สารบัญ (1) บทนำ� 2 4 (2) แนวคดิ รากฐานของตวั ชว้ี ดั ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ�่ และยง่ั ยนื 4 6 2.1) หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 6 2.2) การพฒั นาท่ยี งั่ ยืน (Sustainable Development) 9 2.3) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals หรือ SDGs) 2.4) แนวทางการดำ� เนินธุรกจิ คารบ์ อนต่�ำ (3) แนวทางการประเมนิ ธรุ กจิ คาร์บอนต่ำ� และยง่ั ยืน 10 10 3.1) ขน้ั ตอนการประเมนิ ธุรกจิ คารบ์ อนต�่ำและยง่ั ยืน 11 3.2) เกณฑ์การคดั กรองคุณสมบัตเิ บ้ืองต้น 12 3.3) รายชื่อคณะผู้แทนและหน่วยงานผู้เช่ียวชาญด้าน 13 ตวั ชีว้ ัดธรุ กิจคาร์บอนต�ำ่ และยง่ั ยืน 3.4) หลักเกณฑ์การใหค้ ะแนน (4) รายละเอยี ดแบบประเมนิ ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ่� และยง่ั ยนื 14 15 4.1) มิติการพัฒนาเศรษฐกิจทีค่ าร์บอนตำ�่ และยัง่ ยืน 18 4.2) มติ ิการพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มทคี่ ารบ์ อนตำ่� และยัง่ ยืน 23 4.3) มิตกิ ารพฒั นาสังคมที่คารบ์ อนต�ำ่ และย่ังยนื
1 บทนำ� จากแนวนโยบายท่ีมุ่งการส่งเสริม องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน การผลติ การลงทนุ และการสรา้ ง กระจก จึงจัดท�ำตัวชี้วัดธุรกิจ งานสเี ขยี ว เพอ่ื ยกระดบั ประเทศสู่ คารบ์ อนตำ�่ และยง่ั ยนื Low Carbon เศรษฐกิจและสังคมท่ีเป็นมิตรกับ and Sustainable Business Index ส่ิงแวดล้อม การพัฒนาคลัสเตอร์ (LCSI) เพอ่ื ใชใ้ นการประเมนิ องคก์ ร อตุ สาหกรรมสเี ขยี ว เพอื่ สง่ เสรมิ ผู้ ธุรกิจท่ีมีการด�ำเนินงานด้านการ ประกอบการใหส้ ามารถปรบั ระบบ บริหารจัดการและลดการปล่อย ห่วงโซ่อุปทานหรือห่วงโซ่คุณค่าท่ี ก๊าซเรือนกระจกซึ่งสอดคล้องกับ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (Green เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ Supply Chain/Green Value ประเทศ Chain) ตลอดจนการพัฒนาขีด ความสามารถของผปู้ ระกอบการให้ ซงึ่ สามารถเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี หก้ บั มคี วามยดื หยนุ่ สามารถปรบั ตวั และ องคก์ รธรุ กจิ อนื่ ๆ และเปน็ การเชดิ ชู ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ทา่ มกลางนโยบายและ เกยี รตใิ หแ้ กอ่ งคก์ รธรุ กจิ ตวั อยา่ ง มาตรการกีดกันทางการค้าในรูป แบบตา่ งๆ ตามแนวทางการพฒั นา คมู่ อื ฉบบั น้ี นำ� เสนอตวั ชว้ี ดั LCSI ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม ที่พัฒนาข้ึนโดยอบก.ผ่านการให้ แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560- ปรึกษาจากคณะผู้แทนและหน่วย 2564) ทำ� ใหภ้ าคอตุ สาหกรรม และ งานผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลาย องคก์ รตา่ งๆ ตอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม แขวงวิชา/หน่วยงาน รวมถึงน�ำ ในการด�ำเนินงานเพ่ือตอบสนอง เสนอแนวทางการให้คะแนนของ นโยบายดงั กลา่ ว ดว้ ยการเพมิ่ ผลติ ภาพและขีดความสามารถในการ ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ อนั จะชว่ ยลดปรมิ าณ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกและผลก ระทบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มจากกจิ กรรม ของภาคอตุ สาหกรรม
ตัวชี้วัดอันประกอบด้วยมิติท่ีครอบคลุมท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และ 3 สง่ิ แวดลอ้ ม ภายใตแ้ นวคดิ ทม่ี รี ากฐานมาจาก แนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การดำ� เนนิ ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ่� การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื รวมถงึ การผลติ และบรโิ ภคทยี่ ง่ั ยนื แนวทางการดำเนนิ ธุรกิจคารบอนต่ำ บรบิ ทของการผลติ และบริโภคทย่ี ัง่ ยืน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปาหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยืน การประเมนิ ผลสำเรจ็ ของ การพฒั นา การดำเนนิ ธุรกิจคารบอนตำ่ เศรษฐกิจ ท่ยี ัง่ ยนื การพัฒนา ธรุ กจิ สิง่ แวดลอม คารบ อนตำ่ และย่ังยนื ทย่ี งั่ ยืน การพัฒนา สงั คม ท่ียงั่ ยืน รูปที่ 1 แนวคิดพืน้ ฐาน และ 3 มติ ิหลักภายใต้ตัวชีว้ ดั ธรุ กิจคารบ์ อนต�่ำและยั่งยืน ท่มี า: องคก์ ารบริหารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก (2562)
2 แนวคดิ รากฐาน ของตวั ชวี้ ดั ธรุ กิจคาร์บอนตำ่ �และยั่งยนื 2.1) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งประกอบดว้ ยรากฐานสำ� คญั คอื 3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข โดย 3 หว่ งประกอบดว้ ย ความพอประมาณ มเี หตผุ ล และมี ภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี ในขณะที่ 2 เงอื่ นไขประกอบดว้ ยเงอ่ื นไขความรู้ (ความ รอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวงั ) และเงอ่ื นคณุ ธรรม (ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ขยนั อดทน สตปิ ญั ญา และแบง่ บนั ) ซงึ่ ทงั้ หมดนน้ี ำ� ไปสกู่ ารขบั เคลอ่ื น พฒั นาทง้ั ประเดน็ เศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมทส่ี มดลุ และ พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง โดยหลกั ปรชั ญาฯ สามารถนำ� มาประยกุ ตใ์ ช้ กบั ภาคเอกชน/อตุ สาหกรรมไดภ้ ายใต้ 4 หลกั การ คอื 1. การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Involvement of People) คอื บคุ ลากรทกุ ระดบั ถอื เปน็ หวั ใจสำ� คญั ขององคก์ ร และ การมีส่วนร่วมของบุคลากร เหล่าน้ีจะท�ำให้สามารถใช้ ความรู้ความสามารถที่มี อยู่เพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์ แก่องค์กรได้อย่างเต็มท่ี ดัง น้ัน องค์กรจึงควรส่งเสริม และสนับสนุนการมีส่วนร่วม ของบุคลากรในการปรับปรุง ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ ขององค์กร และท�ำให้ม่ันใจ ได้ว่าบุคลากรมีความรู้ความ สามารถอย่างเพียงพอทั้งใน อดตี และปจั จบุ นั
5 2. การเคารพต่อผลประโยชน์ 4. การบรหิ ารเชงิ ระบบ (System ของผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี (Respect ApproachtoManagement) for Stakeholder Interest) คอื องคก์ รควรชบ้ี ง่ ทำ� ความ คือ องค์กรควรยอมรับและ เข้าใจ และบริหารจัดการ เอาใจใสใ่ นเรอื่ งผลประโยชน์ กระบวนการที่เกี่ยวข้องใน สิทธิตามกฎหมายรวมท้ัง ภาพรวมอยา่ งเปน็ ระบบ ทงั้ ใน ตอบสนองตอ่ ขอ้ กงั วลตา่ ง ๆ ดา้ นปจั จยั นำ� เขา้ กระบวนการ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่าง ผลลัพธ์ ข้อมูลป้อนกลับ เหมาะสมและเปน็ ธรรม (Feedback) และสภาพ แวดล้อม โดยพิจารณาให้ 3. การบริหารแบบองค์รวม ครอบคลมุ ตง้ั แตก่ ารวางแผน (Holistic Management) การจัดองค์กร การก�ำกับ คอื การบรหิ ารแบบองคร์ วม ดูแล และการควบคุม ซ่ึง สามารถชว่ ยพฒั นาวสิ ยั ทศั น์ จะช่วยให้เกิดประสิทธิภาพ ที่ชัดเจนในอนาคตให้เป็นไป และประสทิ ธผิ ลในการบรรลุ ในทิศทางท่ีองค์กรต้องการ วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ร ได้ โดยองค์กรควรมีการคิด และพิจารณาถึงเร่ืองต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ครบวงจร ท้ังในเร่ืองการน�ำองค์กร การวางแผน การมุ่งเน้น ลูกค้า บุคลากร สารสนเทศ กระบวนการ และผลลัพธ์ ทางธุรกิจ รวมท้ังควรค�ำนึง ถึงประโยชน์ขององค์กรและ ส่วนรวม ทง้ั ในระยะสัน้ และ ระยะยาว
6 2.2) การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื (Sustainable Development) การพฒั นาทพ่ี จิ ารณาถงึ ความสมดลุ ใน 3 มติ ิ คอื สงั คม เศรษฐกจิ และ สง่ิ แวดลอ้ ม ตามศกั ยภาพและปรมิ าณทรพั ยากรในแตล่ ะพน้ื ที่ รวมไปถงึ การสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มกบั คนในพนื้ ทใ่ี หม้ ากทส่ี ดุ ซง่ึ ทา้ ยสดุ การพฒั นาท่ี ยงั่ ยนื ควรเปน็ ความยง่ั ยนื ทง้ั สงิ่ แวดลอ้ มและความยงั่ ยนื ในชมุ ชนไปพรอ้ ม กนั ประกอบดว้ ยหลกั การสำ� คญั คอื การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ ง 3 มติ ิ ของการพฒั นา ไดแ้ ก่ 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจที่ย่ังยืนให้เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ มี กระจายรายไดเ้ ออื้ ประโยชนต์ อ่ คนสว่ นใหญใ่ นสงั คม โดยเฉพาะผู้ ทม่ี รี ายไดน้ อ้ ย 2. มิติการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืนเป็นการพัฒนาคนให้มีความรู้ มี สมรรถนะและมีผลิตภาพที่สูงขึ้นเกิดสังคมท่ีมีคุณภาพและเป็น สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 3. มติ กิ ารพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มทย่ี ง่ั ยนื เปน็ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ น ปรมิ าณทสี่ ามารถฟน้ื ตวั กลบั สสู่ ภาพเดมิ ได้ ปลอ่ ยมลพษิ ในระดบั ที่ สามารถดดู ซบั และทำ� ลายได้ และสามารถผลติ มาทดแทนได้ 2.3) เปา้ หมายการพฒั นา ทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals หรอื SDGs) เป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน พัฒนาข้ึนโดยอาศัยกรอบความ คิดที่มองการพัฒนาแบบเป็นมิติ (Dimensions) ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม และมี ความเชื่อมโยงกัน ซ่ึงเป้าหมาย การพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) น้ีถือ เป็นแรงกดดันในห่วงโซ่การผลิต ของภาคอุตสาหกรรมในอนาคต ท่ีมุ่งเน้นความเช่ือมโยงทั้งด้าน
เศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม โดยมหี ลกั การ 5Ps ไดแ้ ก่ ประชาชน 7 โลก ความมงั่ คง่ั สนั ตภิ าพ และความเปน็ หนุ้ สว่ น เปา้ หมายฯ ประกอบ ดว้ ย 17 เปา้ หมาย (Goals) 169 เปา้ ประสงค์ (Targets) ทงั้ นม้ี เี ปา้ หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ�่ โดยตรง จำ� นวน 2 เปา้ หมาย คอื เปา้ หมายที่ 13 การรบั มอื การเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศ (Climate Action) เนน้ ทก่ี ารสรา้ งความเขม้ แขง็ ความยดื หยนุ่ และความสามารถในการปรบั ตวั ภายใตก้ ารดำ� เนนิ งานใน 5 มติ ิ ไดแ้ ก่ 1. การเสริมภูมิต้านทานและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อ อนั ตรายและภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตทิ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั ภมู อิ ากาศในทกุ ประเทศ 2. บูรณาการมาตรการด้าน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศใน นโยบายยทุ ธศาสตรแ์ ละการวางแผนระดบั ชาติ 3. พัฒนาการศึกษาการสร้างความตระหนักรู้และขีดความสามารถ ของมนุษย์และของสถาบันในเร่ืองการลดปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู อิ ากาศการปรบั ตวั การลดผลกระทบ การเตอื นภยั ลว่ งหนา้ 4. ดำ� เนนิ การตามพนั ธกรณสี ำ� หรบั ประเทศพฒั นาแลว้ ซง่ึ เปน็ ภาคขี อง อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศที่ มเี ปา้ หมายในการระดมทนุ จากทกุ แหลง่ ใหไ้ ดจ้ ำ� นวน 1 แสนลา้ น เหรยี ญดอลลารส์ หรฐั ตอ่ ปี ภายในปี พ.ศ.2563 เพอื่ จะตอบสนอง ความต้องการของประเทศก�ำลังพัฒนาในด้านการลดการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจกทสี่ ำ� คญั และมคี วามโปรง่ ใสในการดำ� เนนิ งาน อกี ทง้ั กองทนุ Green Climate Fund สามารถดำ� เนนิ การ ไดเ้ ตม็ ท่ี โดยเรว็ ทสี่ ดุ 5. สง่ เสรมิ กลไกเพมิ่ ขดี ความสามารถในการวางแผนและการบรหิ าร จัดการที่เก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมี ประสทิ ธผิ ลในประเทศพฒั นานอ้ ยทสี่ ดุ และใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ ผหู้ ญงิ เยาวชน และชมุ ชนทอ้ งถนิ่ และชายขอบ(โครงการประสานงานการ วจิ ยั เพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื , 2560)
8 เปา้ หมายที่ 12 แผนการบรโิ ภคและการผลติ ทยี่ งั่ ยนื เน้นหนักในส่วนที่เกี่ยวข้องกับลดรอยเท้าทางนิเวศ (Ecological Footprint) การดำ� เนนิ การวา่ ดว้ ยการผลติ และการบรโิ ภคทยี่ ง่ั ยนื เพ่ือบรรลุการจัดการที่ยั่งยืน และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นี้ 1. ลดปรมิ าณ การใชซ้ ำ้� และการนำ� กลบั มาใชใ้ หม่ สนบั สนนุ ให้ บรษิ ทั โดยเฉพาะบรษิ ทั ขา้ มชาตแิ ละบรษิ ทั ขนาดใหญร่ บั แนว ปฏบิ ตั ทิ ย่ี ง่ั ยนื ไปใชแ้ ละผนวกขอ้ มลู ดา้ นความยงั่ ยนื ลงในวงจร การรายงานของบรษิ ทั เหลา่ นนั้ 2. ลดขยะเศษอาหารของโลกลงคร่ึงหน่ึงในระดับค้าปลีกและผู้ บรโิ ภคและลดการสญู เสยี อาหารจากกระบวนการผลติ และหว่ ง โซอ่ ปุ ทาน รวมถงึ การสญู เสยี หลงั การเกบ็ เกย่ี ว 3. การจดั การสารเคมแี ละของเสยี ทกุ ชนดิ ตลอดวงจรชวี ติ ของสงิ่ เหลา่ น้ันด้วยวิธที ่ีเปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อมตามกรอบความร่วม มือระหว่างประเทศ และลดการปลดปล่อยส่ิงเหล่านั้นออกสู่ อากาศ นำ้� และดนิ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั 4. สง่ เสรมิ แนวปฏบิ ตั ดิ า้ นการจดั ซอ้ื จดั จา้ งของภาครฐั ทย่ี งั่ ยนื 5. สนับสนุนประเทศก�ำลังพัฒนาในการเสริมความแข็งแกร่ง ของขดี ความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที จ่ี ะขบั เคล่ือนไปสู่รูปแบบการผลิตและการบริโภคท่ียั่งยืนย่ิงขึ้นของ ผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ 6. พัฒนาและใช้เครื่องมือติดตามผลกระทบการพัฒนาที่ย่ังยืน ส�ำหรับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนซ่ึงสร้างงานและส่งเสริม วฒั นธรรมและผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ 7. ท�ำให้การอุดหนุนเชื้อเพลิงฟอสซิลท่ีไร้ประสิทธิภาพและน�ำ ไปสู่การบริโภคท่ีส้ินเปลือง รวมถึงการปรับโครงสร้างภาษี และเลิกการอุดหนุนที่เป็นภัยเหล่านั้นในท่ีท่ียังมีการใช้อยู่ เพื่อให้สะท้อนผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมโดยค�ำนึงอย่างเต็มท่ี ถงึ ความจำ� เปน็ และเงอ่ื นไขทเ่ี จาะจงของประเทศกำ� ลงั พฒั นา และลดผลกระทบทางลบท่ีอาจเกิดข้ึนที่จะมีต่อการพัฒนา ของประเทศเหล่าน้ันในลักษณะทีเ่ ปน็ การคมุ้ ครองหนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบหลกั รว่ ม
9 2.4) แนวทางการดำ�เนนิ ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ�่ แนวทางการดำ� เนนิ ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ่� (Low Carbon Business: LCB) หมายถงึ รปู แบบการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ทล่ี ดการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ กา๊ ซเรอื นกระจก และคารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์ ทเ่ี กดิ จากการกระทำ� ของมนษุ ย์ โดยจดุ รว่ มของการนำ� ไปสคู่ ารบ์ อนตำ่� คอื ความพยายามในการลดการ ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก โดยมงุ่ เนน้ การพจิ ารณาใน 4 ดา้ น คอื พลงั งาน (Energy) สงิ่ แวดลอ้ ม (Environment) เศรษฐกจิ (Economy) และสงั คม (Social) รวมถงึ การดำ� เนนิ การใน 4 สว่ นสำ� คญั คอื ดา้ นพลงั งาน อาคาร การคมนาคม โดยการใชส้ าธารณปู โภคหรอื ยานพาหนะทป่ี ลอ่ ยคารบ์ อน ตำ�่ หรอื สเี ขยี ว และการจดั การนำ้� และขยะ ในภาคธรุ กจิ เอง มกี ารหยบิ ยก แนวคดิ คารบ์ อนตำ�่ มาปรบั ใชเ้ พอื่ พฒั นาประเทศไปสเู่ ศรษฐกจิ คารบ์ อนตำ่� โดยมงุ่ เนน้ ไปทหี่ ลกั สำ� คญั 3 ประการ คอื 1) กจิ กรรมทลี่ ด 2) การใชท้ รพั ยากร 3) การใช้เทคโนโลยี การปล่อยก๊าซ หรือพลังงานอย่างมี คารบ์ อนตำ�่ ในการลดการ เรอื นกระจก ประสทิ ธภิ าพสงู ทส่ี ดุ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Resource/Energy เช่น การใช้พลังงาน Sufficiency) สะอาดทดแทน พลังงาน ลม พลังงานแสงอาทิตย์ การใช้เทคโนโลยีในการ เปล่ียนขยะเป็นพลังงาน เปน็ ตน้
3 แนวทางการประเมนิ ธุรกิจ คารบ์ อนตำ่ �และยงั่ ยืน 3.1) ขน้ั ตอน ต.ค.-ม.ี ค. การประเมนิ ธรุ กจิ รวบรวมรายงานประจำปแ ละ คารบ์ อนตำ่� และยงั่ ยนื รายงานการพฒั นาอยางย่ังยืน ทเี่ ผยแพรตอ สาธาราณะ ม.ค.-ม.ิ ย. ประเมนิ ผลการจดั ระดบั ธรุ กิจ คารบ อนต่ำและย่งั ยนื ก.ค.-ส.ค. ประชมุ ผเู ชีย่ วชาญดา นตัวชวี้ ัด เขาเย่ียมชมและสมั ภาษณ ธุรกิจคารบอนต่ำและยงั่ ยืน องคกรทมี่ ีการประเมนิ ในระดบั “ดี” ขึ้นไป ส.ค. ประกาศผลการจดั ระดบั และจัดทำรายงานเผยแพร ตอสาธารณะ รปู ท่ี 2 : ขั้นตอนการ ก.ย. ประเมนิ ธรุ กจิ คารบ์ อน จดั พิธปี ระกาศเกียรติคณุ และมอบโล ตำ่� และยง่ั ยืน พรอมประกาศนยี บัตรแกองคก รผทู อ่ี ยูในระดบั ทีม่ า : องคก์ ารบรหิ าร จดั การกา๊ ซเรอื นกระจก “ยอดเย่ียม” จากทา น รมว.ทส. (2562)
3.2) เกณฑก์ ารคดั 11 กรองคณุ สมบตั ิ เบอื้ งตน้ 1องคก์ รทม่ี กี ารจดั ทำ� รายงาน ประจำ� ปี หรือ รายงานการ พัฒนาอย่างย่ังยืน ที่เผย แพรต่ ้ังแต่ วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2561 องค์กรจะต้องไม่มีเรื่อง 3 *การพิจารณาจะดูข้อมูล ร้องเรียน หรือ มีกรณี ต่างๆที่ปรากฏอยู่ใน รายงาน ฟ้องร้อง ตั้งแต่ วันที่ 1 ประจ�ำปี หรือ รายงานความ ยั่งยืนขององค์กร ที่เผยแพร่ 2มกราคม ถึงวันท่ี 19 อยู่ในชว่ งเวลาท่กี ำ� หนด ทั้งนี้ องค์กรสามารถส่งเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง กนั ยายน พ.ศ.2562 กับรายงานมายัง องค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ มหาชน) (อบก.) ได้ ภายในเวลาตาม หลักเกณฑท์ ่ีก�ำหนด *
12 3.3) รายชอื่ คณะผแู้ ทนและหนว่ ยงานผเู้ ชย่ี วชาญดา้ น ตวั ชวี้ ดั ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ�่ และยงั่ ยนื 1. รองผอู้ ำ� นวยการองคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก 2. ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ 3. ผแู้ ทนสำ� นกั งานคณะกรรมการกำ� กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ 4. ผแู้ ทนกรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 5. ผแู้ ทนการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 6. ผแู้ ทนสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 7. ผแู้ ทนสถาบนั รบั รองมาตรฐานไอเอสโอ 8. ผแู้ ทนศนู ยเ์ ทคโนโลยแี ละวสั ดแุ หง่ ชาติ 9. ผเู้ ชย่ี วชาญจากสถาบนั การศกึ ษา 3 ทา่ นประกอบดว้ ย i. ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (รศ.ดร.สยาม อรณุ ศรมี รกต รองคณบดฝี า่ ยมาตรฐานคณุ ภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม และวเิ ทศสมั พนั ธ์ คณะสง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากร ศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั มหดิ ล) ii. ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเศรษฐกจิ (นายชล บุนนาค ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจสีเขียว มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร)์ (รศ.ดร.สทุ ธิศกั ด์ิ ไกรสรสุธาสินี คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการ บญั ชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร)์ iii. ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นสงั คม (ผศ.ดร.อนุ่ เรอื น เลก็ นอ้ ย ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการสถาบนั วจิ ยั สงั คม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ) คำ�ตัดสินขององค์การบริหารจัดการก๊าซ เรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน) (อบก.) ถือ เปน็ ทส่ี ิ้นสดุ และ อบก. ขอสงวนสทิ ธิ์ ในการ เปลยี่ นแปลงผลการพจิ ารณารางวลั ตามหลกั เกณฑ์ทีก่ ำ�หนด
3.4) หลกั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 13 หลักเกณฑ์ในการประเมินอยู่ในรูปแบบของระดับ แบ่งเป็น “ระดับ 1-5” ในแตล่ ะคำ� ถาม ซงึ่ แต่ละค�ำถาม จะมี “คะแนน” ทีแ่ ตกตา่ งกัน ออกไปตามนำ�้ หนกั ความสำ� คญั ซง่ึ การคำ� นวณคะแนน จะพจิ ารณาจาก “ระดบั ” ในการดำ� เนนิ งานขององคก์ ร คณู “นำ�้ หนกั ” ความสำ� คญั หรอื [ระดบั x นำ้� หนกั = คะแนน] รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ตวั อยา่ งการใหค้ ะแนนในรปู แบบของระดบั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับ น้�ำหนัก คะแนน (A) (B) (AxB) มีการด�ำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนา 5 1.5 ทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายท่ี 12 และ มกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผลเพอื่ ปรบั ปรงุ การทำ� งานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และ มเี ปา้ หมายในอนาคต มกี ารดำ� เนนิ งานตามเปา้ หมายการพฒั นาท่ี 3 0.3 0.9 ยง่ั ยนื เปา้ หมายที่12และมกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลเพอ่ื ปรบั ปรงุ การทำ� งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มกี ารดำ� เนนิ งานตามเปา้ หมายการพฒั นาที่ 1 0.3 ยง่ั ยนื เปา้ หมายที่ 12 ไมม่ ี 0 0 ทมี่ า: องคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (2562) องค์กรหรือหน่วยงานที่มีคะแนนผ่านเกณฑ์ในระดับ ดีเยี่ยม จะไดร้ บั โลร่ างวัล/เกียรตบิ ตั รจาก รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม และไดร้ บั การประชาสมั พนั ธใ์ นรายงานธรุ กจิ คารบ์ อน ตำ่� และย่งั ยนื ของ อบก.
4 รายละเอยี ดแบบประเมินธรุ กิจ คารบ์ อนตำ่ �และยง่ั ยืน แบบประเมินธรุ กิจคารบ์ อนต�ำ่ และยงั่ ยนื ประกอบดว้ ย 3 มิติ (คะแนน เต็ม 100 คะแนน) ได้แก่ 1) มิติการพัฒนาเศรษฐกิจที่คาร์บอนต�่ำ และยงั่ ยนื (8 เกณฑย์ ่อย คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 2) มติ กิ ารพัฒนา สิ่งแวดล้อมที่คาร์บอนต�่ำและย่ังยืน (11 เกณฑ์ย่อย คะแนนเต็ม 50 คะแนน) และ 3) มติ ิการพฒั นาสงั คมทค่ี าร์บอนตำ่� และยัง่ ยนื (6 เกณฑ์ ยอ่ ย คะแนนเตม็ 20 คะแนน) แสดงดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 เกณฑ/์ เกณฑย์ อ่ ยของการประเมนิ ธรุ กจิ คารบ์ อนตำ่� และยง่ั ยนื มติ ิ เกณฑ์ เกณฑย์ อ่ ย มติ กิ ารพฒั นา 1. การดำ� เนนิ งานตามเปา้ หมายการพฒั นา 2 เศรษฐกจิ ทคี่ ารบ์ อน ทยี่ งั่ ยนื 3 ตำ�่ และยง่ั ยนื 2 2. ความเสยี่ งและโอกาสทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การ 1 เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 3. เป้าหมายและตัวชี้วัดการลดก๊าซเรือน กระจกทเี่ กย่ี วขอ้ งทางดา้ นเศรษฐกจิ 4. การใชก้ ลไกราคาคารบ์ อน มติ กิ ารพฒั นาสง่ิ 1. การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติในปรมิ าณที่ 3 แวดลอ้ มทคี่ ารบ์ อน สามารถฟน้ื ตวั กลบั สสู่ ภาพเดมิ ได้ ปลอ่ ย ตำ่� และยงั่ ยนื มลพิษในระดับท่ีสามารถดูดซับและ 2 ทำ� ลายได้ และสามารถผลติ มาทดแทนได้ 2 2 2. การบรหิ ารจดั การเพอ่ื ลดภาวะโลกรอ้ น 2 และการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 3. การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกภายในองคก์ ร 4. การลดกา๊ ซเรอื นกระจก 5. การไดร้ บั รางวลั หรอื รบั รองมาตรฐาน ท่ีเก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศ มติ กิ ารพฒั นาสงั คมท่ี 1. พนกั งาน (Employee) 1 คารบ์ อนตำ�่ และยง่ั ยนื 2. คคู่ า้ (Suppliers) 2 3. ลกู คา้ (Customer) 1 4. สงั คม (Social) 2 ทม่ี า: องคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (2562)
1) มติ กิ ารพฒั นาเศรษฐกจิ ทค่ี ารบ์ อนตำ�่ และยงั่ ยนื 15 1.1) การด�ำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (3 คะแนน) ประกอบดว้ ย 2 เกณฑ์ยอ่ ยคอื 1.1.1) การดำ� เนนิ งานตามเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื เป้าหมายที่ 12 (1.5 คะแนน) 1.1.2) การดำ� เนนิ งานตามเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื เป้าหมายที่ 13 (1.5 คะแนน) เกณฑ์ยอ่ ยขอ้ 1.1.1) และ 1.1.2) พจิ ารณาการดำ� เนนิ งานและการมีส่วนร่วมตามความมุ่งหวังตามเป้าหมาย การพัฒนาท่ียั่งยืนท้ังเป้าหมายท่ี 12 การบริโภคและ การผลิตท่ียัง่ ยนื (Responsible Consumption and Production) และ 13 การดำ� เนนิ งานด้านการเปลี่ยน สภาพภมู อิ ากาศ (Climate Action) โดยเนน้ การตดิ ตาม ประเมินผลเพอื่ ปรบั ปรงุ การทำ� งานอย่างต่อเนอื่ ง และ การตั้งเป้าหมายในอนาคต
16 1.2) ความเสยี่ งและโอกาสทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิ อากาศ (15 คะแนน) ประกอบดว้ ย 3 เกณฑย์ อ่ ยคือ 1.2.1) การประเมินความเส่ียงและโอกาสท่ีเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (5 คะแนน) 1.2.2) การนำ� ความเสย่ี งและโอกาสมาใชใ้ นการบรหิ ารความ ต่อเนื่องของการด�ำเนนิ ธรุ กิจ (5 คะแนน) 1.2.3) การลงทุนในด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู ิอากาศรวมถึงพลงั งาน (5 คะแนน) CO2 เกณฑ์ย่อยข้อ 1.2.1) ถึง 1.2.3) พิจารณาการประเมินและ เตรียมความพร้อมในการรับมือกับความเสี่ยงและโอกาสท่ีเกิด จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท้ังปัจจัยภายใน และ ภายนอก เช่น ผลกระทบจากภัยพิบัติธรรมชาติผลกระทบจาก ข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจก ผลกระทบ จากเทคโนโลยแี ละพฤตกิ รรมทเี่ ปลยี่ นไป เปน็ ตน้ อนั นำ� ไปสกู่ าร สร้างกลยุทธ์และมาตรการเพื่อลดความเส่ียง หรือ เพิ่มโอกาส ในการปรับปรงุ การดำ� เนินงาน และการน�ำกลยุทธ/์ มาตรการดงั กล่าวไปด�ำเนินการจริง ท้ังน้ีประเด็นบริหารองค์กรเพื่อให้ธุรกิจ สามารถดำ� เนนิ งานไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง รวมถงึ การลงทนุ ในโครงการ ดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและพลงั งาน เชน่ การปรบั เปลีย่ นอุปกรณ์ประสทิ ธิภาพสูง การวจิ ัยและพฒั นา การพฒั นา บคุ คลากร การใชน้ วตั กรรมในการ Decarbonizationหรอื “Life Cycle Thinking ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการได้รับคะแนนใน เกณฑย์ ่อยดังกล่าว
1.3) เปา้ หมายและตวั ชวี้ ดั การลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ กย่ี วขอ้ ง 17 ทางดา้ นเศรษฐกจิ (6 คะแนน) ประกอบดว้ ย 2 เกณฑย์ อ่ ยคอื 1.3.1) การตง้ั เปา้ หมายการดำ� เนนิ งานดา้ นการลดกา๊ ซ เรือนกระจกท่ีเก่ียวข้องทางด้านเศรษฐกิจ (4 คะแนน) 1.3.2) การก�ำหนดตัวชี้วัดผลการด�ำเนินงานด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อก�ำหนด แรงจูงใจภายในองค์กร (2 คะแนน) เกณฑ์ย่อยข้อ 3.1) และ 3.2) พิจารณาการตั้งเป้า หมายการด�ำเนินงานด้าน การลดก๊าซเรือนกระจกที่ เก่ียวข้องทางด้านเศรษฐกิจ (เช่น Carbon หรอื Energy Intensity หรือ Material Flow) อันสะท้อนถึงการให้ ความส�ำคัญต่อประสิทธิภาพ การด�ำเนินการงานในด้านดัง กลา่ ว นอกจากนกี้ ารก�ำหนด ตัวชี้วัดผู้บริหาร พนักงาน หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง กับผลการด�ำเนินงานด้าน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิ อากาศ และพลังงาน ถือ เป็นแรงจูงใจส�ำคัญต่อดัชนี ชี้วัดความส�ำเร็จขององค์กร ผ่านการให้ผลตอบแทนต่อผู้ บรหิ าร พนกั งาน หรอื ผปู้ ฏบิ ตั ิ งาน หากสร้างผลงานตามตวั ชว้ี ัดความสำ� เรจ็ ท่ีกำ� หนดไว้
18 1.4) การใชก้ ลไกราคาคารบ์ อน (6 คะแนน) ประกอบดว้ ย 1 เกณฑย์ อ่ ยคอื 1.4.1) การใชก้ ลไกราคาคารบ์ อน (6 คะแนน) เกณฑย์ อ่ ยขอ้ 1.4.1) พจิ ารณาการใชก้ ลไกราคาคารบ์ อน เป็นเครื่องมือในการลดก๊าซเรือนกระจกเพิ่มเติมให้มี ประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ เชน่ การซอ้ื ขายคารบ์ อนเครดติ กลไก ซอ้ื ขายสทิ ธใิ นการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก กจิ กรรมชดเชย คาร์บอน เป็นต้น โดยระดับคะแนนที่ได้จะแปรผันตาม จำ� นวนเครอื่ งมอื ท่ดี �ำเนินการใช้ 2) มติ กิ ารพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มทค่ี ารบ์ อนตำ่� และยงั่ ยนื 2.1) การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณที่สามารถฟื้นตัว กลบั สสู่ ภาพเดมิ ได้ ปลอ่ ยมลพษิ ในระดบั ทสี่ ามารถดดู ซบั และ ทำ� ลายได้ และสามารถผลติ มาทดแทนได้ (5 คะแนน) ประกอบ ดว้ ย 3 เกณฑย์ อ่ ยคอื 2.1.1) การจดั การทรพั ยากรและของเสยี ในกระบวนการผลติ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับกา๊ ซเรือนกระจก (3 คะแนน) 2.1.2) มแี นวปฏบิ ตั ดิ า้ นการจดั ซอ้ื จดั จา้ งทมี่ ผี ลใหเ้ กดิ การลด ก๊าซเรือนกระจก (1 คะแนน) 2.1.3) การเพ่ิมปริมาณการใช้พลังงานทดแทนในองค์กร (1 คะแนน)
REDUCE 19 RECYCLE REUSE เกณฑ์ยอ่ ยขอ้ 2.1.1) ถงึ 2.1.3) พจิ ารณาแนวคดิ และการด�ำเนิน งานเพอ่ื การจดั การทรพั ยากรและลดของเสยี ในกระบวนการผลติ อาทเิ ชน่ การประยกุ ต์ใช้หลกั 3R (Reduce, Reuse, Recycle) การประเมนิ ตลอดวัฎจกั รชีวิต หรอื Lifecycle Analysis (LCA) และ การจัดการของเสยี จนเปน็ ศนู ย์ (Zero waste) นอกจากน้ี ให้คะแนนส�ำหรับองค์กรที่ แนวทางทสี่ ง่ เสรมิ การจดั ซอื้ จัดจ้างที่มีผลให้เกิดการลด กา๊ ซเรอื นกระจก (การจดั ซอ้ื จดั จา้ งสเี ขยี ว และการจดั ซอื้ จัดจ้างท่ียั่งยืน) และมุ่งหวัง ต่อการเพ่ิมปริมาณการใช้ พลงั งานทดแทนขององคก์ ร
20 2.4) การลดก๊าซเรอื นกระจก (15 คะแนน) ประกอบด้วย 2 เกณฑ์ ยอ่ ยคอื 2.4.1) การลดก๊าซเรือนกระจกเมื่อเทียบกับปีฐาน หรือ ปี กอ่ นหนา้ (7 คะแนน) 2.4.2) การใช้นวัตกรรมในการลดก๊าซเรือนกระจกในระบบ การผลติ (8 คะแนน) เกณฑย์ ่อยข้อ 2.4.1) และ 2.4.2) พิจารณาให้คะแนนบนพ้นื ฐาน ของร้อยละปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรลดลง เมอ่ื เทยี บกบั ปฐี าน หรอื ปกี อ่ นหนา้ รวมถงึ การประยกุ ตใ์ ชก้ ารใช้ นวัตกรรม (Innovation) หรือเทคโนโลยีล�ำ้ สมัย (State of Art Technology) เพอ่ื การลดกา๊ ซเรอื นกระจกในระบบการผลติ และ ระดบั ทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร (เชน่ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ การ ปรบั ปรุงกระบวนการผลิต)
21 2.5) การได้รับรางวัล หรือ รับรองมาตรฐานท่ี เกีย่ วข้องกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (15 คะแนน) ประกอบดว้ ย 2 เกณฑ์ย่อยคอื 2.5.1) การได้รับรางวัลท้ังในระดับนานาชาติ และระดบั ชาติ (7.5 คะแนน) 2.5.2) การด�ำเนินงาน หรือ ได้รับรอง มาตรฐานท้ังในระดับนานาชาติและ ระดับชาติ (7.5 คะแนน)
22 INNGORVEAENTION AWAR D IS O เกณฑย์ ่อยขอ้ 2.5.1) และ 2.5.2) ใหค้ วามสำ� คญั การด�ำเนนิ งาน ขององค์กรตามมาตรฐาน กิจกรรม โครงการ รวมถึงการได้รับ รางวัลทั้งในระดับนานาชาติ และระดับชาติ อาทิเช่น หมาย ถึง โครงการดังต่อไปนี้ โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดบั 4 ขน้ึ ไป, โครงการส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรม ใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื (CSR-DIW), โรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory), Thailand Sustainability Investment (THSI), รางวลั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ส่ง ออกดเี ดน่ (PM Export Award) Best Green Innovation, CDP Award, DJSI Award, FTSE4Good, ISO 14064, ISO 14067, ISO 50001, ISO 26000, ISO 14001, มอก. 9999, คาร์บอน ฟุตพร้ินท์ขององค์กร (CFO), คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), คูลโหมด (CoolMode), โครงการสนับสนุนกิจกรรม ลดก๊าซเรือนกระจก (LESS), โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาค สมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER), ฉลากลด คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (CFR), EarthCheck หรอื อืน่ ๆ ท่เี กยี่ วข้อง โดยระดับคะแนนท่ีไดจ้ ะแปรผันตามจำ� นวนมาตรฐาน กิจกรรม โครงการ และรางวัลที่ดำ� เนนิ การ
3) มติ กิ ารพฒั นาสงั คมทคี่ ารบ์ อนตำ่� และยง่ั ยนื 23 3.1) พนักงาน (Employee) (5 คะแนน) ประกอบด้วย 1 เกณฑ์ ย่อยคือ 3.1.1) การสร้างจิตส�ำนึกด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศแก่พนักงาน (5 คะแนน) เกณฑ์ย่อยข้อ 3.1.1) พิจารณาการการสร้างจิตส�ำนึกด้านการ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศแกพ่ นกั งาน ผา่ นกาการสอื่ สารและ ประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างจิตส�ำนึกด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิ อากาศ รวมถงึ การตดิ ตาม ประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 3.2) คู่คา้ (Suppliers) (5 คะแนน) ประกอบด้วย 2 เกณฑย์ ่อยคือ 3.2.1) แนวทางจรรยาบรรณคู่ค้าเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่าง ย่ังยนื (Supplier Code of Conduct) (2.5 คะแนน) 3.2.2) การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ต่อคู่ค้าท่ีเก่ียวข้องกับ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (2.5 คะแนน) เกณฑ์ย่อยข้อ 3.2.1) และ 3.2.2) พิจารณาการด�ำเนินการตาม แนวทางจรรยาบรรณคคู่ า้ เพอื่ การพฒั นาธรุ กจิ อยา่ งยง่ั ยนื (Supplier Code of Conduct) ในด้านจริยธรรมทางธุรกิจ ความเท่า เทียมกันทางเพศ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ส่ิงแวดล้อม เป็นต้น อันหมายรวมถึงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้าง ความรดู้ า้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ ร รวมถงึ มกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล และ ปรับปรุง อย่างต่อเน่ือง
24 3.3) ลกู คา้ (Customer) (5 คะแนน) ประกอบดว้ ย 1 เกณฑย์ อ่ ยคอื 3.3.1) การด�ำเนินงานท่ีเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศกบั ลกู ค้า (5 คะแนน) เกณฑ์ย่อยขอ้ 3.3.1) มุ่งเน้นการส่งเสริมการด�ำเนนิ งานด้านการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศกับลูกค้า และมีการมีการปรับปรุง อย่างต่อเน่ือง เช่น การท�ำฉลากคาร์บอนฟุตพร้ินท์ ฉลากลด คาร์บอนฟุตพร้ินท์ (ฉลากลดโลกร้อน) การท�ำกิจกรรมด้านการ ลดกา๊ ซเรอื นกระจกร่วมกนั เชน่ การปลูกปา่ เปน็ ตน้ 3.4) สังคม (Social) (5 คะแนน) ประกอบดว้ ย 2 เกณฑย์ อ่ ยคอื 3.4.1) การดำ� เนนิ งานตามมาตรฐานความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม (2.5 คะแนน) 3.4.2) การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี องสงั คม อยา่ งตอ่ เนื่อง (2.5 คะแนน) เกณฑ์ย่อยข้อ 3.4.1) และ 3.4.2) พิจารณาการดำ� เนินอย่างตอ่ เนื่องตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น ISO 26000, CSR-DIW, The OECD Guidelines and Other Corporate Responsibility Instruments หรืออ่ืนๆ ท่เี กีย่ วข้อง นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีของสังคม ที่มีการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงอย่างต่อเนอ่ื ง
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: