ตาํ แหนง่ : ใต้ป่มุ กระดกู สันหลงั อกท่ี 10 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุน่ ขอ้ บ่งชี้: อาเจียน ขมปาก ปวดสขี ้าง ดีซ่าน วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี งเขา้ หาแนวก่งึ กลาง 0.5-0.8 ชุ่น ผซี ู 脾俞 Píshū (BL 20): จุดเปย้ ซูของม้าม ผี แปลวา่ ม้าม ซู แปลวา่ จดุ เปน็ จดุ ท่ีชขี่ องมา้ มรวมกันบริเวณหลงั ตําแหน่ง: ใต้ปุ่มกระดูกสันหลังอกที่ 11 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่
96 บทที่ 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จิงลว่ั ข้อบ่งช้ี: ทอ้ งอืด กินเก่งแต่ซบู ผอม อาเจียน อจุ จาระรว่ ง บวมนา้ํ ดซี า่ น วิธีแทงเข็ม: แทงเฉียงเข้าหาแนวก่งึ กลาง 0.5-0.8 ชุน่ เว่ยซู 胃俞 Wèishū (BL 21): จุดเปย้ ซขู องกระเพาะอาหาร เว่ย แปลวา่ กระเพาะอาหาร ซู แปลว่า จุด เป็นจุดทช่ี ่ขี องกระเพาะอาหารรวมกนั บริเวณหลงั ตําแหน่ง: ใต้ป่มุ กระดูกสนั หลงั อกที่ 12 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ข้อบง่ ชี้: ปวดกระเพาะอาหาร ท้องอดื อาเจียน ทอ้ งรอ้ ง กนิ เกง่ แตซ่ ูบผอม วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-0.8 ชนุ่ ซานเจียวซู 三焦俞 Sānjiāoshū (BL 22): จุดเป้ยซขู องซานเจยี ว ซานเจียว หมายถึง ซานเจยี ว ซู แปลว่า จุด เป็นจดุ ท่ีชข่ี องซานเจียวรวมกนั บรเิ วณหลงั ตาํ แหน่ง: ใต้ปุ่มกระดูกสนั หลังเอวท่ี 1 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ทอ้ งอดื อาเจียน ทอ้ งรอ้ ง อจุ จาระร่วง ปัสสาวะขัด บวมนํ้า ปวดหลังสว่ นล่าง วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ เซนิ่ ซู 肾俞 Shènshū (BL 23): จุดเป้ยซูของไต เซน่ิ แปลว่า ไต ซู แปลว่า จดุ เปน็ จดุ ทช่ี ีข่ องไตรวมกนั บริเวณหลัง ตาํ แหน่ง: ใตป้ ุม่ กระดกู สนั หลังเอวท่ี 2 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ข้อบง่ ช้ี: หอู อื้ หตู ึง หหู นวก ปัสสาวะรดทีน่ อน กลนั้ ปัสสาวะไมไ่ ด้ ปัสสาวะขัด บวมน้ํา ฝันเปียก เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ รอบเดอื นผดิ ปกติ ตกขาวมีเลอื ดปน หอบหืด ปวดหลงั ส่วนล่าง วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ ชีห่ ่ายซู 气海俞 Qìhǎishū (BL 24) ชี่ห่าย เป็นช่ือจุดฝังเข็มบนเส้นเร่ิน ซู แปลว่า จุด เป็นจุดที่หยวนช่ีรวมกันบริเวณหลัง อยู่ระดับ เดียวกับช่หี า่ ย (CV 6) ตําแหน่ง: ใต้ป่มุ กระดกู สันหลงั เอวที่ 3 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดประจําเดือน ฝีคัณฑสูตร วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุน่ ตา้ ฉางซู 大肠俞 Dàchángshū (BL 25): จุดเปย้ ซูของลําไส้ใหญ่ ตา้ ฉาง แปลวา่ ลําไสใ้ หญ่ ซู แปลวา่ จุด เป็นจุดทีช่ ขี่ องลําไสใ้ หญ่รวมกันบรเิ วณหลงั ตําแหนง่ : ใต้ปมุ่ กระดูกสนั หลงั เอวที่ 4 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุน่ ขอ้ บง่ ชี้: ท้องอืด ทอ้ งร้อง อจุ จาระร่วง ท้องผกู ปวดหลงั สว่ นลา่ ง วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 97 关元俞กฺวานหยวนซู Guānyuánshū (BL 26) กฺวานหยวน เป็นชื่อจุดฝังเข็มบนเส้นเร่ิน ซู แปลว่า จุด เป็นจุดที่หยวนชี่รวมกันบริเวณหลัง อยู่ระดับ เดียวกบั กวฺ านหยวน (CV 4) ตําแหน่ง: ใต้ปมุ่ กระดูกสนั หลังเอวที่ 5 หา่ งตามแนวระนาบ 1.5 ช่นุ ข้อบ่งชี้: ท้องอืด อุจจาระร่วง ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหน็บ ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะขัด ปสั สาวะรดที่นอน กลั้นปสั สาวะไม่ได้ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.7-1 ช่นุ เส่ียวฉางซู 小肠俞 Xiǎochángshū (BL 27): จุดเป้ยซขู องลําไสเ้ ลก็ เส่ียวฉาง แปลว่า ลาํ ไสเ้ ล็ก ซู แปลว่า จดุ เปน็ จดุ ท่ชี ขี่ องลาํ ไส้เล็กรวมกนั บรเิ วณหลัง ตาํ แหน่ง: ระดบั เดียวกับรกู ระเบนเหนบ็ ท่ี 1 หา่ งจาก median sacral crest ตามแนวระนาบ 1.5 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: ฝันเปียก ปัสสาวะรดท่ีนอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะปวดแสบ ปสั สาวะขัด ไสเ้ ลื่อน อจุ จาระรว่ ง ตกขาว ปวดเอวร้าวลงขา ปวดกระเบนเหนบ็ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ ผางกวางซู 膀胱俞 Pángguāngshū (BL 28): จุดเปย้ ซูของกระเพาะปัสสาวะ ผางกวาง แปลว่า กระเพาะปัสสาวะ ซู แปลว่า จุด เป็นจุดที่ชี่ของกระเพาะปัสสาวะรวมกัน บรเิ วณหลัง ตาํ แหน่ง: ระดบั เดยี วกับรูกระเบนเหนบ็ ท่ี 2 หา่ งจาก median sacral crest ตามแนวระนาบ 1.5 ชุน่ ข้อบ่งชี้: ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดที่นอน กล้ันปัสสาวะไม่ได้ อุจจาระร่วง ท้องผูก ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหนบ็ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉียง 0.8-1.2 ช่นุ 中膂俞จงหลวฺ ซี่ ู Zhōnglǚshū (BL 29) จง แปลว่า กลาง หลฺว่ี แปลว่า กล้ามเน้ือข้างกระดูกสันหลัง ซู แปลว่า จุด เป็นจุดที่ชี่ของกล้ามเน้ือ บรเิ วณหลังมารวมกนั ตาํ แหน่ง: ระดับเดียวกบั รูกระเบนเหนบ็ ท่ี 3 หา่ งจาก median sacral crest ตามแนวระนาบ 1.5 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหนบ็ ทอ้ งอดื อจุ จาระรว่ ง บิด วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ช่นุ 白环俞ป๋ายหวฺ านซู Báihuánshū (BL 30) ป๋าย แปลว่า สะอาด หฺวาน แปลวา่ วน วงแหวน ซู แปลว่า จุด ป๋ายหฺวาน เป็นชื่อโบราณของอวัยวะ ทกี่ กั เกบ็ จงิ เปน็ จุดทจี่ ิงชีร่ วมกัน ตาํ แหน่ง: ระดับเดียวกับรกู ระเบนเหนบ็ ท่ี 4 ห่างจาก median sacral crest ตามแนวระนาบ 1.5 ช่นุ
98 บทที่ 3 จุดฝังเขม็ และเสน้ จงิ ลวั่ ข้อบ่งชี้: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหน็บ ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ฝันเปียก ปัสสาวะข่นุ ขาว รอบเดอื นผิดปกติ ประจาํ เดือนมากะปรดิ กะปรอย ตกขาว วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุน่ 上髎ซา่ งเหลียว Shàngliáo (BL 3 ) ซ่าง แปลวา่ ด้านบน เหลยี ว แปลวา่ รอ่ งระหวา่ งกระดกู หมายถงึ รูกระเบนเหน็บ ตําแหน่ง: ตรงรูกระเบนเหนบ็ ท่ี 1 ขอ้ บ่งชี้: ปวดหลังส่วนลา่ ง รอบเดือนผดิ ปกติ ประจําเดอื นมากะปริดกะปรอย ตกขาว มดลูกหย่อน ไสเ้ ลอื่ น ฝนั เปียก เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ปสั สาวะขัด ท้องผูก วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.7-1 ชนุ่ ช่ือเหลยี ว 次髎 Cìliáo (BL 32) ชอื่ แปลว่า อันดับรอง เหลียว แปลว่า รอ่ งระหวา่ งกระดูก หมายถงึ รกู ระเบนเหนบ็ ตาํ แหนง่ : ตรงรกู ระเบนเหน็บที่ 2 ข้อบ่งช้ี: ปวดหลังส่วนล่าง ขาลีบ ขาอ่อนแรง ไส้เล่ือน ปัสสาวะขัด ฝันเปียก รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ปวดประจาํ เดือน ตกขาว วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ ภาพท่ี 3.43 แสดงวธิ กี าํ หนดตําแหน่งชือ่ เหลยี ว (BL 32) 中髎จงเหลยี ว Zhōngliáo (BL 33) จง แปลว่า กลาง เหลยี ว แปลว่า รอ่ งระหว่างกระดกู หมายถงึ รกู ระเบนเหน็บ ตําแหน่ง: ตรงรูกระเบนเหนบ็ ท่ี 3
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 99 ขอ้ บ่งช้ี: ปวดหลังสว่ นล่าง ปวดกระเบนเหน็บ ท้องผกู อุจจาระร่วง ปัสสาวะขดั รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดอื นมากะปริดกะปรอย ตกขาว วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.7-1 ชุ่น 下髎เซ่ียเหลยี ว Xiàliáo (BL 34) เซี่ย แปลว่า ดา้ นลา่ ง เหลยี ว แปลว่า รอ่ งระหว่างกระดูก หมายถงึ รกู ระเบนเหน็บ ตําแหนง่ : ตรงรกู ระเบนเหน็บที่ 4 ข้อบ่งชี้: ปวดไส้เล่ือนร้าวไปท้องน้อย ปวดหลังส่วนล่าง ตกขาว ท้องผูก อุจจาระมีเลือดปน ปัสสาวะขัด วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.7-1 ชุน่ 会阳ฮุ่ยหยาง Huìyáng (BL 35) ฮุ่ย แปลว่า พบกัน ตัดกัน หยาง คือ หยางในยินหยาง เป็นจุดเชื่อมตัดของเส้นกระเพาะอาหาร กับเส้นตู ตําแหนง่ : ระดบั ปลายกระดกู ก้นกบ ห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: ริดสดี วงทวาร อุจจาระเปน็ มกู เลือด เส่อื มสมรรถภาพทางเพศ ตกขาว วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น 承扶เฉิงฝู Chéngfú (BL 36) เฉงิ แปลวา่ รบั ฝู แปลว่า พยุง ขณะอุ้มเดก็ จะใช้แขนพยุงก้นตรงจุดนพ้ี อดี ตาํ แหนง่ : กึ่งกลางรอยพับก้นย้อย ข้อบ่งช้ี: ริดสีดวงทวาร ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหน็บ ปวดสะโพก ปวดต้นขา ไส้ตรงหย่อน ทอ้ งผกู ปสั สาวะขดั วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1.5-2 ชนุ่ 殷门ยินเหมิน Yīnmén (BL 37) ยิน แปลวา่ ใหญ่ เหมนิ แปลวา่ ประตู จุดนอี้ ย่บู ริเวณกล้ามเนอื้ มดั ใหญ่ เปน็ จดุ ท่ีชี่ผา่ นเขา้ ออก ตําแหนง่ : ตาํ่ จากก่ึงกลางรอยพบั ก้นย้อย 6 ชุ่น บนแนวเส้นเช่ือมระหว่างเฉิงฝู (BL 36) กับเหว่ยจง (BL 40) อยรู่ ะหว่างกลา้ มเนอ้ื biceps femoris กับ semitendinosus ขอ้ บง่ ชี้: ปวดเอวรา้ วลงขา ขาลบี ขาอ่อนแรง วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-2 ช่นุ ฝซู ่ี 浮郄 Fúxì (BL 38) ฝู แปลว่า ลอย หมายถึง ส่วนบน ซ่ี แปลว่า ร่องลึก จุดนี้อยู่เหนือเหว่ยหยาง (BL 39) ตรงร่อง ระหว่างกล้ามเน้อื ตน้ ขาดา้ นหลัง
100 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จิงลวั่ ตําแหนง่ : เหนอื รอยพบั เขา่ 1 ชนุ่ อยู่ด้านในต่อเอน็ biceps femoris ขอ้ บ่งช้ี: ปวดตงึ ตน้ แขน ชาก้น ชาตน้ ขา ปวดต้นขา ปวดหลงั เขา่ ท้องผูก วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ ภาพที่ 3.44 แสดงจุดฝงั เข็มบนเสน้ กระเพาะปสั สาวะ (BL 36 - BL 40) เหวย่ หยาง 委阳 Wěiyáng (BL 39): จุดเซ่ียเหอของเส้นซานเจียว เหว่ย แปลวา่ คด โค้ง หมายถึง รอยพับเข่า หยาง คือ หยางในยินหยาง เป็นจุดบนแนวรอยพับเข่า ดา้ นนอก ตาํ แหนง่ : ตรงรอยพับเขา่ อยู่ชิดขอบด้านในของเอ็น biceps femoris ขอ้ บง่ ช้ี: ทอ้ งอืด ปัสสาวะขัด ปวดหลงั สว่ นลา่ ง ปวดหลัง ปวดเกร็งขาหรอื เทา้ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น 委中เหวย่ จง Wěizhōng (BL 40): จุดเหอ เหว่ย แปลว่า คด โค้ง หมายถงึ รอยพบั เข่า จง แปลวา่ กลาง จดุ นี้อยูบ่ นก่ึงกลางรอยพับเข่า ตําแหน่ง: ก่งึ กลางรอยพับเข่า ขอ้ บง่ ชี้: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดหลงั ขาลบี ขาอ่อนแรง ปวดท้องน้อย ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดท่ีนอน กลัน้ ปสั สาวะไม่ได้ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ หรอื เจาะปล่อยเลอื ด ฟู่เฟิน 附分 Fùfēn (BL 41): จุดเชือ่ มตัดกบั เส้นลําไสเ้ ลก็ ฟู่ แปลวา่ แนบ สงั กดั เฟิน แปลวา่ แบง่ เปน็ จดุ แรกที่แยกจากเส้นกระเพาะปัสสาวะเสน้ ที่ 1 ตาํ แหน่ง: ใตป้ ุม่ กระดกู สันหลังอกท่ี 2 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 101 ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดเกร็งสะบกั ปวดตึงต้นคอ ชาศอก วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-0.8 ชนุ่ พ่อฮู่ 魄户 Pòhù (BL 42) พ่อ แปลว่า ขวัญ เป็นเสินที่ปอดกํากับดูแล ฮู่ แปลว่า ประตู จุดน้ีอยู่ข้างเฟ่ยซู (BL 13) เสมือนเป็น ประตูผา่ นเข้าออกของชี่ปอด ตําแหน่ง: ใต้ปุ่มกระดกู สนั หลงั อกท่ี 3 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ขอ้ บง่ ชี้: วณั โรคปอด ไอหอบ ปวดตงึ ตน้ คอ ปวดไหล่ ปวดหลงั วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-0.8 ชุน่ 膏肓กาวฮฺวาง Gāohuāng (BL 43) กาว เปน็ ตําแหน่งใต้หวั ใจ ฮฺวาง เป็นตําแหน่งใต้หัวใจเหนือกระบังลม เป็นตําแหน่งของเยื่อหุ้มหัวใจ อยู่ขา้ งเจฺวี๋ยยินซู (BL 14) ตําแหน่ง: ใตป้ ่มุ กระดูกสันหลังอกท่ี 4 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: วณั โรคปอด ไอ หอบ เหงอ่ื ออกขณะหลับ ฝนั เปียก เป็นจุดทใี่ ชบ้ อ่ ยในการบํารุงสุขภาพ ด้วยการลนยา วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ชุ่น 神堂เสินถาง Shéntáng (BL 44) เสิน หมายถึง สติสัมปชัญญะ จิตใจ กํากับดูแลโดยหัวใจ ถาง แปลว่า ห้องโถง จุดน้ีอยู่ข้างซินซู (BL 15) เปน็ ทอี่ ยู่ของจิตใจ ตําแหนง่ : ใตป้ มุ่ กระดกู สนั หลังอกที่ 5 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: ไอ หอบ แน่นหน้าอก ปวดหลังส่วนลา่ ง วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ช่นุ อ้ีสี่ 譩譆 Yìxǐ (BL 45) อ้ี เป็นเสียงรอ้ งจากความเจ็บปวด ส่ี เปน็ เสียงรอ้ งด้วยความเสยี ใจ อสี้ ี่ หมายถึง เสยี งถอนหายใจ ตําแหนง่ : ใต้ปมุ่ กระดูกสนั หลงั อกที่ 6 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 3 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดเกรง็ สะบกั รา้ วไปสขี า้ ง ไอหอบ ไข้จับสั่น กลุ่มโรคไข้ วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-0.8 ชนุ่ เกอ๋ กฺวาน 膈关 Géguān (BL 46) เก๋อ แปลว่า กะบงั ลม กฺวาน แปลว่า ด่าน จดุ น้ีอยู่ขา้ งเกอ๋ ซู (BL 17) ใต้จดุ น้ีเปน็ กระบังลม ตําแหน่ง: ใตป้ ุ่มกระดกู สนั หลงั อกท่ี 7 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น
102 บทที่ 3 จดุ ฝงั เข็มและเส้นจิงลวั่ ขอ้ บง่ ชี้: แนน่ หนา้ อก อาเจยี น สะอกึ เรอ ปวดหลงั ส่วนล่าง ปวดหลัง กลนื ลาํ บาก วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุน่ 魂门หุนเหมิน Húnmén (BL 47) หนุ หมายถึง วิญญาณ กํากับดูแลโดยตับ เหมิน แปลว่า ประตู จุดน้ีอยู่ข้างกานซู (BL 18) เสมือนเป็น ประตูผ่านเข้าออกของชต่ี บั ตาํ แหนง่ : ใตป้ ุม่ กระดูกสนั หลังอกที่ 9 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ปวดสีขา้ ง ปวดหลัง อาเจยี น อจุ จาระร่วง แน่นหน้าอก วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุ่น 阳纲หยางกาง Yánggāng (BL 48) หยาง คือ หยางในยินหยาง กาง แปลว่า กํากับ หมายถึง จุดเชื่อมหลัก จุดน้ีอยู่ข้างต่านซู (BL 19) เปน็ จุดสาํ คญั ในการรกั ษาโรคของถงุ น้าํ ดี ตาํ แหนง่ : ใต้ปุม่ กระดูกสนั หลังอกท่ี 10 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งชี้: กลืนลาํ บาก ปวดท้อง ท้องร้อง อุจจาระรว่ ง ดซี า่ น เบาหวาน วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น อี้เซ่อ 意舍 Yìshè (BL 49) อ้ี แปลว่า สัญญา สมาธิ หมายถึง จําได้ หมายรู้ กํากับดูแลโดยม้าม เซ่อ แปลว่า ตําแหน่งที่อยู่ จดุ น้ีอยู่ข้างผีซู (BL 20) ม้ามเปน็ ท่ีอย่ขู องอ้ี ตาํ แหนง่ : ใตป้ ุ่มกระดกู สนั หลังอกท่ี 11 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ท้องอืด อุจจาระร่วง ไข้ เบาหวาน ดซี า่ น วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ชุ่น 胃仓เวย่ ชาง Wèicāng (BL 50) เว่ย แปลว่า กระเพาะอาหาร ชาง แปลว่า คลังเก็บเสบียง จุดน้ีอยู่ข้างเว่ยซู (BL 21) เปรียบว่า กระเพาะอาหารเปน็ เสมือนคลงั เกบ็ เสบยี ง ตําแหนง่ : ใต้ปุ่มกระดูกสันหลงั อกที่ 12 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 3 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ท้องอดื บวมนํ้า ปวดกระเพาะอาหาร อาหารไม่ย่อยในเด็ก ปวดหลงั วิธีแทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชนุ่ 肓门ฮฺวางเหมนิ Huāngmén (BL 51) ฮฺวาง หมายถึง เยอ่ื บุ เหมนิ แปลวา่ ประตู จุดนอ้ี ยู่ขา้ งซานเจียวซู (BL 22) เชือ่ มกบั เย่ือบุภายในช่องท้อง ตาํ แหน่ง: ใต้ปุ่มกระดกู สันหลังเอวท่ี 1 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 103 ข้อบ่งช้ี: ทอ้ งผกู ปวดท้อง เปน็ ก้อนในทอ้ ง เตา้ นมอักเสบ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ช่นุ 志室จ้ือซ่อื Zhìshì (BL 52) จอื้ แปลวา่ ปณธิ าน กํากบั ดแู ลโดยไต ซือ่ แปลวา่ หอ้ ง จดุ นอ้ี ยู่ข้างเซ่นิ ซู (BL 23) ไตเป็นท่ีอยูข่ องจ้ือ ตําแหน่ง: ใตป้ มุ่ กระดูกสันหลงั เอวที่ 2 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ปวดหลังสว่ นล่าง ฝันเปยี ก เสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ ปสั สาวะขัด วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.7-1 ชุ่น 胞肓ปาวฮฺวาง Bāohuāng (BL 53) ปาว หมายถึง กระเพาะปสั สาวะ ฮวฺ าง หมายถึง เยือ่ บุ จุดนอี้ ยู่ข้างผางกวางซู (BL 28) ตาํ แหนง่ : ระดับรูกระเบนเหนบ็ ท่ี 2 หา่ งจาก median sacral crest ตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ขอ้ บง่ ชี้: ปวดหลังสว่ นลา่ ง ฝันเปยี ก เส่อื มสมรรถภาพทางเพศ ปสั สาวะขัด วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.7-1.3 ชนุ่ 秩边จอ้ื เปียน Zhìbiān (BL 54) จื้อ แปลว่า ลาํ ดบั เปียน แปลว่า จดุ ส้นิ สดุ จดุ นี้เป็นจดุ สดุ ท้ายของเสน้ กระเพาะปัสสาวะเส้นที่ 2 ตาํ แหน่ง: ระดบั รกู ระเบนเหนบ็ ท่ี 4 ห่างจาก median sacral crest ตามแนวระนาบ 3 ช่นุ ข้อบ่งช้ี: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหน็บ ขาลีบ ขาอ่อนแรง ปัสสาวะขัด ท้องผูก ริดสีดวงทวาร ปวดอวัยวะเพศ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉยี ง 1-1.5 ชนุ่ 合阳เหอหยาง Héyáng (BL 55) เหอ แปลวา่ รวม หยาง คือ หยางในยนิ หยาง จุดน้ีอยู่ที่กล้ามเน้ือน่อง 2 หวั บรรจบกัน ตาํ แหนง่ : ใต้รอยพบั เข่า 2 ชุ่น บนแนวเส้นเชอ่ื มระหวา่ งเหว่ยจง (BL 40) กับเฉงิ ซาน (BL 57) ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดหลังส่วนล่าง ไส้เล่ือน ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ประจําเดือนมามาก ขาลีบ ขาอ่อนแรง วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.5 ชุน่ 承筋เฉิงจนิ Chéngjīn (BL 56) เฉงิ แปลว่า รบั จิน แปลว่า เส้นเอ็น หมายถงึ กล้ามเนื้อน่อง จดุ นี้อย่บู นส่วนนูนของกลา้ มเน้ือน่อง ตาํ แหน่ง: ใต้รอยพับเข่า 5 ชุ่น บนแนวเส้นเช่ือมระหว่างเหว่ยจง (BL 40) กับเฉิงซาน (BL 57) ตรงสว่ นนูนของกลา้ มเนื้อน่อง ขอ้ บ่งชี้: ปวดหลงั สว่ นลา่ ง ปวดขา ตะคริวทีข่ า รดิ สีดวงทวาร วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1.5 ชุ่น
104 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จงิ ลัว่ 承山เฉิงซาน Chéngshān (BL 57) เฉิง แปลว่า รบั ซาน แปลว่า เขา จดุ นี้อย่สู ว่ นปลายของกลา้ มเน้ือ โดยเปรียบเฉงิ จิน (BL 56) เป็นยอดเขา จุดนี้เป็นหุบเขารับพลังจากยอดเขาท่ีไหลลงมา ตําแหนง่ : จดุ บรรจบกนั ของกลา้ มเนือ้ น่อง 2 หัวท่ีเชอ่ื มตอ่ เป็นเอน็ ข้อบ่งชี้: ปวดหลงั ส่วนลา่ ง ปวดขา ชาขา ตะครวิ ทขี่ า ริดสีดวงทวาร ทอ้ งผกู วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-2 ชุ่น ภาพที่ 3.45 แสดงจดุ ฝังเข็มบนเสน้ กระเพาะปสั สาวะ (BL 40, BL 55-59) เฟยหยาง 飞扬 Fēiyáng (BL 58): จดุ ล่ัว เฟย แปลวา่ บิน หยาง แปลวา่ ทะยานขนึ้ เมื่อชจ่ี ากเฉิงซาน (BL 57) ไหลมาถึงจุดนี้จะทะยานข้ึน ตําแหน่ง: เหนือคุนหลุน (BL 60) 7 ชุ่น ระหว่างขอบนอก–ขอบล่างของกล้ามเนื้อน่องกับส่วนต่อ ท่ีเป็นเอน็ ข้อบง่ ชี้: ปวดศีรษะ เวยี นศีรษะ เลือดกาํ เดาไหล ปวดเอวร้าวลงขา ปวดขา รดิ สีดวงทวาร วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.7-1 ชนุ่ ฟหู ยาง 跗阳 Fūyáng (BL 59): จุดซ่ขี องเส้นหยางเชยี ว ฟู แปลวา่ หลงั เทา้ หยาง หมายถึง สว่ นทอ่ี ยู่เหนอื กวา่ จุดนีอ้ ยู่เหนอื หลงั เทา้ ตําแหนง่ : เหนือคนุ หลนุ (BL 60) 3 ชุน่ ระหว่างกระดกู น่องกบั เอ็นรอ้ ยหวาย ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดเอวร้าวลงขา ขาลีบ ขาออ่ นแรง ตะครวิ ท่ีน่อง ปวดบวมตาตุม่ นอก ปวดศรี ษะ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 105 คุนหลนุ 昆仑 Kūnlún (BL 60): จดุ จงิ คนุ หลุน เป็นชอ่ื เทือกเขา จุดน้ีอยดู่ า้ นหลงั ตาต่มุ นอก เปรยี บตาตุ่มนอกดงั่ เขาคนุ หลนุ ตาํ แหน่ง: ตรงจดุ กงึ่ กลางระหว่างยอดตาตมุ่ นอกกับขอบในของเอน็ รอ้ ยหวาย ขอ้ บ่งช้ี: ปวดศีรษะ เวยี นศรี ษะ ปวดตา ปวดตึงตน้ คอ เลอื ดกําเดาไหล ปวดหลังส่วนล่าง ขาอ่อนแรง ปวดบวมขอ้ เท้า โรคลมชัก ชกั กระตุก ไข้จบั ส่ัน หอบหดื แน่นหนา้ อก ปวดทอ้ ง อุจจาระร่วง คลอดยาก รกค้าง ปวดบวมอวยั วะเพศสตรี วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ช่นุ หมายเหตุ: ห้ามใช้ในสตรีต้ังครรภ์ ผูชาน 仆参 Púcān (BL 61) ผู แปลว่า คนใช้ ชาน แปลว่า น้อมคารวะ จุดน้ีอยู่ที่ส้นเท้าด้านนอก สมัยโบราณเวลาคนใช้เข้าพบ เจ้านาย ต้องคุกเข่าโคง้ คํานับศีรษะจรดพน้ื จดุ นี้จะโผล่พน้ ชายกางเกงพอดี ตําแหนง่ : ใต้คุนหลุน (BL 60) ตรงรอยต่อสีผิว ข้อบง่ ชี้: ปวดหลังส่วนลา่ ง ขาลบี ขาอ่อนแรง ปวดขา ตะคริว ปวดสน้ เทา้ โรคลมชกั วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น ภาพท่ี 3.46 แสดงจุดฝังเขม็ บนเส้นกระเพาะปสั สาวะ (BL 59 - BL 67) เซินม่าย 申脉 Shēnmài (BL 62): จดุ ปามา่ ยเจียวฮุย่ ทเ่ี ชอ่ื มกับเส้นหยางเชยี ว เซิน พ้องเสียงกับคําที่แปลว่า ยืด เหยียด ม่าย หมายถึง เส้นหยางเชียว เป็นจุดเริ่มต้น ของเส้นหยางเชียว ใชร้ กั ษาขอ้ เทา้ ติดขดั
106 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จงิ ลวั่ ตําแหนง่ : ตรงแอง่ ระหว่างขอบลา่ งของตาต่มุ นอกกับกระดกู ส้นเท้า ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ตาแดง หนังตาตก ง่วงนอน นอนไม่หลับ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชกั เสียการส่ือความ หลังแอ่น ปวดหลังส่วนล่าง ปวดขา ขาอ่อนแรง ปวดเท้า ข้อเท้าติดขัด บวมข้อเท้าดา้ นนอก วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น จินเหมนิ 金门 Jīnmén (BL 63): จดุ ซ่ี จิน แปลว่า ทอง เหมิน แปลว่า ประตู เป็นประตูสู่เส้นหยางเหวย เมื่อชี่ไหลเวียนผ่านมาจุดน้ี จะอุ่นรอ้ นขน้ึ ซงึ่ มีคุณลักษณะเหมอื นช่ีปอด ปอดสงั กัดธาตุทอง ตําแหนง่ : จากขอบหน้าตาตุ่มนอกเฉียงลงไปด้านหน้า อยู่ตรงแอ่งใต้กระดูก cuboid หลังต่อ tuberosity ของกระดูกฝ่าเทา้ ที่ 5 ขอ้ บ่งชี้: ปวดศีรษะ ปวดหลงั ส่วนล่าง ขาลบี ขาออ่ นแรง ปวดบวมตาต่มุ นอก ชักในเดก็ วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ จงิ กู่ 京骨Jīnggǔ (BL 64): จดุ หยวน จงิ แปลว่า ใหญ่ กู่ แปลว่า กระดกู จงิ กู่ เป็นช่ือโบราณของกระดูกฝ่าเทา้ ท่ี 5 ส่วนต้น ตาํ แหน่ง: อยู่หนา้ และใต้ต่อ tuberosity ของกระดูกฝา่ เทา้ ท่ี 5 ตรงรอยต่อสีผิว ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ ปวดตึงตน้ คอ เลือดกาํ เดาไหล ปวดเอวร้าวลงขา โรคลมชัก ตอ้ เน้ือ ต้อกระจก วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ ซู่กู่ 束骨 Shùgǔ (BL 65): จุดซู ซู่ แปลว่า มดั กู่ แปลวา่ กระดกู ซกู่ ู่ เปน็ ช่อื โบราณของกระดูกฝา่ เท้าท่ี 5 ส่วนปลาย ตาํ แหน่ง: อยู่หลงั ต่อข้อ metatarsophalangeal ที่ 5 ตรงรอยตอ่ สีผิว ขอ้ บ่งชี้: ปวดศรี ษะ กลวั ลม ปวดตึงต้นคอ ปวดเอวร้าวลงขา เวียนศีรษะ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชัก วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น จู๋ทงกู่ 足通谷 Zútōnggǔ (BL 66): จุดหยิง จู๋ แปลว่า เท้า ทง แปลว่า สู่ กู่ แปลว่า หุบเขา จุดน้ีอยู่บริเวณร่องของกระดูกนิว้ เท้าซ่ึงมีช่ีไหลผ่าน ตาํ แหนง่ : อยู่หน้าต่อข้อ metatarsophalangeal ท่ี 5 ตรงรอยต่อสีผวิ ข้อบง่ ช้ี: ปวดศีรษะ ปวดตงึ ต้นคอ เลอื ดกําเดาไหล โรคจติ ซมึ เศร้า คล้มุ คลั่ง วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.2-0.3 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 107 จอ้ื ยนิ 至阴 Zhìyīn (BL 67): จดุ จิง่ จื้อ แปลว่า ถึง ยิน คือ ยินในยินหยาง เป็นจุดสุดท้ายของเส้นกระเพาะปัสสาวะก่อนเชื่อมต่อ กับเส้นยิน ตาํ แหนง่ : โคนเลบ็ น้วิ เท้าท่ี 5 ด้านนอก ห่างจากมมุ ฐานเลบ็ 0.1 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ ปวดตา คัดจมูก เลือดกําเดาไหล ทารกไม่กลับหัว คลอดยาก ปวดบวมเข่า ปอดบวมเท้า วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.1 ชนุ่ กรณปี รับท่าทารกในครรภใ์ ชว้ ธิ ีลนยา 8. จุดฝงั เขม็ บนเสน้ ไตซ่าวยนิ เท้า หยง่ เฉวฺ ยี น 涌泉 Yǒngquán (KI 1): จดุ จ่งิ หย่ง แปลวา่ ทะลกั เฉฺวยี น แปลว่า นาํ้ พุ เป็นจุดท่นี ้าํ ของเสน้ ไตทะลกั ขนึ้ เปน็ จุดแรกบนเส้นไต ตาํ แหน่ง: ตรงรอยบุ๋มทส่ี ุดเวลางุ้มฝ่าเท้า หรือจุดแบ่งระหว่าง 1/3 หน้ากับ 2/3 หลังของแนวเส้น เชอ่ื มระหวา่ งฐานของนิว้ เท้าท่ี 2 และ 3 กับส้นเทา้ ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ วิงเวียน ตาพร่า เจ็บคอ พูดไม่มีเสียง ปัสสาวะขัด นอนไม่หลับ โรคจิตซึมเศร้า คลมุ้ คลัง่ ทอ้ งผูก ชกั ในเด็ก หมดสติ ขาอ่อนแรง โรคลมแดด โรคฮีสทเี รยี วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ช่นุ หรานกู่ 然谷 Rángǔ (KI 2): จดุ หยงิ หราน โบราณ หมายถึง กระดกู navicula กู่ แปลวา่ หบุ เขา จุดนอี้ ยบู่ รเิ วณแอ่งใต้กระดกู ตําแหน่ง: บริเวณเทา้ ดา้ นใน อยใู่ ต้ tuberosity ของกระดูก navicula ตรงรอยต่อสผี วิ ข้อบง่ ชี้: รอบเดือนผิดปกติ คันอวัยวะเพศ ตกขาว มดลูกหย่อน ปัสสาวะขัด ฝันเปียก ไอเป็นเลือด เจ็บคอ เบาหวาน ดีซ่าน อุจจาระร่วง บาดทะยักในทารก ปวดบวมหลังเท้า ขากรรไกรแข็ง ขาอ่อนแรง วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ ทา่ ยซี 太溪 Tàixī (KI 3): จุดซู จดุ หยวน ทา่ ย แปลวา่ ใหญ่ ซี แปลวา่ ลาํ ธาร จดุ นอ้ี ย่ดู า้ นหลังตาตุ่มใน เปน็ ร่องลึกใหญ่ ตาํ แหนง่ : อยู่จดุ ก่งึ กลางระหว่างยอดตาตมุ่ ในกบั ขอบในของเอ็นร้อยหวาย ข้อบ่งช้ี: ฝันเปียก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ เจ็บคอ ปวดฟัน หอบ ไอเป็นเลือด เบาหวาน ปัสสาวะบ่อย ท้องผูก รอบเดือนผิดปกติ ปวดหลังส่วนล่าง หูอื้อ หูตึง หูหนวก นอนไม่หลับ หงุดหงดิ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่
108 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเส้นจิงล่วั 大钟ต้าจง Dàzhōng (KI 4): จดุ ล่ัว ต้า แปลว่า ใหญ่ จง หมายถึง ส้นเทา้ ตาํ แหน่ง: ขอบบนของกระดูกสน้ เทา้ อยู่หนา้ ตอ่ เอ็นรอ้ ยหวาย ขอ้ บ่งชี้: ปัสสาวะหยด ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ท้องผูก ไอเป็นเลือด หอบ สมองเส่ือม งว่ งเหงาหาวนอน ปวดสน้ เท้า วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ ภาพท่ี 3.47 แสดงจดุ ฝังเขม็ บนเส้นไต (KI 2 - KI 6) สุ่ยเฉฺวียน 水泉 Shuǐquán (KI 5): จดุ ซี่ สยุ่ แปลวา่ นํา้ เฉฺวียน แปลวา่ น้าํ พุ เปน็ จุดท่ีช่ไี หลแรงขนึ้ ตําแหน่ง: ใต้ท่ายซี (KI 3) 1 ชนุ่ ตรงรอยบุ๋มของ tuberosity ของกระดกู สน้ เท้า ข้อบง่ ชี้: รอบเดอื นผิดปกติ ปวดประจําเดือน ขาดประจําเดือน มดลกู หยอ่ น ปสั สาวะขดั วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น จา้ วห่าย 照海 Zhàohǎi (KI 6): จุดปาม่ายเจียวฮยุ่ ทเ่ี ชอ่ื มกับเส้นยินเชยี ว จา้ ว แปลว่า สอ่ งแสง ชดั เจน หา่ ย แปลว่า ทะเล หมายถึง เป็นจุดท่ีมีช่ีมากด่ังทะเล เป็นจุดแรก ของเสน้ ยินเชยี ว ตาํ แหนง่ : ตรงแอง่ ใต้ตาต่มุ ใน ข้อบ่งชี้: คอแห้ง รอบเดือนผิดปกติ ตกขาวปนเลือด มดลูกหย่อน ปัสสาวะหยด ปัสสาวะไม่ออก ปสั สาวะบอ่ ย ทอ้ งผูก โรคลมชัก นอนไมห่ ลบั โรคเหน็บชา วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 109 ฟู่ลิว 复溜 Fùliū (KI 7): จดุ จิง ฟู่ แปลว่า ย้อนกลับ ลิว แปลว่า ไหล เป็นจุดที่เสน้ ไตไหลวนจากจา้ วห่าย (KI 6) แลว้ วกขน้ึ บน ตาํ แหนง่ : เหนอื ท่ายซี (KI 3) 2 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ท้องอืด อุจจาระรว่ ง บวมนาํ้ เหง่ือออกขณะหลับ ไข้ไม่มีเหง่ือ เหง่ือออกมาก ขาลบี ขาอ่อนแรง วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ เจยี วซน่ิ 交信 Jiāoxìn (KI 8): จุดซี่ของเสน้ ยินเชยี ว เจยี ว แปลว่า ส่งมอบ ซิ่น แปลวา่ ความนา่ เช่อื ถือ เปน็ จุดส่งมอบชแี่ ละเลือดให้ซานยินเจียว (SP 6) ตาํ แหน่ง: หนา้ ฟลู่ วิ (KI 7) 0.5 ชนุ่ อยู่ชิดขอบหลังของกระดูกแขง้ ข้อบ่งช้ี: ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย มดลูกหย่อน ไส้เล่ือน อุจจาระร่วง ท้องผูก วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.6-1.2 ชนุ่ ภาพที่ 3.48 แสดงจดุ ฝงั เขม็ บนเส้นไต (KI 3, KI 6 - KI 9) จู้ปนิ 筑宾 Zhùbīn (KI 9): จุดซขี่ องเส้นยนิ เหวย จู้ แปลว่า สาก อุปมาถึงความแข็งแรง ปิน พ้องเสียงกับกระดูกสะบ้า จุดนี้ใช้รักษาอาการปวดเท้า ปวดแข้ง ช่วยเสรมิ ความแข็งแรงให้เขา่ ตาํ แหนง่ : เหนอื ท่ายซี (KI 3) 5 ชุ่น บนแนวเสน้ เช่ือมระหวา่ งท่ายซี (KI 3) กับยนิ กู่ (KI 10)
110 บทที่ 3 จุดฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ล่วั ขอ้ บ่งช้ี: โรคจิตซมึ เศร้า คล้มุ คล่งั ลมชัก ไสเ้ ลือ่ น ปวดขาดา้ นใน วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ยนิ กู่ 阴谷 Yīngǔ (KI 10): จดุ เหอ ยนิ คอื ยนิ ในยนิ หยาง กู่ แปลวา่ หบุ เขา จุดน้ีอยู่ตรงรอ่ งรอยพบั เข่าด้านใน ตาํ แหน่ง: รอยพบั เขา่ ดา้ นใน ระหวา่ งเอ็น semitendinosus กับ semimembranosus ข้อบ่งช้ี: เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ปัสสาวะขดั ไส้เลอ่ื น ปวดขอ้ พับเข่าดา้ นใน วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ช่นุ ภาพท่ี 3.49 แสดงตําแหนง่ ยินกู่ (KI 10) เหิงกู่ 横骨 Hénggǔ (KI 11): จดุ เช่อื มตัดกับเส้นชง เหิงกู่ เป็นชอ่ื โบราณของกระดกู หัวหน่าว ตาํ แหน่ง: อยู่ชดิ ขอบบนของกระดูกหัวหน่าว ห่างจากแนวกึ่งกลางท้องน้อยตามแนวระนาบ 0.5 ชุน่ ข้อบ่งช้ี: ไส้เล่ือน ปวดแน่นตึงท้องน้อย ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดท่ีนอน กล้ันปัสสาวะไม่ได้ ฝันเปียก เสอ่ื มสมรรถภาพทางเพศ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ช่นุ ตา้ เฮอ่ 大赫 Dàhè (KI 12): จดุ เช่อื มตดั กบั เส้นชง ต้า แปลว่า ใหญ่ เฮ่อ แปลว่า สมบูรณ์ เป็นจุดเชื่อมตัดกับเส้นชงซึ่งมียินช่ีสมบูรณ์ เส้นชงเช่ือมต่อ ไปยังมดลกู หรืออณั ฑะ ตาํ แหนง่ : ใตส้ ะดือ 4 ชุ่น และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชุ่น ขอ้ บ่งชี้: ฝนั เปียก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ มดลกู หยอ่ น ตกขาว วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 111 ชี่เสฺวีย 气穴 Qìxué (KI 13): จดุ เชอื่ มตัดกบั เส้นชง ช่ีเสวฺ ีย แปลว่า จุดฝงั เข็มของชี่ จดุ น้อี ยแู่ นวเดียวกบั กฺวานหยวน (CV 4) ซึ่งเปน็ ดา่ นเขา้ ออกของหยวนชี่ ตําแหน่ง: ใตส้ ะดือ 3 ชนุ่ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชุน่ ข้อบง่ ช้ี: รอบเดอื นผิดปกติ ตกขาว ปัสสาวะขัด อุจจาระร่วง ภาวะมีบตุ รยาก วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ ซื่อหมา่ น 四满 Sìmǎn (KI 14): จดุ เช่ือมตัดกับเสน้ ชง ซือ่ แปลว่า สี่ หม่าน แปลวา่ แนน่ เตม็ เป็นจดุ ท่ี 4 ของเส้นไตบนหน้าท้อง ใช้รกั ษาอาการแน่นท้อง ตําแหนง่ : ใตส้ ะดือ 2 ชนุ่ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ช่นุ ข้อบ่งช้ี: รอบเดือนผิดปกติ ตกขาว ฝันเปียก ปัสสาวะรดท่ีนอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ท้องผูก อจุ จาระรว่ ง ปวดท้อง บวมนํ้า ไสเ้ ลือ่ น วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น จงจู้ 中注 Zhōngzhù (KI 15): จุดเชือ่ มตดั กับเสน้ ชง จง หมายถงึ จงเจียว จู้ แปลว่า เตมิ เป็นจุดทีช่ ไี่ ตเทเขา้ สูจ่ งเจียว ตําแหนง่ : ใตส้ ะดือ 1 ช่นุ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ท้องผกู ปวดท้อง อจุ จาระร่วง รอบเดอื นผดิ ปกติ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ฮวฺ างซู 肓俞 Huāngshū (KI 16): จดุ เชือ่ มตัดกับเสน้ ชง ฮฺวาง แปลว่า เยอ่ื บุ ซู แปลว่า จุด จดุ นี้ตรงกบั ฮวฺ างเหมิน (BL 51) ซึ่งอย่ดู ้านหลงั เป็นจุดท่ีชีไ่ ต ไหลไปเชื่อมตอ่ กับเยื่อบุชอ่ งท้อง ตําแหน่ง: หา่ งจากสะดือตามแนวระนาบ 0.5 ชุน่ ขอ้ บ่งช้ี: ปวดท้อง ท้องอืด ทอ้ งผูก อุจจาระร่วง อาเจยี น ปวดหลงั สว่ นลา่ ง ไสเ้ ลอ่ื น วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ ซางชฺวี 商曲 Shāngqū (KI 17): จุดเชอ่ื มตดั กบั เส้นชง ซาง เป็นระดับเสียงดนตรีโบราณ สังกัดธาตุทองเช่นเดียวกับเส้นลําไส้ใหญ่ ชฺวี แปลว่า คด หมายถงึ ลาํ ไส้ใหญ่ซ่งึ มีลกั ษณะคดเคย้ี ว จดุ น้ใี ชร้ ักษาโรคของลาํ ไส้ใหญ่ ตําแหนง่ : เหนอื สะดือ 2 ช่นุ และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ปวดท้อง โรคบดิ อุจจาระร่วง ท้องผูก เบือ่ อาหาร วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น
112 บทท่ี 3 จดุ ฝงั เขม็ และเสน้ จิงลว่ั สอื กฺวาน 石关 Shíguān (KI 18): จดุ เช่ือมตัดกบั เสน้ ชง สือ แปลว่า ก้อนหิน กฺวาน แปลว่า ด่าน จุดนี้อยู่แนวเดียวกับกฺวานเหมิน (ST 22) ใช้รักษาโรค ในช่องทอ้ งที่มีลักษณะแนน่ แขง็ เช่น ทอ้ งผูก จกุ แน่นท้อง เปน็ ต้น ตําแหน่ง: เหนือสะดอื 3 ชุ่น และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: อาเจียน สะอึก ปวดกระเพาะอาหาร แน่นยอดอก ปวดท้องหลังคลอด ภาวะมีบุตรยาก ท้องผกู รอบเดือนผดิ ปกติ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ยนิ ตู 阴都 Yīndū (KI 19): จดุ เชือ่ มตัดกบั เส้นชง ยนิ คือ ยินในยนิ หยาง ตู แปลวา่ รวมกัน เป็นจดุ เชือ่ มตัดกับเส้นชงซ่ึงเป็นเสน้ ยินท้งั คู่ ตําแหนง่ : เหนือสะดือ 4 ชุ่น และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: ทอ้ งรอ้ ง ทอ้ งอดื ปวดทอ้ ง ท้องผูก ภาวะมบี ตุ รยาก วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ ฟทู่ งกู่ 腹通谷 Fùtōnggǔ (KI 20): จุดเช่ือมตัดกับเส้นชง ฟู่ แปลว่า ท้อง ทง แปลว่า ผ่าน กู่ แปลว่า อาหารและนํ้า จุดนี้อยู่แนวเดียวกับซ่างหว่าน (CV 13) เปน็ ทางผา่ นของอาหารและน้ํา ตําแหน่ง: เหนอื สะดอื 5 ชุ่น และห่างออกไปตามแนวระนาบ 0.5 ช่นุ ข้อบง่ ชี้: ทอ้ งอดื ปวดทอ้ ง อาเจียน วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ช่นุ ยวิ เหมนิ 幽门 Yōumén (KI 21): จุดเชอ่ื มตดั กบั เสน้ ชง ยวิ แปลวา่ เลือน จาง เหมนิ แปลว่า ประตู ชขี่ องเสน้ ไตและเส้นชงไหลมาพบกันทจ่ี ดุ นีแ้ ละแผ่กระจาย หายเขา้ ไปในทรวงอก ตาํ แหน่ง: เหนือสะดอื 6 ชุน่ และหา่ งไปตามแนวระนาบ 0.5 ชุน่ ข้อบ่งชี้: สะอึก อาเจยี น ปวดกระเพาะอาหาร ทอ้ งอดื อจุ จาระรว่ ง วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ หา้ มแทงลกึ ระวังถูกตับ 步廊ปู้หลาง Bùláng (KI 22) ปู้ แปลว่า ก้าวเดิน หลาง แปลวา่ เฉลยี ง จุดนขี้ นานกับกระดูกอกและอยู่ระดับเดียวกับจงถิง (CV 16) ถิง แปลวา่ หอ้ งโถง เปรียบเสมอื นเฉลยี งทางเดนิ รอบห้องโถง ตําแหนง่ : ตรงชอ่ งซโี่ ครงที่ 5 หา่ งจากแนวก่ึงกลางหน้าอกตามแนวระนาบ 2 ช่นุ ขอ้ บง่ ชี้: เจ็บแนน่ หนา้ อก ปวดสขี า้ ง ไอ หอบ อาเจียน เตา้ นมอกั เสบ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรงหรอื เฉียง 0.5-0.8 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 113 神封เสินเฟิง Shénfēng (KI 23) เสนิ หมายถึง สัมปชัญญะ จิตใจ เฟิง แปลว่า ขอบเขต จุดนี้อยู่ระดับเดียวกับถานจง (CV 17) ซ่ึงเป็นท่ีอยู่ ของเสนิ ตาํ แหนง่ : ตรงช่องซ่โี ครงที่ 4 หา่ งจากแนวกง่ึ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 2 ช่นุ ข้อบง่ ชี้: เจ็บแนน่ หน้าอก ปวดสีข้าง ไอ หอบ อาเจียน เตา้ นมอักเสบ วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ชนุ่ 灵墟หลงิ ซฺวี Língxū (KI 24) หลิง มาจากเสนิ หลงิ แปลวา่ จติ วิญญาณ ซฺวี แปลวา่ สถานท่ี จุดนอ้ี ยู่ระดบั เดยี วกับยฺวี่ถาง (CV 18) ซง่ึ เปน็ ท่ีอยู่ของเสนิ ตาํ แหน่ง: ตรงช่องซ่โี ครงท่ี 3 หา่ งจากแนวก่งึ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 2 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสีข้าง ไอ หอบ อาเจียน เต้านมอักเสบ วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชนุ่ 神藏เสินฉาง Shéncáng (KI 25) เสนิ หมายถึง สตสิ ัมปชญั ญะ จิตใจ ฉาง แปลว่า กักเก็บ จดุ น้อี ย่ดู ้านขา้ งจ่อื กง (CV 19) เหนือหลิงซฺวี (KI 24) เปน็ จุดที่เสนิ เกบ็ ตวั อยู่ภายใน ตาํ แหน่ง: ตรงชอ่ งซโ่ี ครงที่ 2 ห่างจากแนวกง่ึ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 2 ชุน่ ขอ้ บง่ ช้ี: เจ็บหน้าอก ไอ หอบ อาเจียน วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-0.8 ช่นุ 彧中ยฺว่จี ง Yùzhōng (KI 26) ยฺวี่ แปลว่า อุดมสมบูรณ์ จง แปลว่า กลาง หมายถึง ทรวงอก เป็นจุดท่ีช่ีไตอุดมสมบูรณ์ที่สุด ขณะไหลเวยี นเขา้ สูท่ รวงอก ตาํ แหนง่ : ตรงช่องซ่ีโครงที่ 1 ห่างจากแนวก่ึงกลางหน้าอกตามแนวระนาบ 2 ชุ่น ขอ้ บง่ ช้ี: เจบ็ แน่นหนา้ อก ปวดสขี า้ ง ไอ หอบ วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุ่น ซฝู ู่ 俞府 Shūfǔ (KI 27) ซู หมายถงึ จุดฝังเข็ม ฝู่ แปลว่า ศูนยร์ วม ชไี่ ตขนึ้ มาจากเทา้ แลว้ รวมตวั กนั ท่ีจดุ นี้ ตาํ แหน่ง: อยู่ขอบล่างของกระดูกไหปลาร้า ห่างจากแนวกงึ่ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 2 ชนุ่ ขอ้ บ่งช้ี: ไอ หอบ เจบ็ หน้าอก อาเจียน วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-0.8 ชนุ่
114 บทที่ 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จงิ ล่ัว 9. จุดฝงั เข็มบนเส้นเยื่อหุม้ หวั ใจเจวฺ ี๋ยยนิ มอื เทยี นฉอื 天池 Tiānchí (PC 1): จุดเชอ่ื มตัดกบั เสน้ ตบั เสน้ ถุงนํ้าดี และเส้นซานเจียว เทยี น แปลว่า ฟ้า ฉือ แปลว่า สระ จดุ นอ้ี ยู่ใกลเ้ ต้านมซึ่งเก็บน้ํานมเปรียบเสมือนสระ หน้าอกอยู่ส่วนบน ของรา่ งกายเปรียบเป็นฟา้ ตาํ แหนง่ : ตรงชอ่ งซี่โครงท่ี 4 หา่ งจากแนวก่งึ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 5 ช่นุ ข้อบ่งช้ี: เจ็บหนา้ อก แน่นหนา้ อก หอบ ไอ เตา้ นมอกั เสบ นํา้ นมไมพ่ อ วณั โรคตอ่ มน้ําเหลืองที่คอ วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉยี งหรอื แทงราบ 0.3-0.5 ชุน่ ห้ามแทงลกึ ระวังถูกปอด 天泉เทียนเฉวฺ ยี น Tiānquán (PC 2) เทยี น แปลวา่ ฟ้า เฉฺวยี น แปลว่า นา้ํ พุ จุดนี้รับชี่จากเทียนฉือ (PC 1) อยู่ใกล้กับเทียนฝู่ (LU 3) และจี๋เฉฺวียน (HT 1) ตําแหน่ง: ใต้ปลายรอยพับรักแร้ด้านหน้า 2 ชุ่น ระหว่าง long head กับ short head ของกล้ามเนื้อ biceps brachii ขอ้ บง่ ชี้: ไอ เจบ็ หนา้ อก แนน่ หน้าอก ปวดสขี า้ ง ปวดแขนด้านใน ปวดแผน่ หลังทรวงอก วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ภาพที่ 3.50 แสดงจดุ ฝงั เขม็ บนเสน้ เยื่อหุม้ หัวใจ (PC 2 - PC 3) ชฺวเี จอ๋ 曲泽 Qūzé (PC 3): จดุ เหอ ชวฺ ี แปลวา่ โค้ง เจ๋อ แปลวา่ บึง จดุ อยตู่ รงแอง่ ของรอยพบั ขอ้ ศอกด้านใน ตาํ แหนง่ : รอยพบั ขอ้ ศอก ตรงรอยบุ๋มฝง่ั ulnar ของเอน็ biceps brachii
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 115 ข้อบ่งช้ี: เจ็บหน้าอก ใจสั่น ตกใจง่าย ปวดกระเพาะอาหาร อุจจาระร่วง อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด กลุ่มโรคไข้ ปวดเกรง็ แขน วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น หรอื เจาะปลอ่ ยเลอื ด ซีเ่ หมนิ 郄门 Xìmén (PC 4): จุดซี่ ซ่ี แปลว่า ร่อง ซอก เหมิน แปลวา่ ประตู จดุ นี้อยลู่ กึ ลงไปในร่องระหวา่ งเอ็น 2 เส้น ตาํ แหน่ง: เหนือรอยพบั ข้อมอื ดา้ นใน 5 ชุ่น ระหว่างเอน็ palmaris longus กบั flexor carpi radialis ข้อบ่งชี้: เจ็บหนา้ อก ใจสั่น ไอเป็นเลือด อาเจียนเปน็ เลือด โรคลมชกั แผลฝีหนอง วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น เจียนส่อื 间使 Jiānshǐ (PC 5): จดุ จิง เจียน แปลว่า ระหว่าง จุดอยู่ระหว่างเส้นเอ็น 2 เส้น สื่อ แปลว่า รับใช้ เยื่อหุ้มหัวใจเปรียบเสมือน ขนุ นางรบั ใช้หวั ใจ ตาํ แหนง่ : เหนอื รอยพบั ข้อมือดา้ นใน 3 ชุ่น ระหวา่ งเอน็ palmaris longus กับ flexor carpi radialis ข้อบ่งชี้: เจ็บหน้าอก ใจสั่น ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน กลุ่มโรคไข้ หงุดหงิด โรคจิตซึมเศร้า คลมุ้ คลั่ง โรคลมชัก เสยี การสือ่ ความ ไขจ้ ับส่ัน วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ให้หลบเส้นประสาท median ภาพที่ 3.51 แสดงจุดฝงั เข็มบนเสน้ เยือ่ หุ้มหัวใจ (PC 3 - PC 7) เนย่ กฺวาน 内关 Nèiguān (PC 6): จดุ ลว่ั จดุ ปามา่ ยเจยี วฮุ่ยทีเ่ ชื่อมกบั เส้นยนิ เหวย เน่ย แปลว่า ด้านใน หมายถงึ อวยั วะจา้ งฝู่ กฺวาน แปลวา่ ดา่ น เป็นจดุ ทใี่ ชร้ กั ษาโรคของอวัยวะจ้างฝู่ ตาํ แหนง่ : เหนอื รอยพับขอ้ มือด้านใน 2 ชนุ่ ระหว่างเอ็น palmaris longus กับ flexor carpi radialis
116 บทท่ี 3 จดุ ฝังเขม็ และเส้นจงิ ลว่ั ข้อบง่ ชี้: เจ็บหน้าอก ใจส่ัน แน่นหน้าอก ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน ไอ โรคลมชัก กลุ่มโรคไข้ วงิ เวียน นอนไม่หลับ โรคหลอดเลือดสมอง แขนอ่อนแรง วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุน่ ให้หลบเส้นประสาท median ต้าหลิง 大陵 Dàlíng (PC 7): จดุ ซู จุดหยวน ตา้ แปลว่า ใหญ่ หลิง แปลวา่ เนินเขา จดุ อยู่บริเวณรอ่ งของขอ้ มอื ซง่ึ มีปุ่มนูนข้นึ เหมือนเนนิ เขา ตาํ แหน่ง: บนรอยพบั ข้อมอื ด้านใน อยู่ระหว่างเอน็ palmaris longus กับ flexor carpi radialis ข้อบ่งช้ี: เจ็บหน้าอก ใจสั่น ปวดสีข้าง ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง แผลฝี ปวดขอ้ มอื วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ช่นุ หลาวกง 劳宫 Láogōng (PC 8): จุดหยิง หลาว แปลวา่ การใช้แรงงาน หมายถงึ มอื กง แปลวา่ วัง หมายถงึ ตรงกลาง จดุ อยกู่ ลางฝ่ามอื ตําแหน่ง: อยู่กลางฝ่ามือ ระหว่างกระดูกฝ่ามือท่ี 2 กับ 3 โดยอยู่ค่อนไปทางกระดูกฝ่ามือท่ี 3 หรืออย่ทู ตี่ ําแหนง่ ปลายน้ิวกลางสัมผัสขณะกํามือ ข้อบ่งช้ี: แผลในปาก มีกล่ินปาก ฝ่ามืออักเสบเรื้อรัง โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง โรคลมชัก เจบ็ หนา้ อก อาเจยี น โรคลมแดด หมดสติ โรคหลอดเลอื ดสมอง วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ ภาพท่ี 3.52 แสดงจุดฝังเข็มบนเส้นเยอ่ื หุม้ หวั ใจ (PC 8 - PC 9)
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 117 中冲จงชง Zhōngchōng (PC 9): จดุ จ่ิง จง แปลว่า กลาง ชง แปลวา่ พ่งุ จดุ อยปู่ ลายนวิ้ กลาง ชพ่ี ุง่ ออกมาจากจดุ น้ีแลว้ ไหลขีน้ บน ตําแหนง่ : จดุ ปลายสุดของนว้ิ กลาง ข้อบง่ ช้ี: ลนิ้ แขง็ พูดไม่ได้ เจ็บหนา้ อก โรคลมแดด กลุ่มโรคไข้ หมดสติ โรคหลอดเลือดสมอง ชกั ในเดก็ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.1 ชนุ่ หรอื เจาะปล่อยเลอื ด 10. จุดฝังเขม็ บนเส้นซานเจียวซา่ วหยางมอื 关冲กฺวานชง Guānchōng (TE 1): จุดจิ่ง กฺวาน แปลวา่ ด่าน ชง แปลวา่ พงุ่ ชพี่ ่งุ ออกมาจากจุดนี้แลว้ ไหลขน้ี บน ตาํ แหน่ง: โคนเล็บนิ้วนางด้านนวิ้ ก้อย หา่ งจากมมุ ฐานเลบ็ 0.1 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดศีรษะ ตาแดง หอู ้อื หูตึง หูหนวก เจ็บคอ ลน้ิ แขง็ เปน็ ลม กลุ่มโรคไข้ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตนื้ ๆ 0.1 ชุน่ หรอื เจาะปลอ่ ยเลอื ด ภาพท่ี 3.53 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเสน้ ซานเจยี ว (TE 1 - TE 4) เย่เหมิน 液门 Yèmén (TE 2): จดุ หยงิ เย่ แปลว่า ของเหลว เหมิน แปลว่า ประตู จดุ นเี้ ปรยี บเสมอื นประตูควบคมุ ทางผ่านเข้าออกของน้าํ ตําแหนง่ : กึ่งกลางงา่ มมอื น้วิ นางกับนว้ิ ก้อย ตรงรอยตอ่ สผี ิว
118 บทท่ี 3 จดุ ฝังเขม็ และเส้นจงิ ล่วั ข้อบ่งช้ี: ปวดหลังมือ ปวดศีรษะ ตาแดง หูตึง หูหนวก หูอื้อ เจ็บคอ โรคคอตีบ ไข้จับสั่น ปวดบวมเหงือก กล่มุ โรคไข้ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ 中渚จงจู่ Zhōngzhǔ (TE 3): จุดซู จง แปลว่า กลาง จู่ แปลว่า เกาะแก่ง เม่ือช่ีไหลเวียนถึงจุดนี้ จะพักรวมตัวกันไหลเวียนต่อไป เปรยี บเสมือนมีเกาะแกง่ กลางสายนาํ้ ตําแหนง่ : ตรงรอ่ งระหว่างกระดูกฝ่ามือท่ี 4 กบั 5 หลงั ตอ่ ข้อสันหมัด ขอ้ บ่งชี้: ปวดศีรษะ ตาแดง หตู ึง หูหนวก หอู ้ือ เจบ็ คอ โรคคอตบี ไขจ้ บั ส่ัน กลมุ่ โรคไข้ ปวดเมื่อยไหล่ ปวดข้อศอก ข้อนวิ้ มือติดขัด วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ หยางฉอื 阳池 Yángchí (TE 4): จุดหยวน หยาง คือ หยางในยินหยาง ฉือ แปลว่า สระ จุดอยู่ตรงร่องของกระดูกข้อมือเหมือนสระน้ํา หลังมือ เป็นหยาง ตําแหน่ง: ตรงรอยบุ๋มบนแนวรอยพับข้อมือด้านนอก อยู่ชิดขอบเอ็น extensor digitorum communis ดา้ น ulnar ข้อบ่งชี้: ตาปวดบวมแดง หูตึง หูหนวก เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดข้อมือ ปวดข้อศอก ปวดสะบัก ไข้จบั สั่น เบาหวาน วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ ภาพที่ 3.54 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเส้นซานเจียว (TE 4 - TE 9)
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 119 วา่ ยกฺวาน 外关 Wàiguān (TE 5): จุดลัว่ จดุ ปามา่ ยเจียวฮุ่ยที่เชอื่ มกบั เส้นหยางเหวย ว่าย แปลว่า ด้านนอก หมายถึง ผิวกาย กฺวาน แปลว่า ด่าน เส้นหยางเหวยเชื่อมต่อเส้นหยาง ท่ัวรา่ งกาย จงึ ใช้จดุ นีร้ กั ษาภาวะโรคภายนอก ตาํ แหนง่ : เหนอื แนวรอยพบั ขอ้ มือด้านนอก 2 ชุ่น อยู่ก่ึงกลางระหว่างกระดกู ulna กบั radius ข้อบ่งชี้: ตาปวดบวมแดง หูอื้อ หูตึง หูหนวก วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองท่ีคอ เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสีข้าง ปวดนิ้วมือ ปวดไหล่ ปวดแขน แขนอ่อนแรง ข้อศอกตดิ ขัด ปวดศีรษะ กลุ่มโรคไข้ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ จือโกว 支沟 Zhīgōu (TE 6): จดุ จิง จือ พ้องเสียงกับคําท่ีแปลว่า แขนขา ในท่ีน้ีหมายถึง แขน โกว แปลว่า ร่องนํ้า จุดอยู่ในร่อง ระหว่างกระดกู ตําแหน่ง: เหนอื แนวรอยพับข้อมือด้านนอก 3 ชุ่น อยู่ก่ึงกลางระหว่างกระดูก ulna กับ radius ข้อบ่งช้ี: มือส่ันหรือกระตุก หูอ้ือ หูตึง หูหนวก เสียงหายเฉียบพลัน วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองที่คอ ตกหมอน ปวดชายโครง ปวดสีขา้ ง ทอ้ งผูก กลมุ่ โรคไข้ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ช่นุ 会宗ฮยุ่ จง Huìzōng (TE 7): จดุ ซ่ี ฮุ่ย แปลว่า รวบรวม จง แปลว่า ต้นกําเนิด หยางช่ีของเส้นซานเจียวรวมกันที่จุดน้ีก่อนส่งให้ ซานหยางลั่ว (TE 8) ตําแหน่ง: เหนือแนวรอยพับข้อมือดา้ นนอก 3 ชุน่ อยู่ชดิ ขอบด้าน radial ของกระดกู ulna ข้อบง่ ชี้: หูอ้ือ หูตงึ หูหนวก โรคลมชกั ปวดแขน วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น 三阳络ซานหยางล่วั Sānyángluò (TE 8) ซาน แปลวา่ สาม ลวั่ หมายถึง เสน้ ลว่ั เสน้ หยางมอื 3 เส้นจะเชื่อมตัดกันท่ีจุดน้ี ตาํ แหนง่ : เหนือแนวรอยพับขอ้ มือด้านนอก 4 ชุ่น อยู่ก่งึ กลางระหวา่ งกระดูก ulna กบั radius ขอ้ บง่ ช้ี: หตู งึ หูหนวก เสยี งหายเฉยี บพลนั ปวดฟนั ปวดข้อมือ ปวดแขน วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชนุ่ ซื่อตู๋ 四渎 Sìdú (TE 9) ซอื่ แปลว่า ส่ี ตู๋ แปลว่า แม่นํ้า ซ่ือตู๋ หมายถึง แม่นํ้าสําคัญ 4 สาย คือ แยงซีเกียง ฮวงโห หฺวายเหอ และจี้ส่ยุ ชี่จากซานหยางลัว่ (ST 8) เม่อื มาถงึ จดุ นี้จะไหลแรงเหมอื นแม่นาํ้ 4 สายนี้ ตาํ แหน่ง: ใตร้ อยพับศอก 5 ชนุ่ อยู่ก่ึงกลางระหว่างกระดูก ulna กบั radius
120 บทที่ 3 จดุ ฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ล่วั ขอ้ บ่งช้ี: ไมเกรน หูตงึ หูหนวก เจบ็ คอ เสียงหายเฉยี บพลนั ปวดฟนั ปวดแขน แขนชา วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ 天井เทยี นจ่ิง Tiānjǐng (TE 10): จุดเหอ เทียน แปลว่า ฟ้า จ่ิง แปลว่า บ่อน้ํา จุดอยู่เหนือปลายแหลมศอกเปรียบเป็นฟ้าและอยู่ในแอ่ง เปรียบเป็นบอ่ น้ํา ตําแหน่ง: ตรงแอ่งเหนือปลายแหลมศอก 1 ชุ่น ในทา่ งอขอ้ ศอก ข้อบง่ ช้ี: หูตึง หหู นวก โรคลมชกั ไมเกรน วณั โรคต่อมนํ้าเหลืองท่คี อ ปวดต้นแขน ปวดข้อศอก ลมพิษ วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น 清冷渊ชงิ เหล่งิ เยฺวียน Qīnglěngyuān (TE 11) ชิง แปลว่า เงยี บสงบ เหลิง่ แปลว่า เยน็ เยวฺ ยี น แปลวา่ ห้วงน้ําลกึ เปรยี บเสมือนน้ําไหลจากเทียนจ่ิง (TE 10) มาเป็นห้วงนาํ้ ท่ีลกึ และเยน็ จึงใชข้ จดั ความรอ้ นทซ่ี านเจียว ตําแหนง่ : แขนด้านนอก เหนือปลายศอก 2 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ปวดตา ปวดศรี ษะ ปวดคอ ปวดฟนั ปวดสะบัก ตาเหลอื ง ไข้หนาวสั่น วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชนุ่ ภาพท่ี 3.55 แสดงจุดฝงั เข็มบนเสน้ ซานเจยี ว (TE 10 - TE 14) 消泺เซยี วลัว่ Xiāoluò (TE 12) เซียว แปลว่า สลาย ลั่ว แปลว่า หนองน้ํา เปรียบเสมือนก้อนเมฆที่มาถึงจุดนี้จะถูกสลาย กลายเป็นฝนตกลงมาจนเกดิ เปน็ หนองนํา้ ตาํ แหน่ง: เหนอื ปลายศอก 5 ช่นุ อยกู่ ึง่ กลางระหว่างชิงเหลิ่งเยฺวยี น (TE 11) กับนา่ วฮุ่ย (TE 13)
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 121 ข้อบง่ ชี้: ปวดศีรษะ ปวดฟนั ปวดตงึ ตน้ คอ ปวดสะบัก ปวดแขน ปวดไหล่ เบาหวาน วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุน่ น่าวฮุ่ย 臑会 Nàohuì (TE 13): จดุ เชื่อมตัดกับเสน้ หยางเหวย นา่ ว แปลว่า ต้นแขน ฮุย่ แปลว่า บรรจบ เป็นจดุ บรเิ วณต้นแขนที่เช่อื มตัดกับเสน้ หยางเหวย ตําแหน่ง: ใต้เจียนเหลียว (TE 14) 3 ชุ่น บนแนวเส้นเชื่อมระหว่างเจียนเหลียว (TE 14) กับปลายศอก อยู่ชดิ ขอบหลงั และใต้ต่อกลา้ มเน้ือ deltoid ขอ้ บ่งชี้: คอพอก วณั โรคต่อมน้าํ เหลืองทีค่ อ ปวดบวมสะบัก วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุน่ 肩髎เจียนเหลียว Jiānliáo (TE 14) เจียน แปลวา่ ไหล่ เหลยี ว แปลวา่ ร่องระหวา่ งกระดกู จดุ อยู่บริเวณร่องกระดกู ทไี่ หล่ ตาํ แหน่ง: ใต้ acromion process ตรงรอยบุ๋มดา้ นหลงั ของไหล่เม่ือกางแขน 90 องศา ข้อบง่ ช้ี: ปวดไหล่ ยกแขนไม่ขนึ้ วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุน่ เทียนเหลียว 天髎 Tiānliáo (TE 15): จุดเชอื่ มตัดกับเส้นหยางเหวย เทยี น แปลว่า ฟา้ เหลยี ว แปลว่า รอ่ งระหวา่ งกระดูก จุดอยู่ตรงร่องกระดูกบริเวณแผ่นหลังส่วนอก เปรียบเป็นฟ้า ตําแหน่ง: ตรงแอ่งระดับมุมบนสุดของกระดูกสะบัก โดยอยู่ก่ึงกลางระหว่างเจียนจิ่ง (GB 21) กับชฺวหี ยวน (SI 13) ข้อบง่ ช้ี: ปวดไหล่ ปวดตึงตน้ คอ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น ภาพที่ 3.56 แสดงตําแหน่งเทยี นเหลยี ว (TE 15)
122 บทท่ี 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จิงลัว่ 天牖เทียนหยิว่ Tiānyǒu (TE 16) เทียน แปลว่า ฟ้า หย่ิว แปลว่า รเู ปิด จุดอยู่ที่คอเปรียบเสมือนฟ้า สรรพคณุ รักษาโรคของทวารเปิด บนศรี ษะ ตําแหน่ง: ลําคอด้านข้าง ระดับเดียวกับมุมขากรรไกรล่าง อยู่ชิดขอบหลังของกล้ามเน้ือ sternocleidomastoid ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ใบหน้าบวม ปวดตึงต้นคอ วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองท่ีคอ ปวดตา หูอื้อ หตู ึง หหู นวก เสยี งหายเฉยี บพลัน เจบ็ คอ เลือดกําเดาไหล วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น อีเ้ ฟงิ 翳风 Yìfēng (TE 17): จุดเชื่อมตดั กบั เสน้ ถงุ น้ําดี อ้ี แปลวา่ กาํ บัง เฟงิ แปลวา่ ลม จุดอยู่หลังตงิ่ หูซง่ึ ชว่ ยกําบงั เสฺยช่ลี ม ตําแหนง่ : ตรงรอ่ งระหว่างมมุ ขากรรไกรลา่ งกบั กกหู อยู่ระดับเดียวกบั ต่ิงหู ข้อบ่งช้ี: หูอ้ือ หูตึง หูน้ําหนวก อัมพาตใบหน้า ขากรรไกรแข็ง วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองท่ีคอ ปวดฟัน แกม้ บวม วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ช่นุ ภาพที่ 3.57 แสดงจุดฝงั เข็มบนเส้นซานเจียว (TE 17 - TE 23) 瘈脉ชอ่ื ม่าย Chìmài (TE 18) ชื่อ แปลว่า ชักเกร็ง ม่าย แปลว่า หลอดเลือด เม่ือเกิดอาการชัก จะเห็นหลอดเลือดบริเวณนี้ เป็นสีเขยี วมว่ ง จุดนใี้ ชร้ ักษาอาการชกั เกร็ง ตําแหน่ง: ก่ึงกลางกกหู ตรงจุดแบ่งระหว่าง 2/3 บน กับ 1/3 ล่างของเส้นโค้งหลังใบหูที่เชื่อม ระหว่างเจี่ยวซุน (TE 20) กบั อีเ้ ฟงิ (TE 17)
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 123 ขอ้ บง่ ชี้: ชักในเด็ก ปวดศรี ษะ หูอ้ือ หตู งึ หหู นวก ตาพร่า วิธีแทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชนุ่ หรือเจาะปลอ่ ยเลอื ด หลซู ี 颅息 Lúxī (TE 19) หลู แปลว่า กะโหลก ซี แปลว่า พักผอ่ น จุดน้ีมีสรรพคุณสงบเสิน ตําแหน่ง: ตรงจุดแบ่งระหวา่ ง 1/3 บน กับ 2/3 ล่างของเสน้ โค้งหลังใบหูท่ีเชื่อมระหว่างเจ่ียวซุน (TE 20) กบั อเ้ี ฟิง (TE 17) ข้อบ่งช้ี: ชักในเด็ก ชักเกร็ง ปวดศีรษะ หูอ้ือ หูตึง หูหนวก หอบหืด น้ําลายไหลย้อย ปวดสีข้าง อาเจียน กลุ่มโรคไข้ วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชนุ่ 角孙เจยี่ วซนุ Jiǎosūn (TE 20) เจ่ยี ว แปลวา่ มุมปลายแหลม ซนุ หมายถึง เสน้ ลวั่ ฝอย จดุ อยู่ระดบั ยอดใบหูซง่ึ มีเสน้ ลั่วฝอยแยกออกมา ตาํ แหนง่ : แนวชายผมตรงกับยอดใบหู ขอ้ บ่งช้ี: ไมเกรน ปวดตงึ ตน้ คอ คางทมู ปวดฟัน แก้มบวม ตอ้ เนอ้ื ต้อกระจก วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุน่ เออ่ ร์เหมนิ 耳门 Ěrmén (TE 21) เออ่ ร์ แปลว่า หู เหมนิ แปลว่า ประตู เป็นจุดท่ีชี่ของเสน้ ซานเจียวไหลจากหูเข้าสภู่ ายใน ตําแหนง่ : ตรงแอง่ หน้าตอ่ supratragic notch และหลังต่อ condyloid process ของกระดกู ขากรรไกร ขอ้ บ่งช้ี: หอู ้ือ หูตึง หหู นวก ปวดฟนั หูนํา้ หนวก วิธีแทงเข็ม: อา้ ปาก แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ เอ่อร์เหอเหลยี ว 耳和髎 Ěrhéliáo (TE 22): จุดเชือ่ มตัดกบั เส้นถุงน้ําดีและเสน้ ลําไส้เล็ก เออ่ ร์ แปลวา่ หู เหอ แปลว่า สมดุล เหลียว แปลว่า ร่องระหว่างกระดกู จดุ อยตู่ รงรอ่ งเหนอื หู ตําแหน่ง: แนวชายผมหลังจอน ระนาบเดียวกับส่วนบนสุดของฐานใบหู อยู่หลังต่อหลอดเลือดแดง superficial temporal ข้อบง่ ช้ี: ปวดศีรษะ หอู ื้อ ขากรรไกรแข็ง อมั พาตใบหน้า ลําคอใต้คางบวม วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉยี งหรอื แทงราบ 0.3-0.5 ช่นุ ให้ระวังแทงถูกหลอดเลอื ดแดง 丝竹空ซือจู๋คง Sīzhúkōng (TE 23) ซือ หมายถึง เส้นลั่วฝอย จู๋ แปลว่า ไผ่ คง แปลว่า ช่องว่าง คิ้วเหมือนใบไผ่ จุดอยู่ตรงรอยบุ๋ม หางคว้ิ รอบๆ มีเสน้ ล่ัวฝอยเชื่อมถึงกนั ตําแหนง่ : รอยบุม๋ ตรงขอบกระดูกเบา้ ตาดา้ นหางคิ้ว
124 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเส้นจิงลั่ว ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ ตาปวดบวมแดง หนังตากระตุก ปวดฟัน เวียนศีรษะ โรคลมชัก โรคจิตซึมเศร้า คลมุ้ คล่งั วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-1 ช่นุ 11.จดุ ฝงั เข็มบนเส้นถุงนาํ้ ดี ถงจื่อเหลียว 瞳子髎Tóngzǐliáo (GB 1): จดุ เชือ่ มตดั กบั เสน้ ลําไสเ้ ลก็ และเสน้ ซานเจยี ว ถงจือ่ คือลูกตาดาํ เหลียว แปลว่า รอ่ งระหว่างกระดกู หมายถงึ รอยบมุ๋ ตําแหนง่ : รอยบมุ๋ ตรงขอบกระดูกเบา้ ตาด้านหางตา หา่ งจากปลายหางตา 0.5 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ ตาปวดบวมแดง สายตาเสื่อม ตอ้ เนื้อ ตอ้ กระจก แพ้แสงน้ําตาไหล อัมพาตใบหนา้ วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3 - 0.5 ชุน่ หรอื เจาะปล่อยเลอื ด 听会ทงิ ฮยุ่ Tīnghuì (GB 2) ทิง แปลว่า ฟัง ฮุ่ย แปลว่า บรรจบ หมายถึง ศูนย์รวมของการได้ยิน จุดน้ีอยู่ใกล้กับทิงกง (SI 19) เอ่อร์เหมิน (TE 21) และเอ่อร์เหอเหลียว (TE 22) ตาํ แหนง่ : ก่ึงกลางในร่องระหวา่ ง intertragic notch กับ condyloid process ของขากรรไกรล่าง ขอ้ บง่ ชี้: หูอ้ือ หูตงึ หูหนวก หนู ้ําหนวก ปวดฟัน ขากรรไกรหลดุ อัมพาตใบหนา้ คางทมู วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุน่ ขณะผปู้ ่วยอา้ ปาก ซ่างกวฺ าน 上关 Shàngguān (GB 3): จุดเชอื่ มตัดกับเสน้ กระเพาะอาหารและเสน้ ซานเจยี ว ซ่าง แปลวา่ ด้านบน กฺวาน แปลวา่ ด่าน จดุ น้ีอยูด่ า้ นบนของกระดูกโหนกแก้ม ตําแหน่ง: บรเิ วณขมบั ตรงแอง่ เหนือขอบบนของ zygomatic arch อยู่เหนือเซย่ี กวฺ าน (ST 7) ข้อบ่งชี้: ไมเกรน หูอื้อ หูตึง หูหนวก หูน้ําหนวก ปวดฟัน อัมพาตใบหน้า ปวดประสาทใบหน้า ขากรรไกรแขง็ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ฮ่านเย่ียน 颔厌 Hànyàn (GB 4): จุดเชอื่ มตัดกับเส้นกระเพาะอาหารและเสน้ ซานเจียว ฮ่าน แปลวา่ คาง เยยี่ น แปลวา่ ประกบ เวลาเคยี้ วอาหารจุดนี้จะขยับตามขากรรไกรล่าง ตําแหน่ง: บริเวณขมับ ตรงจุดแบ่งระหว่าง 1/4 บน กับ 3/4 ล่างของเส้นโค้งขนานแนวชายผม ที่เชอ่ื มระหว่างโถวเหวย (ST 8) กบั ชฺวปี น้ิ (GB 7) ข้อบ่งชี้: ไมเกรน ปวดหางตา เวียนศีรษะ หูอือ้ ปวดฟัน โรคลมชัก วิธีแทงเขม็ : แทงราบไปด้านหลัง 0.5-0.8 ชนุ่
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 125 เสฺวยี นหลู 悬颅 Xuánlú (GB 5) เสฺวียน แปลว่า แขวน หลู แปลว่า กะโหลก จุดน้ีอยู่ข้างขมับ เสมือนแขวนอยู่ด้านข้างของ กะโหลกศีรษะ ตําแหน่ง: บริเวณขมับ ตรงจุดกึ่งกลางของเส้นโค้งขนานแนวชายผมท่ีเช่ือมระหว่างโถวเหวย (ST 8) กบั ชวฺ ีป้ิน (GB 7) ข้อบ่งช้ี: ไมเกรน ปวดหางตา ปวดฟัน หนา้ บวม วธิ ีแทงเข็ม: แทงราบไปดา้ นหลงั 0.5-0.8 ชนุ่ ภาพที่ 3.58 แสดงจดุ ฝงั เขม็ บนเส้นถุงนํ้าดี (GB 1 - GB 12) เสฺวียนหลี 悬厘 Xuánlí (GB 6): จุดเชื่อมตัดกับเส้นซานเจียว เส้นลําไส้ใหญ่ และเส้น กระเพาะอาหาร เสฺวียน แปลวา่ แขวน หลี แปลว่า เสน้ ผม จดุ น้ีอย่ทู ่ีขมับใต้เสน้ ผม ตาํ แหน่ง: บริเวณขมับ ตรงจุดแบ่งระหว่าง 3/4 บนกับ 1/4 ล่างของเส้นโค้งขนานแนวชายผม ที่เช่ือมระหว่างโถวเหวย (ST 8) กบั ชวฺ ีปิน้ (GB 7) ขอ้ บง่ ช้ี: ไมเกรน ปวดตา หอู ้ือ ปวดฟัน หน้าบวม วิธแี ทงเข็ม: แทงราบไปด้านหลัง 0.5-0.8 ช่นุ ชวฺ ีปนิ้ 曲鬓 Qūbìn (GB 7): จดุ เช่ือมตัดกับเส้นกระเพาะปสั สาวะ ชฺวี แปลว่า โคง้ ปิ้น แปลว่า จอนผม จดุ อยชู่ ว่ งโคง้ ของจอนผม ตาํ แหนง่ : ตรงจดุ ตัดระหว่างเส้นแนวระนาบระดบั ยอดใบหูกับขอบหลงั จอนผม ข้อบง่ ช้ี: ปวดศรี ษะ ปวดฟัน แกม้ บวม ขากรรไกรแขง็ ตาปวดบวมแดง หูออื้ เสียงหายเฉยี บพลัน วธิ ีแทงเข็ม: แทงราบไปด้านหลงั 0.5-0.8 ช่นุ
126 บทท่ี 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จงิ ล่ัว ซ่วยกู่ 率谷 Shuàigǔ (GB 8): จุดเช่อื มตดั กบั เส้นกระเพาะปัสสาวะ ซ่วย แปลว่า บัญชาการ กู่ แปลว่า หุบเขา จุดนี้อยู่เหนือยอดใบหูบริเวณร่องของกะโหลกขมับ เป็นจุดทอี่ ยู่ตาํ แหนง่ สงู สุดของจดุ ฝังเข็มทมี่ ชี ือ่ เปน็ หบุ เขา (กู)่ เปรียบเสมือนผู้บญั ชาการ ตาํ แหน่ง: เหนอื ยอดใบหู 1.5 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ไมเกรน เวียนศีรษะ อาเจยี น ชกั ในเดก็ วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ เทยี นชง 天冲 Tiānchōng (GB 9): จดุ เช่ือมตดั กับเส้นกระเพาะปัสสาวะ เทยี น แปลว่า ฟ้า ชง แปลว่า พ่งุ ช่แี ละเลือดจะไหลพงุ่ เขา้ สู่บริเวณกระหม่อมจากจุดนี้ ตําแหนง่ : หลงั ฐานหู อยู่เหนือแนวชายผม 2 ชุ่น และหลงั ซ่วยกู่ (GB 8) 0.5 ชนุ่ ข้อบง่ ชี้: โรคลมชกั ปวดศีรษะ ปวดบวมเหงอื ก คอพอก ใจส่นั เพราะตกใจ หูอ้ือ หูตงึ หูหนวก วธิ ีแทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น ฝูป๋าย 浮白 Fúbái (GB 10): จดุ เช่อื มตดั กบั เส้นกระเพาะปสั สาวะ ฝู แปลวา่ ลอย หมายถึง อยตู่ น้ื ปา๋ ย แปลวา่ ขาว หมายถงึ สรรพคณุ ช่วยเปดิ ทวารและทําใหต้ าสว่าง ตําแหน่ง: อยู่เหนือและหลังต่อกกหู ตรงจุดแบ่งระหว่าง 1/3 บน กับ 2/3 ล่างของแนวเส้นโค้ง ที่เชอ่ื มระหวา่ งเทียนชง (GB 9) กับหวานกู่ (GB 12) ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ ปวดตา ปวดฟัน หูอื้อ หูตึง หูหนวก วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองที่คอ คอพอก ขาลีบ ขาอ่อนแรง วธิ ีแทงเขม็ : แทงราบ 0.5-0.8 ช่นุ โถวเชี่ยวยิน 头窍阴 Tóuqiàoyīn (GB 11): จุดเชือ่ มตดั กบั เสน้ กระเพาะปัสสาวะ โถว แปลว่า ศีรษะ เช่ียว แปลวา่ ทวารเปิด ยิน คอื ยนิ ในยนิ หยาง อวัยวะจ้างเป็นยิน จุดน้ีใช้รักษาโรค ของทวารเปดิ อวยั วะจ้าง โดยเฉพาะหแู ละตา ตําแหน่ง: อยู่เหนือและหลังต่อกกหู ตรงจุดแบ่งระหว่าง 2/3 บน กับ 1/3 ล่างของแนวเส้นโค้ง ที่เช่อื มระหว่างเทียนชง (GB 9) กบั หวานกู่ (GB 12) ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดหู หูออื้ หูตงึ หหู นวก ปวดตา ปวดศีรษะ เวยี นศีรษะ วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ หวานกู่ 完骨 Wángǔ (GB 12): จุดเชื่อมตดั กบั เส้นกระเพาะปสั สาวะ หวานกู่ เป็นชื่อเรียกโบราณของปมุ่ กระดูกกกหู ตาํ แหน่ง: ตรงแอ่งดา้ นหลัง-ด้านลา่ งตอ่ ปุ่มกระดูกกกหู ข้อบง่ ชี้: ปวดศรี ษะ ปวดตึงต้นคอ แก้มบวม ปวดฟัน อมั พาตใบหนา้ นอนไมห่ ลับ หอู อื้ วิธีแทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 127 เป่ินเสิน 本神 Běnshén (GB 13): จุดเช่อื มตัดกบั เสน้ หยางเหวย เป่ิน แปลว่า ฐาน เสิน หมายถึง สติสัมปชัญญะ จิตใจ จุดน้ีอยู่แนวเดียวกับเสินถิง (GV 24) เปน็ ตาํ แหน่งทีต่ ั้งของสมอง ซึง่ เป็นฐานควบคมุ สติสัมปชญั ญะและจิตใจ ตําแหนง่ : เหนอื แนวชายผมขอบหน้าผาก 0.5 ชุน่ และห่างจากแนวก่ึงกลางศรี ษะไปด้านขา้ ง 3 ชุ่น ข้อบง่ ชี้: ปวดศีรษะ เวยี นศีรษะ ปวดตึงต้นคอ ชักในเดก็ โรคลมชกั วิธีแทงเขม็ : แทงราบ 0.5-0.8 ชุน่ หยางปา๋ ย 阳白 Yángbái (GB 14): จดุ เชอ่ื มตัดกับเส้นหยางเหวย หยาง คือ หยางในยินหยาง ปา๋ ย แปลว่า สวา่ ง จุดนี้อยู่บริเวณหน้าผากถือเป็นหยาง มีสรรพคุณ ช่วยใหต้ าสวา่ ง ตําแหน่ง: เหนือควิ้ 1 ชุ่น ตรงกับรมู ่านตาในแนวดิง่ ข้อบ่งชี้: ปวดหนา้ ผาก เวียนศีรษะ ปวดตา คันตา ต้อเนอ้ื ต้อกระจก ตาปวดบวมแดง หนังตาตก หนงั ตากระตกุ อมั พาตใบหน้า วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น โถวหลนิ ชี่ 头临泣 Tóulínqì (GB 15): จุดเชอ่ื มตัดกับเสน้ หยางเหวยและเส้นกระเพาะปสั สาวะ โถว แปลว่า ศีรษะ หลิน แปลว่า ควบคุม ช่ี แปลว่า นํ้าตา จุดน้ีอยู่ท่ีหน้าผาก ใช้รักษาความ ผิดปกตเิ กยี่ วกับการหล่ังน้ําตา ตาํ แหนง่ : เหนอื แนวชายผมขอบหน้าผาก 0.5 ชุ่น ตรงกบั รมู า่ นตาในแนวด่งิ ข้อบง่ ช้ี: ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ นํ้าตาไหล ตาปวดบวมแดง ต้อเน้ือ ต้อกระจก ปวดหางตา คัดจมูก น้ํามูกไหล ไซนัสอักเสบ ชกั ในเดก็ โรคลมชกั วิธีแทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชนุ่ มชู่ วง 目窗 Mùchuāng (GB 16): จุดเช่อื มตัดกับเสน้ หยางเหวย มู่ แปลว่า ดวงตา ชวง แปลว่า หนา้ ตา่ ง จุดนี้อยู่เหนือลูกตา ใช้รักษาความผิดปกติของการมองเห็น เปรียบเสมือนเปดิ หน้าตา่ งรบั แสงสว่าง ตําแหน่ง: เหนือแนวชายผมขอบหน้าผาก 1.5 ชนุ่ ตรงกบั รูมา่ นตาในแนวด่ิง ขอ้ บง่ ชี้: ปวดศีรษะ เวยี นศรี ษะ ตาปวดบวมแดง สายตาส้นั ประสาทตาเส่ือม คัดจมูก ชักในเด็ก โรคลมชกั วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3 - 0.5 ชุ่น เจงิ้ หยิง 正营 Zhèngyíng (GB 17): จุดเชอื่ มตดั กบั เส้นหยางเหวย เจ้ิง แปลวา่ พอดี หยิง แปลวา่ บรรจบ หมายถงึ จดุ เช่อื มตดั กับเสน้ หยางเหวย ตําแหนง่ : เหนือแนวชายผมขอบหนา้ ผาก 2.5 ชนุ่ ตรงกบั รมู ่านตาในแนวด่งิ
128 บทท่ี 3 จุดฝงั เข็มและเส้นจงิ ลว่ั ขอ้ บ่งชี้: ปวดศีรษะ เวยี นศรี ษะ ปวดฟัน ริมฝปี ากเกรง็ วิธีแทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น เฉิงหลิง 承灵 Chénglíng (GB 18): จดุ เชื่อมตดั กับเส้นหยางเหวย เฉิง แปลว่า รับ หลิง แปลว่า จิตวิญญาณ จุดนี้อยู่ด้านบนของศีรษะ เปรียบเสมือนจุดรองรับ จิตวญิ ญาณ ตาํ แหนง่ : เหนอื แนวชายผมขอบหน้าผาก 4 ชนุ่ ตรงกบั รมู า่ นตาในแนวดิ่ง ข้อบง่ ช้ี: ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ คัดจมูก นํา้ มูกไหล ไซนัสอกั เสบ เลอื ดกาํ เดาไหล ปวดตา วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น ภาพท่ี 3.59 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเส้นถงุ นํ้าดี (GB 13 - GB 20) หน่าวคง 脑空 Nǎokōng (GB 19): จดุ เชอื่ มตัดกับเสน้ หยางเหวย หน่าว แปลวา่ สมอง คง แปลวา่ ร่อง จุดน้ีอยู่ตรงรอ่ งของกะโหลกท้ายทอย ด้านข้างของหนา่ วฮู่ (GV 17) ตาํ แหนง่ : บริเวณท้ายทอย ระนาบเดียวกับขอบบนของ external occipital protuberance อยู่เหนอื เฟงิ ฉือ (GB 20) ในแนวดิ่ง ข้อบ่งช้ี: ปวดตึงตน้ คอ ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ ปวดตา เลอื ดกาํ เดาไหล หูอือ้ โรคลมชกั วิธีแทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น เฟงิ ฉือ 风池 Fēngchí (GB 20): จดุ เชื่อมตัดกับเสน้ หยางเหวย เฟงิ แปลว่า ลม ฉือ แปลว่า สระ หมายถึง รอ่ ง เปน็ จุดทถี่ กู เสฺยชี่ลมรุกรานได้ง่ายและใช้ขับเสฺยช่ลี ม ตําแหน่ง: ตรงแอ่งระหว่างมุมบนของกล้ามเน้ือ sternocleidomastoid กับ trapezius ระดับเดียวกับ เฟิงฝู่ (GV 16)
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 129 ข้อบง่ ชี้: โรคหลอดเลือดสมอง โรคลมชัก ปวดศีรษะ ไม่เกรน เวียนศีรษะ หูอื้อ หูตึง ตาปวดบวมแดง โรคหวัด ไซนัสอักเสบ เลือดกําเดาไหล อัมพาตใบหน้า ปวดตึงต้นคอ กลุ่มโรคไข้ ไข้จับสั่น ลมพษิ คอพอก วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉียง 0.8-1.2 ชุ่น ปลายเข็มช้ีไปทปี่ ลายจมูกหรือแทงราบไปทางเฟิงฝู่ (GV 16) หมายเหตุ: หา้ มแทงลึกขน้ึ บน เพราะอาจเป็นอันตรายตอ่ medulla ภาพท่ี 3.60 แสดงตําแหนง่ เฟงิ ฉือ (GB 20) เจยี นจิง่ 肩井 Jiānjǐng (GB 21): จุดเชื่อมตดั กบั เสน้ หยางเหวยและเสน้ ซานเจียว เจียน แปลว่า บา่ หรอื ไหล่ จ่ิง แปลวา่ บอ่ นาํ้ จุดอยูต่ รงแอง่ บนบ่า ตาํ แหนง่ : จดุ ก่ึงกลางของแนวเสน้ เช่ือมระหว่างต้าจุย (GV 14) กับ acromion process ข้อบ่งช้ี: ปวดตึงต้นคอ ปวดบ่าไหล่ โรคหลอดเลือดสมอง แขนอ่อนแรง วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองท่ีคอ เจ็บครรภ์เนน่ิ นาน เต้านมอักเสบ นํา้ นมไม่มา เลอื ดออกผดิ ปกตจิ ากโพรงมดลูก ไทรอยด์เปน็ พิษ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ชนุ่ ห้ามแทงลกึ เพราะอาจทะลปุ อด หมายเหตุ: หา้ มใชใ้ นหญงิ ตัง้ ครรภ์ เยวฺ ยี นเย่ 渊腋 Yuānyè (GB 22) เยฺวยี น แปลวา่ ห้วงน้ําลกึ หมายถึง อยูใ่ นช่องซ่ีโครง เย่ แปลวา่ รกั แร้ ตาํ แหนง่ : แนวกึ่งกลางรกั แร้ ตรงชอ่ งซโี่ ครงท่ี 4 ข้อบง่ ชี้: เจบ็ แนน่ หนา้ อก ปวดสีข้าง ปวดเกร็งแขนจนยกไม่ขนึ้ รักแร้บวม วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียงหรอื แทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น 辄筋เจอ๋ จิน Zhéjīn (GB 23) เจ๋อ คือ ทูบหรือไม้แม่แคร่เกวียน มีลักษณะโค้งเหมือนกระดูกซ่ีโครง จิน แปลว่า เอ็น จุดน้ี ใชเ้ สริมความแขง็ แรงของเอ็นกลา้ มเนือ้ บรเิ วณกระดูกซีโ่ ครง ตาํ แหน่ง: บริเวณสีข้าง ตรงชอ่ งซี่โครงท่ี 4 ระดับเดยี วกบั หัวนม หน้าต่อเยฺวียนเย่ (GB 22) 1 ชุ่น
130 บทท่ี 3 จดุ ฝังเขม็ และเสน้ จิงล่ัว ข้อบ่งชี้: เจบ็ แน่นหนา้ อก ปวดสีขา้ ง หอบจนนอนราบไม่ได้ เรอเปรยี้ ว อาเจยี น รกั แร้บวม ปวดบา่ ไหล่ วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียงหรอื แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ รอ่ื เยฺวีย่ 日月Rìyuè (GB 24): จดุ มขู่ องถงุ นาํ้ ดี จุดเชอื่ มตัดกบั เสน้ มา้ ม รื่อ แปลว่า ดวงอาทิตย์ เยฺวี่ย แปลว่า ดวงจันทร์ อักษร 2 ตวั นรี้ วมกัน หมายถึง ความชดั เจน (明) ถงุ นาํ้ ดเี ปน็ อวยั วะทท่ี ําหน้าที่ตัดสินใจได้อยา่ งเด็ดขาด ตาํ แหนง่ : ตรงช่องซโ่ี ครงที่ 7 ห่างจากแนวกึ่งกลางหน้าอกตามแนวระนาบ 4 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ปวดสขี า้ ง ปวดชายโครง เรอเปรีย้ ว สะอกึ ดซี ่าน อาเจียน วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี งหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น ภาพที่ 3.61 แสดงจุดฝังเขม็ บนเส้นถงุ นํา้ ดี (GB 22-23, GB 25-26) จงิ เหมิน 京门 Jīngmén (GB 25): จุดมู่ของไต จงิ แปลวา่ เมอื งหลวง หมายถงึ มคี วามสาํ คัญ เหมิน แปลว่า ประตู จุดน้ีเป็นประตูผ่านเข้าออก ของช่แี ละเลือดไต จงึ มีความสาํ คัญในการรกั ษาความผิดปกติของไต ตาํ แหน่ง: บริเวณเอว ตรงขอบล่างของปลายกระดกู ซ่ีโครงท่ี 12 ข้อบ่งช้ี: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดสีข้าง ปวดชายโครง ปวดสะโพก ท้องร้อง อุจจาระร่วง ท้องอืด ปัสสาวะขัด บวมนํา้ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ช่นุ ตา้ ยมา่ ย 带脉 Dàimài (GB 26): จุดเช่ือมตัดกับเสน้ ตา้ ย ต้าย แปลว่า เขม็ ขัด ม่าย แปลว่า เส้นจงิ ลว่ั จดุ นีอ้ ยบู่ รเิ วณแนวรดั เข็มขดั ตาํ แหน่ง: ตรงจุดตัดระหวา่ งเสน้ แนวดิ่งจากปลายกระดูกซีโ่ ครงที่ 11 กับเสน้ แนวระนาบจากสะดือ
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 131 ข้อบ่งชี้: รอบเดือนผิดปกติ ขาดประจําเดือน ตกขาว มดลูกหย่อน ปวดท้อง ปวดท้องน้อยด้านข้าง ไส้เลอื่ น ปวดหลังส่วนลา่ ง ปวดสีขา้ ง วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุน่ อู่ซู 五枢 Wǔshū (GB 27): จดุ เช่อื มตัดกบั เสน้ ต้าย อู่ แปลวา่ หา้ ซู แปลวา่ แกนกลาง จุดนี้อยู่ก่ึงกลางของความสูงร่างกาย ห้าเปน็ เลขตวั กลาง ตําแหน่ง: บริเวณทอ้ งนอ้ ย ตาํ่ จากระดับสะดือ 3 ชุ่น อยู่หน้าต่อขอบในของ anterior superior iliac spine 0.5 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ไส้เลื่อน ปวดท้องน้อยด้านข้าง ปวดเอว ปวดสะโพก รอบเดือนผิดปกติ มดลูกหย่อน ตกขาว ท้องผกู วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ช่นุ เหวยตา้ ว 维道 Wéidào (GB 28): จุดเชอื่ มตัดกบั เส้นตา้ ย เหวย แปลว่า เช่ือม ต้าว แปลว่า ทางผ่าน เป็นจุดเช่ือมตัดกับเส้นต้าย เส้นต้ายเช่ือมตัด กบั เสน้ เจ้ิงจงิ 12 เสน้ จุดน้จี ึงเปน็ ชอ่ งทางท่ีเช่อื มต่อกับเส้นเจิ้งจงิ ด้วย ตําแหน่ง: จากอซู่ ู (GB 27) เฉียงลงดา้ นหน้า 0.5 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: อาเจียน เบ่ืออาหาร บวมน้ํา ไส้เลื่อน มดลูกหย่อน ตกขาวปนเลือด รอบเดือนผิดปกติ ไส้ต่ิงอกั เสบ ปวดเอวรา้ วลงขา ปวดท้องนอ้ ยด้านข้าง ปวดสะโพก วิธีแทงเข็ม: แทงตรงหรอื เฉยี งเข้าในและลงล่าง 1-1.5 ชนุ่ ภาพที่ 3.62 แสดงจุดฝังเขม็ บนเสน้ ถงุ น้าํ ดี (GB 27 - GB 29) จวฺ ีเหลียว 居髎 Jūliáo (GB 29): จุดเชอ่ื มตัดกับเสน้ หยางเชียว จฺวี แปลวา่ นง่ั ยอง เหลยี ว แปลวา่ รอ่ งระหวา่ งกระดกู เม่ือนั่งยองจุดนจ้ี ะเปน็ รอยบุ๋ม ตําแหน่ง: ตรงจุดกึ่งกลางของแนวเส้นที่เชื่อมระหว่าง anterior superior iliac spine กบั greater trochanter
132 บทท่ี 3 จุดฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ล่วั ขอ้ บ่งช้ี: ปวดหลังสว่ นล่าง ปวดตน้ ขา ขาลบี ขาออ่ นแรง ไส้เลอื่ น วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ หวฺ านเทยี่ ว 环跳 Huántiào (GB 30): จุดเชอ่ื มตดั กบั เสน้ กระเพาะปัสสาวะ หฺวาน แปลว่า วงแหวน เที่ยว แปลว่า กระโดด เวลาน่ังยองเพื่อเตรียมกระโดด ส้นเท้าจะแตะจุดน้ี ที่สะโพกพอดี และจากแนวสะโพกถงึ สน้ เทา้ จะดคู ล้ายเป็นวงแหวน ตําแหน่ง: ตรงจุดแบ่ง 1/3 นอกกับ 2/3 ในของแนวเส้นเช่ือมระหว่าง sacral hiatus กับ greater trochanter ในท่านอนตะแคงและงอเข่า หรือจุดกึ่งกลางของแนวเส้นเช่ือมระหว่าง sacral hiatus กับ greater trochanter ในท่านอนควํา่ ขอ้ บ่งชี้: ปวดหลงั ส่วนลา่ ง ปวดสะโพก ปวดขา ขาลีบ ขาอ่อนแรง อมั พาตครง่ึ ซกี ลมพษิ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 2-3 ชนุ่ ภาพที่ 3.63 แสดงตําแหนง่ หวฺานเที่ยว (GB 30) ในท่านอนตะแคงและงอเขา่ ภาพท่ี 3.64 แสดงวธิ ีพิเศษในการหาจุดหวฺ านเทยี่ ว (GB 30)
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 133 风市เฟิงซ่ือ Fēngshì (GB 31) เฟงิ แปลว่า ลม ซื่อ แปลวา่ ศูนยร์ วม เป็นจุดสําคัญสําหรับขจดั เสฺยชลี่ ม ตําแหนง่ : เหนือระดบั รอยพบั เข่าด้านนอก 7 ชุ่น อยู่ชิดขอบหลงั ของ iliotibial band หรือในท่า ยนื ตรง ปล่อยแขนลงให้แนบชดิ กับลําตัวและต้นขาด้านขา้ ง จดุ อยู่ตรงร่องทป่ี ลายนว้ิ กลางช้ีพอดี ข้อบ่งช้ี: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดต้นขา ขาลีบ ขาอ่อนแรง โรคเหน็บชา อัมพาตครึ่งซีก ลมพิษ คนั ทว่ั ร่างกาย หูดับ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ช่นุ ภาพท่ี 3.65 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเส้นถุงนาํ้ ดี (GB 31 - GB 33) 中渎จงตู๋ Zhōngdú (GB 32) จง แปลวา่ กลาง ตู๋ แปลวา่ แม่น้าํ ทางระบายนํ้า ชท่ี ไี่ หลผ่านจุดน้อี ย่ตู รงกลางระหว่างเสน้ หยาง เท้า 2 เส้น ตาํ แหนง่ : เหนือระดบั รอยพบั เขา่ ดา้ นนอก 5 ชุน่ อยู่ชิดขอบหลังของ iliotibial band ข้อบ่งช้ี: ขาลีบ ขาออ่ นแรง อัมพาตครึง่ ซกี ปวดเขา่ โรคเหน็บชา วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ 膝阳关ซีหยางกฺวาน Xīyángguān (GB 33) ซี แปลว่า เข่า หยาง คือ หยางในยินหยาง กฺวาน หมายถึง ข้อต่อ จุดอยู่ด้านนอกต่อข้อเข่าซ่ึงเป็น ดา้ นหยาง ตําแหน่ง: ตรงรอยบุ๋มเหนือ lateral epicondyle ของกระดูกต้นขา เหนือต่อหยางหลิงเฉฺวียน (GB 34) 3 ชนุ่ ข้อบง่ ช้ี: ปวดบวมเขา่ เยน็ เข่า ชาขา ขอ้ พบั เขา่ เกร็ง วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุน่
134 บทท่ี 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จงิ ลัว่ หยางหลิงเฉฺวียน 阳陵泉 Yánglíngquán (GB 34): จุดเหอ จดุ อิทธิพลของเส้นเอน็ หยาง คอื หยางในยินหยาง หลงิ แปลวา่ เนนิ เขา หมายถึง ปุ่มกระดูกน่อง เฉฺวียน แปลว่า น้ําพุ จดุ อยู่ดา้ นนอกของขาซงึ่ เป็นหยาง ใต้ปุม่ กระดูกนอ่ งเปน็ แอ่งเปรียบเสมือนนํา้ พุ ตําแหน่ง: ปลายขาด้านนอก ตรงแอง่ ขา้ งหน้าและใต้ตอ่ หวั กระดูกน่อง ข้อบง่ ช้ี: ปวดสีขา้ ง ขมปาก อาเจียน ดซี ่าน ปวดบวมเขา่ โรคเหน็บชา ขาอ่อนแรง ชักในเด็ก วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ภาพท่ี 3.66 แสดงจุดฝังเขม็ บนเส้นถุงน้ําดี (GB 34 - GB 39) หยางเจียว 阳交 Yángjiāo (GB 35): จุดซ่ีของเสน้ หยางเหวย หยาง คือ หยางในยนิ หยาง เจยี ว แปลว่า ตดั กัน เปน็ จุดเช่ือมตดั ของเสน้ หยาง 2 เสน้ ตําแหนง่ : เหนอื ยอดตาตมุ่ นอก 7 ชนุ่ อยู่ขอบหลงั ของกระดกู นอ่ ง ข้อบ่งช้ี: แน่นหน้าอก เจ็บสีข้าง เจ็บคอ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง ชักกระตุก ขาลีบ ขาอ่อนแรง ตะครวิ ขา ใจสนั่ เพราะตกใจ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ว่ายชวิ 外丘 Wàiqiū (GB 36): จดุ ซี่ วา่ ย แปลวา่ ด้านนอก ชิว แปลวา่ เนนิ เขาเลก็ ๆ จุดอย่ดู ้านนอก เวลาเดนิ กล้ามเน้ือรอบจุดน้ีจะนูนขึน้ ตาํ แหน่ง: เหนือยอดตาตุ่มนอก 7 ชนุ่ อยู่ขอบหน้าของกระดกู น่อง ข้อบง่ ชี้: เจบ็ แนน่ หนา้ อก ปวดสขี า้ ง ขาลีบ ขาอ่อนแรง ปวดตงึ ต้นคอ โรคลมชกั วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชนุ่
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 135 光明กวางหมิง Guāngmíng (GB 37): จดุ ล่วั กวาง แปลวา่ แสง หมงิ แปลวา่ สวา่ ง จุดนใี้ ช้รกั ษาโรคตา ชว่ ยการมองเหน็ ตาํ แหน่ง: เหนอื ยอดตาต่มุ นอก 5 ชุ่น อยู่ขอบหน้าของกระดกู นอ่ ง ข้อบ่งชี้: ปวดตา ตาบอดกลางคืน สายตาสั้น ต้อเนื้อ ต้อกระจก ไมเกรน ขาลีบ ขาอ่อนแรง คัดตึงเต้านม ระงบั การหลง่ั น้ํานม วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุน่ หยางฝู่ 阳辅 Yángfǔ (GB 38): จุดจิง หยาง คือ หยางในยินหยาง ฝู่ แปลว่า เสริม กระดูกน่องเสริมกระดูกแข้ง จุดนี้อยู่ด้านนอกต่อ กระดูกน่องซง่ึ เปน็ ด้านหยาง ตาํ แหนง่ : เหนือยอดตาตมุ่ นอก 4 ชุน่ อยู่ขอบหน้าของกระดกู น่อง ข้อบ่งช้ี: เจ็บคอ เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสีข้าง ปวดรักแร้ วัณโรคต่อมนํ้าเหลืองที่คอ ขาลีบ ขาอ่อน แรง ชาขา ไมเกรน ปวดศีรษะ ปวดหางตา ปวดไหปลารา้ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น เสฺวยี นจง 悬钟 Xuánzhōng (GB 39); เจฺว๋ยี กู่ 绝骨 Juégǔ ก็เรียก จุดอทิ ธพิ ลของไขกระดูก เสฺวียน แปลว่า แขวน จง แปลว่า ระฆัง กระดิ่ง จุดน้ีเป็นตําแหน่งห้อยกระด่ิงเหนือข้อเท้าเด็ก หรอื ขอ้ เท้านางราํ ในสมัยโบราณ ตําแหน่ง: เหนอื ยอดตาตมุ่ นอก 3 ชนุ่ อยู่ขอบหน้าของกระดูกนอ่ ง ข้อบง่ ชี้: ท้องอดื ท้องผูก เบอื่ อาหาร อาหารไม่ยอ่ ย สมองเสือ่ ม ความดนั โลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง ขาลีบ ขาอ่อนแรง อัมพาตครึ่งซีก โรคเหน็บชา ปวดเกร็งขาและเท้าด้านข้าง เลือดกําเดาไหล โพรงจมูกแหง้ และปวด เจ็บคอ ปวดตงึ ตน้ คอ เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสีข้าง ปัสสาวะขัด ปัสสาวะแสบ ปวดหลงั ส่วนล่าง ปวดกระเบนเหน็บ รดิ สีดวงทวาร ไมเกรน กลุ่มโรคไข้ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุน่ ชวิ ซวฺ ี 丘墟 Qiūxū (GB 40): จุดหยวน ชิว แปลว่า เนินดินเล็ก ซฺวี แปลว่า เนินดินใหญ่ จุดอยู่ระหว่างตาตุ่มนอกซ่ึงเปรียบเสมือน เนินดนิ ใหญ่ กบั ป่มุ กระดกู ส้นเท้าซงึ่ เปรียบเสมอื นเนนิ ดนิ เลก็ ตาํ แหนง่ : จากตาตุ่มนอกเฉยี งลงดา้ นหน้า ตรงแอง่ ซง่ึ อยดู่ ้านนอกต่อเอน็ extensor digitorum longus ข้อบ่งช้ี: เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสีข้าง ปวดลําคอ รักแร้บวม ไข้จับสั่น ตาปวดบวมแดง อาเจียน เรอเปรีย้ ว ปวดชาขา ขาลบี ขาออ่ นแรง โรคเหน็บชา เทา้ บิดเข้าใน ปวดบวมข้อเท้า วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น
136 บทท่ี 3 จุดฝงั เข็มและเสน้ จงิ ลัว่ จู๋หลินช่ี 足临泣 Zúlínqì (GB 41): จดุ ซู จุดปาม่ายเจียวฮุ่ยทีเ่ ชือ่ มกบั เสน้ ตา้ ย จู๋ แปลว่า เท้า หลิน แปลว่า ควบคุม ช่ี แปลว่า นํ้าตา จุดอยู่ท่ีเท้า ใช้รักษาความผิดปกติเกี่ยวกับ การหลงั่ นา้ํ ตา ตําแหน่ง: บริเวณหลังเท้า ตรงร่องระหว่างกระดูกฝ่าเท้าที่ 4 กับ 5 โดยอยู่ด้านนอกต่อเอ็น extensor digiti minimi ข้อบง่ ช้ี: ไมเกรน เวียนศีรษะ ตาปวดบวมแดง ตาแห้ง น้ําตาไหล ปวดหางตา ปวดสีข้าง หูอ้ือ หูตึง หูหนวก วณั โรคต่อมนํ้าเหลืองท่ีคอ รอบเดือนผิดปกติ เต้านมอักเสบ ปวดบวมหลังเท้า ปวดเกร็งเท้า ไข้จับสัน่ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ ภาพที่ 3.67 แสดงจุดฝงั เขม็ บนเสน้ ถงุ นาํ้ ดี (GB 40 - GB 44) ตอ้ี ู่ฮยุ่ 地五会 Dìwǔhuì (GB 42) ตี้ แปลว่า พื้นดิน อู่ แปลวา่ ห้า ฮุ่ย แปลว่า บรรจบ หมายถึง น้ิวเท้าทั้ง 5 สัมผัสกับดิน การฝังเข็ม จดุ นชี้ ่วยบรรเทาอาการปวด ทาํ ให้ลงนา้ํ หนักไดเ้ ต็มเทา้ ตําแหน่ง: บริเวณหลังเท้า ตรงร่องระหว่างกระดูกฝ่าเท้าที่ 4 กับ 5 โดยอยู่ด้านในต่อเอ็น extensor digiti minimi ข้อบ่งชี้: ตาปวดบวมแดง ปวดหางตา คันตา ไมเกรน หูอ้ือ หูตึง หูหนวก ขากเป็นเลือด รักแร้บวม เตา้ นมอกั เสบ ปวดหลังสว่ นลา่ ง ปวดสขี ้าง ปวดขา ปวดบวมหลงั เท้า วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 137 เสยี ซี 侠溪 Xiáxī (GB 43): จดุ หยงิ เสยี หมายถึง ชอ่ งแคบ ซี แปลว่า ลาํ ธาร จดุ นี้อยู่ตรงซอกระหวา่ งนวิ้ เท้า 2 น้ิว ซ่งึ เปรียบเป็นลาํ ธาร ตําแหนง่ : กึง่ กลางง่ามนิว้ เท้าท่ี 4 กับ 5 ตรงรอยต่อสีผวิ ข้อบ่งชี้: กลุ่มโรคไข้ ปวดศีรษะ วิงเวียน ตาลาย แก้มบวม หูอ้ือ หูตึง หูหนวก ตาปวดบวมแดง เจบ็ แน่นหนา้ อก ปวดสีข้าง ปวดบวมหลังเทา้ เต้านมอักเสบ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ จ๋เู ช่ียวยิน 足窍阴 Zúqiàoyīn (GB 44): จดุ จิง่ จู๋ แปลวา่ เทา้ เชี่ยว แปลวา่ ทวารเปิด ยิน คือ ยินในยนิ หยาง อวัยวะจา้ ง 5 เปน็ ยิน จดุ อยู่ทเ่ี ทา้ ใช้รกั ษาโรคของทวารเปดิ อวัยวะจ้าง ตําแหนง่ : โคนเล็บน้ิวเทา้ ที่ 4 ดา้ นนอก หา่ งจากมุมฐานเลบ็ 0.1 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ไมเกรน ตาปวดบวมแดง หูอ้ือ หูตึง หูหนวก คออักเสบ โรคคอตีบ เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสขี า้ ง ปวดบวมหลงั เท้า นอนไมห่ ลับ ฝันมาก รอบเดือนผิดปกติ กลุ่มโรคไข้ อัมพาตครง่ึ ซกี วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.1 ช่นุ หรือเจาะปล่อยเลือด 12. จุดฝงั เข็มบนเส้นตบั ต้าตนุ 大敦 Dàdūn (LR 1): จุดจิ่ง ตา้ แปลว่า ใหญ่ หมายถงึ นวิ้ หวั แม่เทา้ ตนุ แปลว่า หนา จุดนี้อยู่บนนิ้วหัวแม่เท้าซ่ึงเป็นบริเวณ ที่ใหญแ่ ละหนา ตาํ แหน่ง: โคนเลบ็ น้ิวหัวแม่เทา้ ดา้ นนอก หา่ งจากมมุ ฐานเลบ็ 0.1 ช่นุ ข้อบ่งช้ี: ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ประจําเดือนไม่มา มดลูกหย่อน ไส้เลื่อน ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะหยด ปัสสาวะไม่ออก ปวดบวมอัณฑะ โรคลมชกั วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.1-0.2 ชุน่ หรือเจาะปลอ่ ยเลือด 行间สิงเจยี น Xíngjiān (LR 2): จดุ หยงิ สิง แปลว่า เดิน เจียน หมายถึง ร่องหรือแอ่ง จุดนี้อยู่ตรงร่องระหว่างข้อน้ิวเท้า 2 นิ้ว ซึ่งช่ีของ เสน้ จงิ ลั่วไหลเวยี นผา่ น ตาํ แหนง่ : กงึ่ กลางง่ามนวิ้ หวั แมเ่ ทา้ กับนวิ้ เท้าท่ี 2 ตรงรอยต่อสีผิว ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปัสสาวะขัด ไส้เล่ือน รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนมามาก ประจําเดอื นมากะปริดกะปรอย ปวดประจําเดือน ตกขาว ตาปวดบวมแดง ต้อหิน ปวดทรวงอก ปวดสขี า้ ง อัมพาตใบหน้า โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคลมชัก ปวดบวมหลงั เทา้ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรงหรอื เฉยี ง 0.5-0.8 ช่นุ
138 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จงิ ล่ัว ท่ายชง 太冲 Tàichōng (LR 3): จุดซู จดุ หยวน ท่าย แปลว่า ใหญ่ มาก ชง แปลว่า พุ่งออก จุดนี้เป็นทางผ่านเข้าออกของชี่ปริมาณมาก เนื่องจากเปน็ จดุ ทเ่ี ส้นจิงเปฺย๋ของเส้นชงแยกออกมา ตําแหนง่ : บริเวณหลังเท้า ตรงรอ่ งหน้าตอ่ ตาํ แหน่งทบ่ี รรจบกันของกระดูกฝา่ เทา้ 1 กบั 2 ข้อบ่งชี้: ชักในเด็ก โรคลมชัก ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ อัมพาตใบหน้า ตาปวดบวมแดง อาเจียน สะอึก ปวดสีข้าง รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ปัสสาวะหยด ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ขาลีบ ขาอ่อนแรง ไส้เลื่อน ความดนั โลหติ สงู ปวดบวมหลังเท้า วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุน่ ภาพที่ 3.68 แสดงจดุ ฝังเข็มบนเสน้ ตับ (LR 1 - LR 4) 中封จงเฟิง Zhōngfēng (LR 4): จุดจิง จง แปลวา่ กลาง เฟิง แปลว่า ขอบเนิน จดุ น้อี ยรู่ ะหวา่ งขอบของเส้นเอน็ 2 เสน้ ตําแหน่ง: หน้าต่อตาตุ่มใน ตรงร่องอยู่ด้านในต่อเอ็น tibialis anterior อยู่ระหว่างเจฺย่ซี (ST 41) กบั ซางชวิ (SP 5) ขอ้ บ่งช้ี: ไสเ้ ล่อื น ปวดหลังส่วนลา่ ง ปวดทอ้ งนอ้ ยด้านข้าง ฝันเปียก ปัสสาวะขัด ขาลีบ ขาอ่อนแรง ปวดตาตมุ่ ด้านใน วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชนุ่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264