สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คำนำ การวิจัยและพัฒนาพันธ์ุพืชเป็นพ้ืนฐานสำคัญในการนำไปสู่การพัฒนาการเกษตรของ ประเทศไทย เป็นหน่ึงในเทคโนโลยีท่ีเกษตรกรนำไปใช้ได้ทันทีและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในอนาคตท่ีกำลังจะมาถึงในป ี 2558 ท่ีประเทศ 10 ประเทศ จะรวมกันเป็นประชาคม อาเซียน สินคา้ พชื สวนเปน็ กลมุ่ พชื ทีม่ ีความสำคัญที่มักจะต้องถกู นำมาพิจารณาอยู่เสมอ การปรบั ปรงุ พนั ธุเ์ พื่อใหไ้ ด้พืชสวนพนั ธดุ์ จี งึ เป็นหนทางหนึ่งในการเพิม่ ประสิทธิภาพและลดตน้ ทุนการผลิต เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ภายใตร้ ะบบการคา้ เสร ี กรมวิชาการเกษตร โดยสถาบันวิจัยพืชสวนได้พัฒนาพันธุ์พืชสวนใหม่ๆ ท้ังไม้ผล พืชสวน อุตสาหกรรม ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักและพืชสมุนไพรและเคร่ืองเทศ ออกมารับการพัฒนาทางการ เกษตรอย่างต่อเนื่องต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้เคยรวบรวมและจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่สำหรับ พันธ์ุพืชสวนพันธ์ุดีท่ีผ่านการรับรอง ระหว่างป ี พ.ศ. 2522-2545 ไปแล้ว จำนวน 2 เล่ม และ เนื่องจากสถาบันวิจัยพืชสวนได้ผลิตพืชสวนพันธุ์ใหม่ๆ เป็นพันธ์ุแนะนำของกรมวิชาการเกษตรเพิ่ม ข้ึน จึงได้รวบรวมและจัดพิมพ์ผลงานวจิ ยั พชื สวนพนั ธดุ์ ที ผี่ า่ นการรบั รองระหวา่ งป ี 2546-2556 ให้ เปน็ พนั ธรุ์ บั รองของกรมวชิ าการเกษตร จำนวน 1 ชนิด พันธ์แุ นะนำ จำนวน 20 ชนดิ และที่เปน็ พนั ธุ์ ใหมอ่ ยูร่ ะหว่างการเสนอเป็นพนั ธแ์ุ นะนำ จำนวน 14 ชนิด รวมท้งั ส้นิ 35 ชนิด ไวใ้ นเอกสารวชิ าการ “พืชสวนพนั ธ์ดุ ี เล่ม 3” โดยหวังเป็นอยา่ งยง่ิ วา่ ผลงานวิจยั และขอ้ มลู ลกั ษณะประจำพันธ์ุ ลกั ษณะ เด่น พ้ืนท่ีแนะนำและข้อจำกัดเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร ผู้ประกอบการ นักวิชาการและ ผสู้ นใจท่ัวไป พร้อมนก้ี รมวชิ าการเกษตร ขอขอบคุณนักวิจัย ผเู้ กยี่ วข้อง และหนว่ ยงานในสังกดั กรม วิชาการเกษตรท่ีมสี ว่ นในการจัดทำเอกสารวิชาการเล่มนี้ไว ้ ณ โอกาสนดี้ ้วย (นายดำรงค์ จิระสทุ ัศน์) อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
พชื สวนพันธ์ุดี พนั ธ์รุ ับรอง กรมวิชาการเกษตร หน้า กลมุ่ พชื สวนอุตสาหกรรม 1 กาแฟอาราบกิ า้ พันธเุ์ ชยี งใหม ่ 80 พนั ธุ์แนะนำ กรมวิชาการเกษตร กลุ่มไมผ้ ล 7 ทุเรยี นพันธจ์ุ ันทบรุ ี 1 9 ทเุ รยี นพนั ธุ์จนั ทบุร ี 2 11 ทเุ รียนพันธจุ์ นั ทบุร ี 3 กลุ่มพชื สวนอตุ สาหกรรม 15 กาแฟโรบสั ตา้ พันธช์ุ มุ พร 1 17 กาแฟโรบัสต้าพนั ธ์ุชมุ พร 2 19 กาแฟโรบัสตา้ พันธช์ุ มุ พร 3 21 กาแฟโรบสั ต้าพันธุ์ชุมพร 84-4 23 กาแฟโรบัสต้าพนั ธช์ุ ุมพร 84-5 25 มะพร้าวลกู ผสมกะทิพันธุช์ มุ พร 84-1 27 มะพร้าวลกู ผสมกะทพิ นั ธชุ์ มุ พร 84-2 กลุม่ ไม้ดอกไมป้ ระดับ 31 ดาหลาพนั ธต์ุ รัง 1 33 ดาหลาพันธ์ตุ รงั 2 35 ดาหลาพันธุ์ตรงั 3 37 ดาหลาพันธุ์ตรัง 4 39 ดาหลาพนั ธ์ุตรงั 5 กลุ่มพชื ผกั 43 ถั่วฝักยาวพนั ธน์ุ ่าน 1 45 ถว่ั ฝกั ยาวพันธุ์พิจติ ร 2 47 ถัว่ ฝักยาวพนั ธพุ์ ิจิตร 84-3 กลมุ่ พืชสมุนไพรและเครื่องเทศ 51 ขมิ้นชันพันธต์ุ รัง 1 53 ขม้ินชนั พันธุ์ตรงั 84-2
สารบญั พชื สวนพันธใุ์ หมท่ ี่อยู่ระหวา่ งการเสนอเป็นพนั ธ์แุ นะนำ กลุ่มไมผ้ ล หนา้ ทเุ รียนลกู ผสมสายพันธ ์ุ 11-341-1 59 ทุเรียนลูกผสมสายพนั ธ์ุ 12-21-1 61 ทเุ รยี นลกู ผสมสายพันธุ์ 11-241-9 63 มะนาวพนั ธ์ ุ M33 65 กลมุ่ ไมด้ อกไมป้ ระดับ 69 71 ว่านสี่ทศิ พันธ์ดุ อยชา้ ง 02 73 ว่านสที่ ศิ พนั ธุ์ดอยชา้ ง 04 75 ว่านสีท่ ศิ พันธุ์วาวี 05 77 ว่านสท่ี ิศพนั ธวุ์ าว ี 06 79 หนา้ วัวลกู ผสมพันธห์ุ า้ งฉัตร 024 81 หน้าววั ลูกผสมพนั ธุ์ห้างฉัตร 028 83 หน้าวัวลกู ผสมพันธห์ุ ้างฉัตร 034 85 หน้าววั ลูกผสมพันธุห์ ้างฉตั ร 049 หน้าวัวลกู ผสมพนั ธุ์ห้างฉัตร 132 กลมุ่ พชื ผัก 89 พริกข้ีหนูผลใหญ่พันธุ์จินดา พจ 054 ภาคผนวก 92 97 รายนามคณะผวู้ ิจยั พนั ธพุ์ ืชสวน ปี 2546-2556 98 รายช่ือพนั ธุพ์ ืชสวนทเ่ี ปน็ พันธ์ุรับรอง กรมวชิ าการเกษตร ปี 2522-2550 100 รายชอ่ื พันธุ์พืชสวนทเี่ ป็นพันธ์แุ นะนำ กรมวชิ าการเกษตร ปี 2537-2556 รายช่ือพันธพ์ุ ืชสวนทเ่ี ปน็ พันธขุ์ น้ึ ทะเบยี น ตามพระราชบญั ญตั พิ นั ธ์ุพืช พ.ศ. 2518 กรมวิชาการเกษตร ป ี 2540-2556
พชื สวนพันธดุ์ ี พันธร์ุ บั รอง กรมวชิ าการเกษตร กลุม่ พชื สวนอุตสาหกรรม
กาแฟอาราบกิ า้ พันธุเ์ ชยี งใหม ่ 80
กาแฟอาราบิก้า : พันธ์ุเชยี งใหม่ 80 ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Coffea arabica L. ช่ือสามัญ: Arabica coffee, กาแฟอาราบกิ ้า ประวตั ิ เกดิ จากการผสมพนั ธ์ุระหวา่ งพันธ์ุ H.W 26/5 กับพันธ ์ุ SL 28 โดยศนู ยว์ จิ ัยโรคราสนิม กาแฟ (CIFC=Centro de Investigacao das Ferrugens do Cafeciro) ประเทศโปรตุเกส ได้ ลูกผสมชั่วท ี่ 1 ในปี 2503 เมล็ดพันธ์ุแต่ละชั่วของการคัดจะส่งไปปลูกท่ีประเทศ แองโกลา บราซิล โปรตุเกสและไทย การปลูกและคัดเลือกช่ัวท่ี 2 ดำเนินการท ่ี IICA (Instituto Interamericano de Ciencias Agricolas) ในประเทศแองโกลา ชั่วที ่ 3 ท่ีประเทศบราซิล ช่ัวที่ 4 ท่ ี CIFC ประเทศโปรตุเกส ช่ัวที่ 5 ท่ีประเทศไทย ในปี 2528 โดย ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่(ขุนวาง) และคัดเลือกจนได้ถึงช่ัวท่ี 7 ในป ี 2539-2544 ปลูกเปรียบเทียบในพ้ืนท่ีท่ีมีระดับ ความสูง 750-1,300 จากระดับน้ำทะเล รวมระยะเวลา การปรับปรุงพันธุ ์ ตัง้ แต่ปี 2528-2544 เป็นเวลา 17 ปี ลกั ษณะประจำพันธุ์ ลำตน้ ตง้ั ตรง ทรงปิรามิด ผลกลมรีผวิ มนั สผี ิวผลแก่สีแดง สีผวิ กะลาสขี าว – เหลอื งอ่อน เมลด็ กลมรี สเี ขียวอมเทา จำนวนเมล็ดตอ่ น้ำหนัก 100 กรมั คอื 449 เมล็ด จำนวนผลตอ่ ข้อ 14 ผล ผลผลติ 6.81 กิโลกรัมตอ่ ต้น (รวม 6 ปี) มีคุณภาพ ของสารกาแฟเกรด A 82 -85 เปอรเ์ ซน็ ต์ ปรมิ าณคาเฟอีน 0.42 เปอรเ์ ซน็ ต์อายุการเก็บเก่ยี วทีร่ ะดบั ความสงู 700-900 เมตร ประมาณ 173 -184 วนั ทร่ี ะดบั ความสงู 1,000 -1,300 เมตร ประมาณ 296 -324 วัน ลักษณะเด่น 1. มีความต้านทานโรคราสนิมสูง Hemilcia vastatrix 2. ให้ผลผลิตเมล็ดกาแฟดิบสูงกว่าพันธ์ุ Caturra Bourbon และ Typica ทเี่ กษตรกรปลูกท่วั ไป ประมาณ 1.79 - 2.39 เท่า 3. ใหป้ รมิ าณสารกาแฟ green bean เกรด A ประมาณ 81.3-87.3 เปอรเ์ ซ็นต์ (เฉลี่ย 5 ป)ี 4. คุณภาพการชิมอยู่ระดับ 6.5-7.0 คะแนน (จาก 10 คะแนน) เปรยี บเทยี บกบั Caturra ได้ 5.5 คะแนน พื้นท่ีแนะนำ เขตภาคเหนอื ตอนบนและตอนลา่ ง สงู จากระดบั นำ้ ทะเล 700 เมตรข้ึน ไป มีอุณหภูม ิ 18-25 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำฝนไม่ต่ำกว่า 1,500 มลิ ลเิ มตรตอ่ ป ี ขอ้ จำกัด ควรปลูกภายใตส้ ภาพร่มเงาทีเ่ ปน็ ธรรมชาต ิ หรือระหวา่ งแถวไมผ้ ลยืนต้น เชน่ มะคาเดเมีย บ๊วย ล้นิ จ่ ี เนอื่ งจากไมท่ น ตอ่ สภาวะอากาศร้อนและแหง้ แล้ง วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร รับรองพันธ ุ์ เม่อื วนั ท่ี 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2550 พืชสวนพนั ธดุ์ ี เลม่ 3 1 พันธร์ุ บั รอง
พืชสวนพันธ์ุดี พันธ์ุแนะนำ กรมวิชาการเกษตร
กลุ่ม ไมผ้ ล
ทเุ รียน พนั ธจ์ุ ันทบรุ ี 1
ทเุ รยี น : พันธจ์ุ นั ทบุร ี 1 ชื่อวิทยาศาสตร:์ Durio zibethinus Murray ชอ่ื สามญั : Durian, ทุเรยี น ประวัติ เกิดจากการผสมพันธ์ุระหว่างแม่พันธ์ุชะนีกับพ่อพันธ์ุหมอนทอง ทุเรียน ลูกผสมสายพันธ์ุน้ีได้ดำเนินการวิจัยและปรับปรุงพันธ์ุท่ีศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุร ี โดย เร่ิมดำเนินการรวบรวมพันธ ์ุ การศึกษาลักษณะประจำพันธ์ุต่างๆ การคัดเลือกพ่อ-แม่ พันธ์ุเพ่ือทำการผสมข้ามพันธ์ุทุเรียนเพ่ือผลิตทุเรียนลูกผสมและคัดเลือกทุเรียน ลูกผสมตามข้ันตอนการปรับปรุงพันธ์ุ ต้ังแต่ป ี พ.ศ. 2531-2544 รวมระยะเวลาการ วิจยั 14 ป ี ลกั ษณะประจำพนั ธุ์ ลำต้นทรงพุ่มรูปฉัตร พุ่มโปร่ง มีก่ิงแขนงห่าง เจริญเติบโตได้ดี ลำต้นสูงประมาณ 8.8 เมตร ผลมีขนาด ปานกลาง นำ้ หนกั ผลประมาณ 2.65-3.61 กโิ ลกรมั กา้ นผลยาวประมาณ 7.10-11.65 เซนตเิ มตร ทรงผลคอ่ นขา้ งกลม พู ไมน่ นู ชัดเจน ร่องพไู ม่ลกึ หนามเล็กถี่ และส้ัน เนอื้ ไมห่ นามสี ีเหลืองสวยสม่ำเสมอ รสชาติดี เนือ้ แหง้ เสน้ ใยน้อย เมอ่ื ต้นทุเรียนอายุประมาณ 15 ป ี จะมีความแข็งแรงและสมบูรณ ์ เปอร์เซ็นต์การติดผลเฉลี่ยหลังดอกบานได ้ 4 สัปดาห์ ประมาณ 0.87-8.74 เปอรเ์ ซน็ ต์ อายกุ ารเกบ็ เกย่ี ว 99-110 วนั หลงั ดอกบาน ผลผลิต 12.0-23.3 กิโลกรัมต่อต้น ลักษณะเด่น 1. เก็บเก่ียวผลผลิตในช่วงต้นฤดูของทุเรียนในภาคตะวันออก (มนี าคม-เมษายน) อายุเกบ็ เกย่ี วส้นั ประมาณ 105 วัน (เฉล่ีย 3 ปี) หลังดอก บาน 2. เปอร์เซ็นต์การติดผลเม่ือ 4 สัปดาห์หลังดอกบาน คือ 4.69 เปอรเ์ ซน็ ต ์ (เฉล่ยี 3 ป)ี ดีกว่าพันธ์ชุ ะน ี ร้อยละ 89.11 3. ลกั ษณะภายนอกมพี สู มบรู ณ ์ ผลรปู ทรงกลมร ี นำ้ หนกั ผลระหวา่ ง 2.65-3.61 กิโลกรัม หรือเฉล่ีย 3.2 กิโลกรัม (เฉล่ีย 3 ปี) เน้ือหนา 0.89 เซนติเมตร เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ 40 เปอร์เซ็นต ์ เนื้อสีเหลือง หรือ Yellow Group 11A โดยใช้แผ่นเทียบสีของ The Royal Horticulture Society รสชาตดิ ี หวานมนั เนอื้ คอ่ นขา้ งละเอยี ด กลนิ่ ออ่ น เนอื้ คงสภาพไดน้ าน ไมเ่ ละ หลงั จาก ปลงิ หลดุ หรอื หลน่ พนื้ ทแี่ นะนำ เขตปลกู ทเุ รยี นภาคตะวนั ออก เชน่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี ตราด ระยอง หรอื ภาคอนื่ ๆ ทมี่ สี ภาพภมู อิ ากาศใกล้ เคยี งกบั ภาคตะวนั ออก วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ์ุ เม่ือวันที ่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 และเป็นพันธ์ุพืชข้ึนทะเบียนเลขท ่ี 009/ 2556 เมอื่ วนั ท ี่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พืชสวนพันธ์ดุ ี เล่ม 3 7 พนั ธแ์ุ นะนำ
ทเุ รียน พนั ธจ์ุ ันทบุร ี 2
ทเุ รยี น : พันธุจ์ นั ทบุรี 2 ชื่อวิทยาศาสตร:์ Durio zibethinus Murray ช่ือสามญั : Durian, ทุเรียน ประวัติ เกดิ จากการผสมพนั ธุร์ ะหวา่ งแมพ่ ันธุช์ ะนกี ับพอ่ พนั ธุ์พวงมณี ทเุ รยี นลูกผสมสายพันธ์ุ นี้ได้ดำเนินการวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ท่ีศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี โดยดำเนินการวิจัยคัดเลือก พอ่ -แมพ่ ันธ ุ์ การรวบรวมพันธ์ ุ การศึกษาลกั ษณะประจำพันธ ์ุ การประเมนิ ผล การคัดเลือกพนั ธ์ุ ต่างๆ การผสมพันธ์ุและคัดเลือกทุเรียนลูกผสม ตามข้ันตอนการปรับปรุงพันธ ์ุ ตั้งแต่ป ี พ.ศ. 2531-2544 รวมระยะเวลาการวจิ ัย 14 ปี ลกั ษณะประจำพันธ์ุ ลำตน้ ทรงพ่มุ รูปฉตั ร พมุ่ โปร่ง มีก่งิ แขนงห่าง เจริญเตบิ โตได้ดี ลำตน้ สงู ประมาณ 10.5 เมตร ผลค่อนข้างเลก็ นำ้ หนกั ผลประมาณ 1.52-2.27 กิโลกรัม ก้านผลยาวประมาณ 4.79-7.40 เซนติเมตร ทรงผลค่อนข้างยาวรีรูปไข่ แบ่งเป็นพูชัดเจน รอ่ งพูไม่ลกึ หนามใหญ ่ ถแ่ี ละสั้น เนอื้ ไมห่ นา มสี เี หลอื งเขม้ เนอื้ เหนยี วละเอยี ด กลนิ่ อ่อน เมลด็ แหง้ เสน้ ใยน้อย เมอ่ื ตน้ ทเุ รยี น อายุประมาณ 15 ป ี จะแข็งแรง ลำต้นสมบูรณ ์ มีเปอร์เซ็นต์การติดผลเฉล่ียหลังดอกบานได ้ 4 สัปดาห ์ ประมาณ 0.58-8.42 เปอรเ์ ซน็ ต ์ อายเุ กบ็ เกยี่ วสน้ั ประมาณ 91-100 วนั หลงั ดอกบาน ผลผลติ 10.1-46.6 กโิ ลกรมั ตอ่ ตน้ ลักษณะเดน่ 1. เกบ็ เกยี่ วผลผลติ ในชว่ งตน้ ฤดขู องทเุ รยี นในภาคตะวนั ออก (มนี าคม-เมษายน) อายเุ กบ็ เกยี่ วสนั้ ประมาณ 95 วนั (เฉลยี่ 3 ป)ี หลังดอกบาน 2. เปอรเ์ ซ็นต์การตดิ ผลเมอื่ 4 สัปดาหห์ ลงั ดอกบานคอื 4.93 เปอร์เซน็ ต์ (เฉลยี่ 3 ป)ี ดกี วา่ พนั ธชุ์ ะน ี รอ้ ยละ 98.79 3. ลกั ษณะภายนอกมพี สู มบรู ณ ์ ทรงผลคอ่ นขา้ งยาวรรี ปู ไข ่ ผลมขี นาดเลก็ น้ำหนักผลระหว่าง 1.52-2.27 กิโลกรัม หรอื เฉลยี่ 1.89 กโิ ลกรมั (เฉลย่ี 3 ป)ี เน้ือหนา 0.92 เซนติเมตร เนอื้ สเี หลอื งเขม้ หรอื Yellow Orange Group 16B โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society รสชาติด ี หวานมนั เนื้อเหนียวละเอยี ด กลน่ิ ออ่ น พนื้ ทแี่ นะนำ เขตปลกู ทเุ รยี นภาคตะวนั ออก เชน่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี ตราด ระยอง หรอื ภาคอนื่ ๆ ทมี่ สี ภาพภมู อิ ากาศใกลเ้ คยี งกบั ภาคตะวนั ออก วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพนั ธุ ์ เมือ่ วันท ี่ 9 ตลุ าคม พ.ศ. 2549 และเปน็ พนั ธพุ์ ชื ขนึ้ ทะเบยี นเลขท ี่ 010/2556 เมอ่ื วนั ท ่ี 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พืชสวนพันธุ์ด ี เล่ม 3 9 พันธุแ์ นะนำ
ทเุ รียน พนั ธจ์ุ ันทบุร ี 3
ทเุ รยี น : พันธจุ์ ันทบรุ ี 3 ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Durio zibethinus Murray ชอ่ื สามญั : Durian, ทเุ รียน ประวัติ เกิดจากการผสมพันธ์ุระหว่างแม่พันธ์ุก้านยาวกับพ่อพันธุ์ชะน ี ทุเรียนลูกผสมสาย พันธุ์น้ี ได้ดำเนินการวิจัยและปรับปรุงพันธ์ุท่ีศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุร ี โดยดำเนินการวิจัยคัด เลือกพ่อ-แม่พันธ ุ์ การรวบรวมพันธ ์ุ การศึกษาลักษณะประจำพันธ ์ุ การประเมินผล การคัด เลอื กพนั ธุ์ตา่ งๆ การผสมพนั ธแุ์ ละคัดเลือกทเุ รยี นลูกผสม ตามขั้นตอนการปรบั ปรงุ พนั ธ ์ุ ต้งั แต่ ป ี พ.ศ. 2531-2544 รวมระยะเวลาการวิจัย 14 ปี ลักษณะประจำพนั ธ์ุ ลำต้นทรงพมุ่ รูปกรวย พมุ่ ทบึ มีก่ิงแตกถ่ี กิ่งแยกออกเกอื บขนานกบั ดิน ความสงู ประมาณ 8.5 เมตร ผลมีขนาดปาน กลาง น้ำหนักผลประมาณ 2.54-3.67 กิโลกรัม ก้านผลยาวประมาณ 7.48-10.49 เซนตเิ มตร ทรงผลคอ่ นขา้ งกลมรูปไข ่ พมู ี ขนาดเด่นชดั รอ่ งพูไมล่ ึก หนามใหญ่และสัน้ ฐานกว้าง หนามรปู ทรงกระโจม เนื้อไม่คอ่ ยหนา สีเหลืองเข้ม มกี ลนิ่ คอ่ นข้างแรง เน้ือละเอียดเหนียว รสชาติดี หวานมัน มีเส้นใยปานกลาง เมอื่ ตน้ ทเุ รยี นอายปุ ระมาณ 15 ป ี จะมคี วามแขง็ แรงและสมบรู ณ ์ มี เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารตดิ ผลหลงั ดอกบานได ้ 4 สปั ดาห ์ สูงประมาณ 0.70-9.88 เปอรเ์ ซน็ ต์ อายุการเก็บเกย่ี วส้นั 87-109 วันหลังดอก บาน ผลผลติ 96-154 กิโลกรัมตอ่ ตน้ ลกั ษณะเด่น 1. เกบ็ เกย่ี วผลผลิตในช่วงตน้ ฤดขู องทุเรยี นในภาคตะวนั ออก (มีนาคม-เมษายน) อายุเกบ็ เกย่ี วสัน้ ประมาณ 97 วนั (เฉลยี่ 3 ปี) หลงั ดอกบาน 2. เปอร์เซน็ ตก์ ารตดิ ผลเมื่อ 4 สปั ดาห์หลงั ดอกบาน คอื 4.37 เปอร์เซน็ ต ์ (เฉลีย่ 3 ป)ี ดกี ว่าพันธชุ์ ะนี รอ้ ยละ 76.2 3. ลกั ษณะภายนอกมพี สู มบรู ณ ์ ผลรปู ทรงขอบขนานหรอื รปู ไข ่ น้ำหนักผลระหว่าง 2.54-3.67 กิโลกรัม หรือ 3.28 กโิ ลกรมั (เฉล่ีย 3 ป)ี เน้อื หนา 1.05 เซนติเมตร เนอื้ สเี หลอื งเขม้ หรอื Yellow Orange Group 15A โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society รสชาตดิ ี หวานมนั เนอื้ ละเอยี ดเหนยี ว พื้นทแี่ นะนำ เขตปลกู ทุเรยี นภาคตะวนั ออก เช่น จงั หวดั จันทบรุ ี ตราด ระยอง หรอื ภาคอ่นื ๆ ท่ีมีสภาพภูมิอากาศใกลเ้ คยี งกบั ภาคตะวันออก วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวชิ าการเกษตร แนะนำพันธ์ุ เม่ือวนั ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 และเปน็ พนั ธพุ์ ชื ขนึ้ ทะเบยี นเลขท ี่ 011/2556 เมอ่ื วนั ท ี่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พชื สวนพนั ธ์ดุ ี เลม่ 3 11 พันธ์แุ นะนำ
กลุ่ม พืชสวนอตุ สาหกรรม
กาแฟโรบสั ตา้ พนั ธช์ุ มุ พร 1
กาแฟโรบสั ต้า : พนั ธช์ุ มุ พร 1 ชอื่ วิทยาศาสตร:์ Coffea canephora Pierre ex Froehner ช่ือสามญั : Robusta coffee, กาแฟโรบสั ตา้ ประวัติ กาแฟโรบัสต้าพันธุ์ชุมพร 1 หรือกาแฟโรบัสต้าสายพันธ์ุ 1/11 ได้จากการพัฒนาพืช กาแฟโรบัสต้าของกรมวิชาการเกษตร โดยการเก็บรวบรวมสายพันธ์ุกาแฟจากแหล่งปลูกอ่ืนๆ ท่ี สำคัญ ซึ่งรวมถึงสายพันธ์ุ 1/11 จากคุณรัตนา อำเภอสวี จังหวัดชุมพร มาไว้ท่ีศูนย์วิจัยพืชสวน ชุมพร เน่ืองจากเกษตรกรนิยมปลูกแล้วเก็บเมล็ดพันธ์ุมาขยายพันธ์ุต่อๆกัน จึงทำให้คุณภาพ กาแฟมีความหลากหลาย และกาแฟโรบัสต้า เป็นพืชผสมข้ามทำให้เมล็ดพันธ์ุกาแฟท่ีผลิตได้มี ผลผลิตต่ำ และมาตรฐานไม่ตรงตามที่ตลาดต้องการ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงได้มีการร่วมมือกับ หนว่ ยงานทด่ี ำเนนิ การเกย่ี วขอ้ งทงั้ ภาครฐั และเอกชนทำการวจิ ยั ดา้ นตา่ งๆ เพอื่ แกป้ ญั หาคุณภาพ กาแฟให้ได้มาตรฐาน รวมถึงพันธ์ุปลูกซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอันดับต้นๆ เก่ียวกับคุณภาพ เมล็ด ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพรสามารถคัดเลือกพันธ์ุกาแฟ ที่มีลักษณะดีและเมล็ดได้มาตรฐานตาม ทตี่ ลาดตอ้ งการแลว้ จำนวนหนง่ึ โดยในป ี พ.ศ. 2536-2544 ไดท้ ำการคดั เลอื กพนั ธก์ุ าแฟได ้ 3 สาย พนั ธ ์ุ คอื สายพนั ธ ุ์ 1/11 1/13 และ 1/16 โดยสรปุ ได้คดั เลอื กและประเมินพนั ธุ์ตามข้ันตอนการ ปรับปรงุ พนั ธ ์ุ ต้งั แตป่ ี 2532-2548 รวมระยะเวลาการวิจยั 17 ปี ลักษณะประจำพันธ์ุ ลำต้นทรงพุ่มปานกลางขอบใบเป็นคล่ืน ปลายใบแหลม ผิวใบมันสีเขียว จำนวนผลต่อข้อ 22.5 ผล ดอกสีขาวขนาด ผล (กว้างxยาว) 1.29x1.48 เซนติเมตร รูปร่างผลกลมรี ปลายผลมน ขนาดเมล็ด (กว้างxยาวxหนา) 0.69x0.89x0.37 เซนติเมตร น้ำหนักเมล็ด 17.95 กรัมต่อ 100 เมล็ดแห้ง ความยาวก้าน 81.7 เซนติเมตร มีจำนวนข้อท่ีให้ผลผลิต 13 ข้อ ผลผลิตเมล็ดกาแฟแห้งเฉล่ีย 9 ป ี 3.94 กิโลกรัมต่อต้นต่อป ี อายุเก็บเก่ียว 11 เดือน มีเปอร์เซ็นต์สารสกัดเน้ือกาแฟ (Extractability) 53.73 เปอรเ์ ซ็นต ์ ปริมาณคาเฟอนี (Caffeine) 2.01 เปอรเ์ ซ็นต ์ ลกั ษณะเด่น 1. ให้ผลผลิตเมล็ดแห้งเฉล่ียมากกว่า 2 กิโลกรัมต่อต้นต่อป ี โดยเฉล่ีย 9 ปี ให้ผลผลิต 3.94 กิโลกรัมต่อต้นต่อป ี ซ่งึ สงู กวา่ พนั ธุท์ เ่ี กษตรกรปลกู อยูท่ ่ัวไปประมาณ 73.8 เปอร์เซน็ ต์ 2. ขนาดเมลด็ ได้มาตรฐานเป็นทย่ี อมรบั ของผ้ปู ระกอบการคือ มีนำ้ หนกั 17.95 กรัมตอ่ 100 เมล็ดแหง้ พน้ื ท่แี นะนำ เหมาะสำหรับพนื้ ท่แี นะนำในจังหวัดชมุ พร วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวชิ าการเกษตร แนะนำพนั ธ ุ์ เมื่อวันที ่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 พืชสวนพันธ์ดุ ี เล่ม 3 15 พันธุแ์ นะนำ
กาแฟโรบสั ตา้ พนั ธช์ุ มุ พร 2
กาแฟโรบัสต้า : พนั ธ์ชุ ุมพร 2 ชือ่ วทิ ยาศาสตร์: Coffea canephora Pierre ex Froehner ชอ่ื สามญั : Robusta coffee, กาแฟโรบสั ตา้ ประวัติ กาแฟโรบสั ต้า พันธ์ุชมุ พร 2 หรือกาแฟโรบัสตา้ สายพันธ ์ุ FRT 65 เปน็ กาแฟโรบสั ตา้ ที่ ได้จากการนำพันธ์ุกาแฟโรบัสต้าจากต่างประเทศมาทดสอบ มีถ่ินกำเนิดในประเทศโตโก (Togo) จัดอยู่ในกลุ่ม Congolese ซ่ึงศูนย์ความร่วมมือนานาชาติวิจัยและพัฒนาการเกษตร CIRAD (Centre de Cooperation Internationale en Recherche Agronomique pour le Developpement) ได้เก็บรวบรวมพันธ์ุและได้ส่งมอบในรูปก่ิงตอนให้ศูนย์วิจัยเนสท์เล่ประเทศ ฝร่ังเศสในป ี 2532 และบรษิ ัทควอลติ ้ี คอฟฟี่โปรดักท์ส (ประเทศไทย) ได้นำเขา้ มาในประเทศไทย ตง้ั แต่ปี 2538 เพือ่ แกป้ ัญหาคณุ ภาพของผลผลติ ไมไ่ ด้มาตรฐานตามทตี่ ลาดตอ้ งการ โดยป ี 2542 ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพรได้รับมอบต้นกล้ากาแฟโรบัสต้าท่ีนำเข้าจากประเทศฝร่ังเศสดังกล่าว จำนวน 13 พันธุ ์ และในป ี 2543-2549 ไดป้ ลกู เปรียบเทยี บกบั พันธ์ุทเ่ี กษตรกรปลกู เดมิ สามารถ คดั เลือกพันธท์ุ ใี่ ห้ผลผลิตสงู ไดจ้ ำนวน 5 สายพนั ธ์ุ คือ FRT 65 FRT 27 FRT 11 FRT 17 และ FRT 10 สรปุ ได้ดำเนนิ การคัดเลอื กและประเมนิ พันธต์ุ ามขนั้ ตอนการปรบั ปรงุ พันธุต์ งั้ แต่ ปี พ.ศ. 2538-2550 รวมระยะเวลาการวจิ ัย 13 ปี ลักษณะประจำพนั ธ์ุ ลำตน้ ทรงพมุ่ ปานกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตรขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ผิวใบมนั สเี ขียว จำนวนผลต่อข้อ 11.85 ผล ความยาวข้อ 5.47 เซนติเมตร ดอกสีขาวขนาดผล (กวา้ งxยาว) 1.18x1.32 เซนตเิ มตร รูปร่างผลกลมรี ปลายผลมน ขนาด เมล็ด (กว้างxยาวxหนา) 0.64x0.84x0.35 เซนติเมตร น้ำหนักเมล็ด 16.2 กรัมต่อ 100 เมล็ดแห้ง ความยาวก้าน 78.7 เซนตเิ มตร มจี ำนวนขอ้ ทใี่ หผ้ ลผลติ 18 ขอ้ ผลผลติ เมลด็ กาแฟแหง้ เฉลยี่ 4 ป ี 349.3 กโิ ลกรมั ตอ่ ตน้ ตอ่ ป ี อายเุ กบ็ เกย่ี ว 11 เดือน มี เปอรเ์ ซ็นต์สารสกดั เนอื้ กาแฟ (Extractability) 57.37 เปอร์เซน็ ต ์ ปริมาณคาเฟอีน (Caffeine) 2.44 เปอรเ์ ซน็ ต์ ลกั ษณะเด่น 1. ใหผ้ ลผลติ สงู กวา่ พนั ธทุ์ เี่ กษตรกรปลกู อยทู่ วั่ ไปประมาณ 73.7 เปอรเ์ ซน็ ต ์ คอื ใหผ้ ลผลติ 349.3 กโิ ลกรมั ตอ่ ตน้ ตอ่ ป ี (เฉลย่ี 4 ป)ี 2. ขนาดเมลด็ ไดม้ าตรฐานเปน็ ท่ียอมรับของผปู ระกอบการ คือ มีนำ้ หนัก 16.2 กรมั ต่อ 100 เมลด็ แห้ง 3. การทดสอบคุณภาพการชิมเป็นทย่ี อมรบั ของผูป้ ระกอบการ โดยจัดอยู่ใน Class 7.2 พืน้ ที่แนะนำ เหมาะสำหรับพื้นที่จังหวัดชมุ พร และจังหวดั ระนอง ยกเวน้ พื้นท่ที ่เี ป็นทรายและน้ำท่วม วนั ที่รบั รองพนั ธ์ุ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ์ุ เมื่อ วันที ่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และเปน็ พนั ธพุ์ ชื ขนึ้ ทะเบยี นเลขท ี่ 005/2552 เมอื่ วนั ท ี่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2552 พชื สวนพันธุด์ ี เล่ม 3 17 พันธ์แุ นะนำ
กาแฟโรบสั ตา้ พนั ธช์ุ มุ พร 3
กาแฟโรบัสตา้ : พันธช์ุ มุ พร 3 ชอ่ื วิทยาศาสตร:์ Coffea canephora Pierre ex Froehner ชื่อสามญั : Robusta coffee, กาแฟโรบสั ตา้ ประวัติ กาแฟโรบัสตา้ พนั ธ์ุชมุ พร 3 หรอื กาแฟโรบัสตา้ สายพันธ์ ุ FRT 17 เป็นกาแฟโรบัสต้าที่ ไดจ้ ากการนำพนั ธ์ุกาแฟโรบสั ต้าจากตา่ งประเทศมาทดสอบ มถี ิ่นกำเนิดในประเทศ Ivory Coast เปน็ ลูกผสมระหว่างกล่มุ Guinean (G) กบั Congolese (C) ซ่ึงศนู ย์ความร่วมมือนานาชาติวิจยั และพัฒนาการเกษตร CIRAD (Centre de Cooperation Internationale en Recherche Agronomique pour le Developpement) ได้เกบ็ รวบรวมพนั ธ์แุ ละได้สง่ มอบในรปู ก่งิ ตอนให้ ศูนย์วิจัยเนสท์เล่ประเทศฝร่ังเศสในป ี 2532 และบริษัทควอลิต ้ี คอฟฟ่ีโปรดักท์ส (ประเทศไทย) ได้นำเข้ามาในประเทศไทยต้ังแต่ป ี 2538 เพ่ือแก้ปัญหาคุณภาพของผลผลิตไม่ได้มาตรฐานตามท่ี ตลาดต้องการ โดยป ี 2542 ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพรได้รับมอบต้นกล้ากาแฟโรบัสต้าท่ีนำเข้าจาก ประเทศฝร่ังเศสดังกล่าวจำนวน 13 พันธ ์ุ และในป ี 2543-2549 ได้ปลูกเปรียบเทียบกับพันธ์ุท่ี เกษตรกรปลกู เดิม สามารถคัดเลือกพนั ธุท์ ใ่ี หผ้ ลผลติ สงู ได้จำนวน 5 สายพันธุ ์ คอื FRT 65 FRT 27 FRT 11 FRT 17 และ FRT 10 สรุปได้ดำเนนิ การคัดเลอื กและประเมินพนั ธุ์ตามขนั้ ตอนการ ปรบั ปรงุ พนั ธต์ุ ั้งแต่ ป ี พ.ศ. 2538-2550 รวมระยะเวลาการวจิ ัย 13 ป ี ลักษณะประจำพนั ธุ์ ลำตน้ ทรงพ่มุ ปานกลาง สงู 2.9 เมตร ขอบใบเรยี บ ปลายใบแหลม ผวิ ใบมนั สเี ขยี ว จำนวนผลตอ่ ข้อ 11 ผล ความยาว ขอ้ 4.9 เซนตเิ มตร ดอกสขี าว ขนาดผล (กว้างxยาว) 0.98x1.54 เซนตเิ มตร รูปร่างผลยาวรี ปลายผลแหลม ขนาดเมลด็ (กวา้ ง xยาวxหนา) 0.49x0.77x0.33 เซนตเิ มตร นำ้ หนักเมลด็ 10.8 กรมั ต่อ 100 เมล็ดแหง้ ความยาวก้าน 67.8 เซนตเิ มตร มจี ำนวน ขอ้ ทใี่ หผ้ ลผลติ 19.7 ขอ้ ผลผลติ เมลด็ กาแฟแหง้ เฉลย่ี 4 ป ี 207.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ตน้ ตอ่ ป ี อายเุ กบ็ เกยี่ วสนั้ 9 เดอื น มีเปอร์เซ็นตส์ าร สกัดเนือ้ กาแฟ (Extractability) 57.22 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์คาเฟอีน (Caffeine) 2.67 เปอรเ์ ซน็ ต์ ลกั ษณะเด่น 1. ใหผ้ ลผลติ สงู กวา่ พนั ธท์ุ เี่ กษตรกรปลกู อยทู่ วั่ ไปประมาณ 55.8 เปอรเ์ ซน็ ต ์ คอื ใหผ้ ลผลติ 207.8 กโิ ลกรมั ตอ่ ตน้ ตอ่ ป ี (เฉล่ยี 4 ปี) 2. อายุการเกบ็ เกยี่ วสนั้ 9 เดือน และเกบ็ เกย่ี วผลผลิตหมดกอ่ นพนั ธ์ุอ่ืนๆ 1-2 เดอื น 3. การทดสอบคณุ ภาพการชิมเปน็ ทีย่ อมรบั ของผู้ประกอบการ โดยจดั อยู่ใน Class 7.2 พนื้ ที่แนะนำ เหมาะสำหรับพ้นื ทีจ่ งั หวัดชุมพร และจังหวัดระนอง ยกเว้นพ้ืนทที่ เ่ี ป็นทรายและนำ้ ทว่ ม วันท่ีรับรองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ์ุ เมื่อวันที ่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และเปน็ พนั ธพ์ุ ชื ขนึ้ ทะเบยี นเลขท ่ี 004/2552 เมอื่ วนั ท ี่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2552 พืชสวนพนั ธุ์ด ี เล่ม 3 19 พันธแุ์ นะนำ
กาแฟโรบัสต้า พันธ์ชุ ุมพร 84-4
กาแฟโรบัสตา้ : พันธ์ชุ ุมพร 84-4 ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์ Coffea canephora Pierre ex Froehner ชื่อสามัญ: Robusta coffee, กาแฟโรบัสตา้ ประวตั ิ กาแฟโรบัสต้า พันธุ์ชุมพร 84-4 หรือกาแฟโรบัสต้า สายต้น FRT 09 นำมาจากประเทศฝรั่งเศส เป็นสายต้นที่ รวบรวมมาจากประเทศไอวอร่ีโคสต์ เกิดจากการผสมระหว่างลูกผสม (hybrids) กลุ่มกีเนียนกับกลุ่มคองโกลีส เข้ามาใน ประเทศไทยพร้อมกับกาแฟโรบัสต้าสายต้น (clones) อ่ืนๆรวมท้ังส้ิน 26 สายต้น ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมวิชา การเกษตรและบริษัทควอลติ ้ี คอฟฟ ี่ โปรดักท์ส จำกดั ในช่วงป ี 2538 - 2542 ในรปู ของตน้ กลา้ เล็ก (plantlets) กลมุ่ สายตน้ ชุดนเ้ี ปน็ กล่มุ ที่ 2 จำนวน 12 สายต้น เปรียบเทียบกบั พันธทุ์ ่ีเกษตรกรเขาทะลปุ ลกู ทว่ั ไปโดยเพาะจากเมล็ด (พันธ์ุเปรยี บเทยี บ) สามารถคัดเลือกได้สายต้น FRT 09 ซ่ึงเป็นสายต้นท่ีดีท่ีสุดท่ีให้ผลผลิตสูงกว่าพันธ์ุเปรียบเทยี บ และคณุ ภาพของเมลด็ ดเี ปน็ ที่ ยอมรบั ของตลาด รวมระยะเวลาการปรบั ปรงุ พนั ธตุ์ ง้ั แตป่ ี พ.ศ.2543-2553 เปน็ เวลา 11 ปี ลกั ษณะประจำพันธุ์ ลักษณะลำต้นตง้ั ตรง ใบรูปร่างร ี ขนาดของใบ (กว้างxยาว) 6.87x16.83 เซนตเิ มตร ขอบใบเรียบ เป็นคลื่นปลายใบแหลม ผิวใบเป็นมันสีเขียว แผ่นใบส่วนท่ีอยู่ระหว่างเส้นใบโป่ง ออกทางด้านที่เปน็ มัน ความยาวกา้ นใบ 1.29 เซนติเมตร จำนวนข้อท่ีใหผ้ ลตอ่ กิ่ง 10.7 ขอ้ ปลอ้ งยาว 4.96 เซนติเมตร จำนวนผลตอ่ ก่งิ 88.1 ผล ดอกสขี าว ผลรปู รา่ งรีแบน มีไหล่นูน 2 ขา้ ง ขนาดของผล (กว้างxยาวxหนา) 1.26x1.43x0.87 เซนติเมตร ผลสุกสแี ดง หรอื Red Group 45A-46A โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society รูปรา่ งเมล็ดกลม ร ี ขนาดเมล็ด (กวา้ งxยาวxหนา) 5.46x6.96x4.03 มลิ ลเิ มตร เมลด็ แหง้ ทีค่ วามชนื้ เมลด็ 12- 13 เปอร์เซ็นต ์ มีสีนำ้ ตาลอมเทา หรอื Grey-Brown Group 199A-D ความสงู ของตน้ เม่อื โต เต็มท ่ี 310 เซนติเมตร ขนาดทรงพุ่มเม่ือโตเต็มท่ีกว้าง 349 เซนติเมตร ระยะเวลาออกดอก ตุลาคม- มนี าคม อายุผลเมอื่ เกบ็ เกี่ยว 10-11 เดือน ลักษณะเด่น 1. ใหผ้ ลผลติ เมลด็ แหง้ สงู (ความชน้ื เมลด็ 13 เปอรเ์ ซน็ ต)์ 482 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรต่ อ่ ป ี สงู เปน็ 4.4 เทา่ ของพนั ธเ์ุ ปรยี บเทยี บ 2. แขง็ แรง โตเร็ว มีก่ิงใหผ้ ลเปน็ จำนวนมาก เร่ิมให้ผลผลิตเร็ว (precocious) ผลสุกพรอ้ มกนั เก็บเกีย่ วไดก้ ่อนพันธ์ุ เปรียบเทยี บ 1-2 เดอื น และเกบ็ เกย่ี วได้หมดภายใน 2 ครัง้ เทา่ นั้น 3. มีอัตราการเปล่ียนจากผลสดเป็นเมล็ดแห้ง สูง เฉล่ียประมาณ 24.5 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงสูงกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบท่ีให้ อัตราการเปล่ียน 19.6 เปอร์เซน็ ต์ 4. น้ำหนกั 100 เมล็ดแหง้ 15.5 กรัม เมล็ดมีขนาดปานกลาง พ้ืนที่แนะนำ เหมาะสำหรบั พ้นื ทดี่ อนในจงั หวัดชุมพรหรือพ้นื ทีอ่ ่ืนทไ่ี มม่ นี ำ้ ทว่ มขัง วนั ที่รบั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ ์ุ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และเป็นพนั ธพ์ุ ืชข้ึนทะเบยี นเลขท ่ี 016/2554 เมอื่ วนั ท ี่ 21 กมุ ภาพนั ธ ์ พ.ศ. 2554 พืชสวนพันธ์ุดี เลม่ 3 21 พนั ธแ์ุ นะนำ
กาแฟโรบัสต้า พันธ์ชุ ุมพร 84-5
กาแฟโรบัสตา้ : พันธ์ุชุมพร 84-5 ช่อื วิทยาศาสตร:์ Coffea canephora Pierrs ex Froehner ช่ือสามัญ: Robusta coffee, กาแฟโรบสั ตา้ ประวัติ กาแฟโรบสั ตา้ พนั ธช์ุ มุ พร 84-5 หรือกาแฟโรบสั ต้าสายตน้ FRT68 นำมาจากประเทศฝร่ังเศส เป็น สายต้นท่ีได้จากประเทศจีนในกลุ่มคองโกลิส เข้ามาในประเทศไทยพร้อมกับกาแฟโรบัสต้าสายต้น (clones) อ่ืนๆรวมท้ังส้ิน 26 สายต้น ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตรและบริษัทควอลิต ้ี คอฟฟ่ี โปรดักท์ส จำกัด ในช่วงป ี 2538 - 2542 ในรูปของต้นกล้าเล็ก (plantlets) กลุ่มสายต้นชุดน้ีเป็น กลุ่มที ่ 2 จำนวน 12 สายต้น เปรียบเทียบกับพันธ์ุท่ีเกษตรกรเขาทะลุปลูกท่ัวไปโดยพันธ์ุเปรียบเทียบเพาะ จากเมล็ด สามารถคัดเลือกได้ ซึ่งสายต้น FRT68 เป็นสายตน้ ทีด่ ีที่สดุ ใหผ้ ลผลติ สงู กว่าพนั ธุเ์ ปรียบเทยี บ และ คุณภาพของเมล็ดดีเป็นท่ียอมรับของตลาด รวมระยะเวลาปรับปรุงพันธ์ุต้ังแต่ปีพ.ศ. 2543-2553 เป็นเวลา 11 ป ี ลักษณะประจำพันธ์ุ ลกั ษณะลำตน้ ตง้ั ตรง ใบรูปร่างรี ขนาดของใบ (กวา้ งxยาว) 6.84x19.97 เซนตเิ มตร ขอบใบเรยี บ เป็นคลื่นปลายใบ แหลม ผิวใบเป็นมันสีเขียว แผ่นใบส่วนที่อยู่ระหว่างเส้นใบโป่งออกทางด้านที่เป็นมัน ความยาวก้านใบ 1.65 เซนติเมตร จำนวนขอ้ ทีใ่ ห้ผลตอ่ กิง่ 11.1 ข้อ ปลอ้ งยาว 5.20 เซนตเิ มตร จำนวนผลต่อกงิ่ 74.4 ผล ดอกสีขาว ผลรูปร่างรีแบนคล้ายผล ละหุ่ง มีไหล่นูน 2 ข้าง ขนาดของผล (กวา้ งxยาวxหนา) 1.26x1.44 x0.84 เซนติเมตร ผลสุกสีแดง หรอื Red Group 45A-46A โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society รปู รา่ งเมล็ดกลมรี ขนาดเมลด็ (กว้างxยาวxหนา) 5.93x7.74x4.23 มิลลิเมตร เมล็ดแห้งที่ความชน้ื เมล็ด 12-13 เปอรเ์ ซน็ ต ์ มสี นี ำ้ ตาลอมเทา หรอื Grey-Brown Group 199A-D ความสูงของ ต้นเมอื่ โตเตม็ ท ี่ 302 เซนติเมตร ขนาดทรงพมุ่ เมื่อโตเตม็ ทกี่ วา้ ง 355 เซนติเมตร ระยะเวลาออกดอก ตลุ าคม - มนี าคม อายผุ ล เมือ่ เก็บเกีย่ ว 10 -11 เดอื น ลกั ษณะเดน่ 1. ใหผ้ ลผลติ เมลด็ แหง้ สงู (ความชน้ื เมลด็ 13 เปอรเ์ ซน็ ต)์ 428 กิโลกรัมต่อไร่ต่อป ี สูงเป็น 3.9 เท่าของพันธุ์เปรียบ เทียบ 2. แข็งแรง โตเร็ว มีก่ิงให้ผล เป็นจำนวนมาก เร่ิมให้ผลผลิตเร็ว ผลสุกพร้อมกัน เก็บเกี่ยวได้ก่อนพันธ์ุเปรียบเทียบ 1-2 เดือน และเกบ็ เก่ียวไดห้ มดภายใน 2 ครง้ั เท่านั้น 3. มีอัตราการเปล่ียนจากผลสดเป็นเมล็ดแห้งสูง เฉล่ียประมาณ 25.0 เปอร์เซ็นต ์ ซ่ึงสูงกว่าพันธ์ุเปรียบเทียบที่ให้ อัตราการเปลย่ี น 19.6 เปอร์เซ็นต์ 4. น้ำหนัก 100 เมลด็ แห้ง 17.0 กรัม เมล็ดมขี นาดปานกลาง พ้นื ท่แี นะนำ เหมาะสำหรับพนื้ ทีด่ อนในจังหวัดชุมพรหรอื พ้ืนทอี่ ื่นทีไ่ ม่มีนำ้ ทว่ มขงั ขอ้ จำกัด 1. เคยพบโรคราสนิม (Hemileia vastatrix) ที่ใบบา้ งเล็กน้อยในเขต อ. ท่าแซะ จ.ชมุ พร แต่อาการไม่รนุ แรงและ ไม่แพร่ระบาด ต้านทานได้ แม้ปลูกร่วมกับกาแฟสายต้นอ่ืนๆ และมีรายงานอ่อนแอต่อโรคใบจุด (Colletotrichum gloeosporoides) 2. ควรค้ำยนั กงิ่ หลักในปีท่ีกาแฟตดิ ผลดกมาก เพอื่ ป้องกันไม่ให้กิ่งหลกั หัก วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ ์ุ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และเปน็ พนั ธพุ์ ชื ขนึ้ ทะเบยี นเลขที่ 015/2554 เมอื่ วนั ท ี่ 21 กมุ ภาพนั ธ ์ 2554 พชื สวนพนั ธ์ดุ ี เล่ม 3 23 พนั ธแุ์ นะนำ
มะพรา้ วลูกผสมกะท ิ พันธชุ์ มุ พร 84-1
มะพรา้ ว : ลกู ผสมกะทพิ ันธุช์ ุมพร 84-1 ชอื่ วทิ ยาศาสตร์: Cocos nucifera L. ช่ือสามญั : Coconut, มะพร้าว ประวตั ิ คัดเลือกพ่อ-แม่พันธ์ุท่ีเกิดจากการผสมข้ามพันธ์ุมะพร้าวตามข้ันตอนการ ปรับปรุงพันธ์ุ ระหว่างป ี 2538-2548 ท่ีศูนย์วิจัยพืชสวนสุราษฎร์ธาน ี ปลูกต้นแม่พันธ ์ุ ไดแ้ ก่ พนั ธ์ุน้ำหอม พันธ์ุมลายสู เี หลอื งตน้ เต้ีย พนั ธ์ุมลายูแดงต้นเต้ีย พนั ธ์ุท่งุ เคลด็ และ พันธ์ุเวสท์อัฟริกันต้นสูง และพ่อพันธ์ุคือ พันธ์ุมะพร้าวกะทิพันธ์ุแท้ ท่ีนำเกสรตัวผู้มา จากบริษทั อตู ิ เมลด็ พนั ธปุ์ าลม์ นำ้ มนั จำกัด จากการปรบั ปรงุ พนั ธแ์ุ ละสามารถคัดเลอื ก ไดม้ ะพรา้ วลูกผสมกะทิทมี่ ีคุณภาพดที ้ังเนอ้ื และความหอมหวานให้ผลผลติ สูง จำนวน 2 สายพันธุ์ ซึ่งมะพร้าวลูกผสมกะท ิ พันธุ์ชุมพร 84-1 หรือ มะพร้าวลูกผสมกะท ิ YDK เป็นมะพร้าวลูกผสมกะทิสายพันธ์ุท่ีเกิดจากการผสมระหว่างแม่พันธ์ุมลายูสีเหลืองต้น เตี้ยกับพ่อพันธ์ุกะทิ ประเมินพันธ์ุตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ รวมระยะเวลาการวิจัย 11 ปี ลกั ษณะประจำพนั ธุ์ ลำต้นต้ังตรง ใบแคบยาว ขนาดใบย่อย (กว้างxยาว) 5.7x116 เซนติเมตร ความยาวทาง 526 เซนติเมตร ก้านทาง (กว้างxยาวxหนา) 8.7x137x4.6 เซนติเมตร รอบโคนตน้ 155 เซนติเมตร ก้านทางสเี ขียวและนำ้ ตาลแกมเขียว จ่นั มคี วามยาว 87 เซนติเมตร กาบห้มุ จัน่ มีสเี ขยี วและนำ้ ตาลแกมเขยี ว ระยะเวลาเริม่ ออกจ่นั 2 ปี 5 เดอื นหลงั ปลกู และต้นมะพร้าวจำนวน คร่งึ หนง่ึ ของสวนออกจั่นเม่ืออายุ 3 ปี 1 เดอื น ใหผ้ ลผลติ สูงสุดจำนวน 3,378 ผลตอ่ ไร่ (เฉลี่ย 3 ปแี รก) ลักษณะเดน่ 1. ให้ผลผลิตรวม 3 ปแี รก 3,378 ผลต่อไร่ โดยใหผ้ ลผลิตเป็นมะพรา้ วกะทไิ ม่นอ้ ยกวา่ 18 เปอรเ์ ซน็ ต์ ซงึ่ ต้นมะพร้าว ธรรมดาจะไมม่ ีผลเป็นมะพร้าวกะทิ 2. ให้ผลผลติ เร็วโดยตน้ แรกออกจ่ันเม่ืออาย ุ 2 ป ี 5 เดือน และตน้ มะพรา้ วจำนวนคร่งึ หน่ึงของสวนออกจ่ันเม่ืออาย ุ 3 ป ี 1 เดือน และใหผ้ ลผลติ เมื่อทะลายแรกสูงจากพื้นดิน 73 เซนติเมตร พนื้ ทแี่ นะนำ ควรมอี ุณหภูมิเฉลย่ี 20-34 องศาเซลเซียส หน้าดินลึกไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร ดินมกี ารระบายน้ำด ี ถา้ ปลกุ ในที่ลุม่ ควร ยกรอ่ ง ไม่ควรปลกู ท่สี ูงเกนิ 500 เมตร จากระดับน้ำทะเล ถา้ พ้นื ทปี่ ลูกแลง้ นานเกิน 3 เดือน ต้องมรี ะบบการให้น้ำ ขอ้ จำกดั 1. ปลูกใหห้ า่ งจากมะพร้าวธรรมดา ถา้ มตี ้นไม้ใหญล่ ้อมรอบ ให้หา่ งจากมะพรา้ วธรรมดาอยา่ งน้อย 300 เมตร ถา้ เป็น ทุง่ โลง่ ใหห้ ่างจากมะพร้าวธรรมดาอย่างน้อย 5 กโิ ลเมตร เพ่ือปอ้ งกนั การผสมข้ามหรือถ่ายละอองเกสร (เรณ)ู จากละอองเกสร มะพร้าวธรรมดา ซง่ึ จะทำให้ไดผ้ ลมะพรา้ วกะทิไมถ่ งึ 25 เปอร์เซน็ ต ์ (ตามกฎของเมนเดล) 2. หากต้องการให้ผลผลิตมะพร้าวกะทิสูงข้ึนควรใช้เทคโนโลยีในการ ทำหมนั และช่วยผสมพนั ธุ์มะพรา้ วด้วยละอองเกสรมะพรา้ วกะทพิ นั ธุ์แท้ วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ ุ์ เมื่อ วนั ท ี่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2554 และเปน็ พนั ธพุ์ ชื ขนึ้ ทะเบยี นเลขท ี่ 017/2554 เมอื่ วนั ท ี่ 21 กมุ ภาพนั ธ ์ 2554 พืชสวนพนั ธดุ์ ี เล่ม 3 25 พันธแ์ุ นะนำ
มะพร้าวลกู ผสมกะท ิ พันธุช์ ุมพร 84-2
มะพร้าว : ลกู ผสมกะทพิ ันธุช์ มุ พร 84-2 ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Cocos nucifera L. ช่อื สามญั : Coconut, มะพร้าว ประวัติ คัดเลือกพ่อ-แม่พันธ์ุที่เกิดจากการผสมข้ามพันธ์ุมะพร้าวตามขั้นตอนการ ปรับปรุงพนั ธ์ ุ ระหวา่ งป ี 2538-2548 ได้ปลูกต้นแมพ่ นั ธุ์ ได้แก่ พนั ธ์ุนำ้ หอม พันธมุ์ ลายสู ี เหลืองต้นเต้ีย พันธ์ุมลายูแดงต้นเตี้ย พันธ์ุทุ่งเคล็ด และพันธ์ุเวสท์อัฟริกันต้นสูง และพ่อ พนั ธคุ์ อื พนั ธ์ุมะพร้าวกะทพิ ันธแุ์ ท ้ ทนี่ ำเกสรตัวผ้มู าจากบริษัทอูต ิ เมลด็ พันธุป์ าลม์ น้ำมนั จำกัด จากการปรับปรุงพนั ธุ์และสามารถคดั เลือกได้มะพรา้ วลกู ผสมกะททิ ่มี คี ณุ ภาพดีท้ัง เน้ือและความหอมหวานให้ผลผลิตสูง จำนวน 2 สายพันธ ์ุ ซ่ึงมะพร้าวลูกผสมกะท ิ พันธุ์ ชมุ พร 84-2 หรือ มะพรา้ วลกู ผสมกะท ิ NHK เป็นมะพรา้ วลกู ผสมกะทสิ ายพันธ์ุ ทเ่ี กิดจาก การผสมระหวา่ งแมพ่ นั ธนุ์ ำ้ หอมกบั พอ่ พนั ธกุ์ ะท ิ ประเมนิ พนั ธตุ์ ามขนั้ ตอนการปรบั ปรงุ พนั ธ ุ์ รวมระยะเวลาการวจิ ยั 11 ป ี ลักษณะประจำพนั ธุ์ ลำตน้ ตง้ั ตรง รูปของใบแคบยาว ขนาดใบยอ่ ย (กว้างxยาว) 5.9x110 เซนติเมตร ความยาวทาง 521 เซนตเิ มตร ก้าน ทางขนาด (กว้างxยาวxหนา) 8.8x131x4.8 เซนติเมตร รอบโคนตน้ 157 เซนติเมตร กา้ นทางสีเขยี วและเขียวแกมนำ้ ตาล จั่น มีความยาว 87 เซนติเมตร กาบหุ้มจ่ันมีสีเขียวและเขียวแกมน้ำตาล ระยะเวลาเร่ิมออกจ่ัน 2 ปี 7 เดือนหลังปลูก และต้น มะพร้าวจำนวนคร่ึงหน่ึงของสวนออกจ่ันเมื่ออายุ 3 ป ี 3 เดือน ให้ผลผลิตสูงสุดจำนวน 1,917 ผลต่อไร่ (เฉลี่ย 3 ปีแรก) ได้ มะพร้าวลกู ผสมกะทิท่ใี ห้ผลผลติ เป็นมะพรา้ วกะททิ ม่ี ีกลิน่ หอมท้ังน้ำและเนื้อจำนวน 55 เปอรเ์ ซ็นต์ของจำนวนตน้ ท่ีปลูก ลักษณะเดน่ 1. ใหผ้ ลผลติ รวม 3 ปแี รก 1,917 ผลต่อไร ่ โดยให้ผลผลติ เปน็ มะพร้าวกะทิ ไมน่ อ้ ยกว่า 18 เปอรเ์ ซ็นต ์ 2. ต้นแรกออกจ่นั เมื่ออายุ 2 ปี 7 เดือน และตน้ มะพร้าวจำนวนคร่งึ หนึ่งของสวนออกจนั่ เมอ่ื อายุ 3 ปี 3 เดอื น ให้ ผลผลิตเม่ือทะลายแรกสูงจากพน้ื ดิน 71 เซนติเมตร 3. ต้นมะพร้าวจำนวน 55 เปอร์เซ็นต์ ของสวนให้ผลผลิตมะพร้าวกะทิที่มีกล่ินหอม ซึ่งในแต่ละต้นจะให้ผลเป็น มะพร้าวกะท ิ 25 เปอร์เซน็ ต์ แต่เปน็ มะพร้าวกะทิท่ีมีกล่นิ หอม 6 เปอรเ์ ซน็ ต ์ วนั ทรี่ บั รองพนั ธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ ์ุ เมื่อวันท ่ี 30 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และเป็นพันธ์ุพืชข้ึนทะเบียนเลขท ่ี 018/ 2554 เมอื่ วนั ท ี่ 21 กมุ ภาพนั ธ ์ 2554 พชื สวนพันธ์ุดี เลม่ 3 27 พันธแุ์ นะนำ
กลุ่ม ไม้ดอกไมป้ ระดับ
ดาหลา พนั ธุ์ตรงั 1
ดาหลา : พนั ธุ์ตรงั 1 ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Etlingera elatior (Jack) R.M.Smith ชือ่ สามญั : Torch ginger, ดาหลา ประวตั ิ ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง ได้รวบรวมดาหลาสายต้นต่างๆ จากแหล่งปลูก ธรรมชาติในเขตภาคใต้และแหล่งปลูกเพ่ือการค้าในภาคกลาง มาปลูกรวบรวม ไว้สายต้นละ 5 กอ ตง้ั แตป่ ี 2539-2542 ได้ทงั้ หมด 68 สายต้น และได้คัดเลอื ก ดาหลาให้ได้ลักษณะดีเด่นเฉพาะคือ สีแปลกไปจากเดิมซ่ึงมีช่อดอกสีแดงท่ีเป็น พันธทุ์ ี่มขี ายทวั่ ไป ให้ผลผลิตสูงกวา่ 80 ดอกต่อกอต่อป ี และมอี ายุปกั แจกันเมอ่ื ตดั ขณะดอกบาน 50 เปอร์เซ็นต์ มากกว่า 10 วนั ไดจ้ ำนวน 5 สายตน้ ดาหลา พันธต์ุ รงั 1 หรือ ดาหลาสายตน้ ตรงั 0403 รวบรวมจากจงั หวดั ยะลา มีลกั ษณะ เด่นเฉพาะคือ ลำต้นสีเขียว ใบสีเขียว กลีบประดับสีขาว รวมระยะเวลาการ ปรับปรุงพันธุ์ ตั้งแต ่ ปี พ.ศ. 2539-2550 เป็นเวลา 12 ป ี ลกั ษณะประจำพันธุ์ ทรงกอตง้ั ตรง ลำตน้ เป็นหวั อยูใ่ ตด้ ิน ใบแกส่ เี ขยี ว ใบยาวรี ขนาดใบกว้าง 17.48 เซนตเิ มตร ยาว 65.05 เซนตเิ มตร ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลม ขนาดช่อดอกกวา้ ง 14.3 เซนตเิ มตร สูง 6.5 เซนติเมตร ช่อดอกสขี าว สขี องดอกยอ่ ยสี ขาวขอบเหลือง ความยาวช่อดอก 59 เซนติเมตร ก้านช่อดอกสีเขียว ผลค่อนข้างกลมร ี ต้ังแต่ปลูกโดยใช้เหง้าถึงออกดอก ประมาณ 12 เดอื น มหี นอ่ ใหมป่ ระมาณ 43 หนอ่ ต่อกอต่อป ี มอี ายกุ ารเกบ็ เก่ยี วหลงั จากแทงช่อดอกจนถึงเกบ็ เก่ียวเมื่อบาน 30 เปอร์เซน็ ต์ 45 วัน บาน 50 เปอรเ์ ซ็นต์ 50 วนั และบาน 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ 54 วัน ให้ผลผลติ เฉลีย่ 39 ดอกตอ่ กอตอ่ ป ี ลกั ษณะเดน่ 1. ชอ่ ดอกสขี าว หรือ White Group 155 A โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society 2. ให้ผลผลติ เฉลย่ี 39 ดอกต่อกอต่อป ี (เม่ืออายุ 3 ปหี ลังปลกู ) 3. เมอื่ ตดั ขณะดอกบาน 30 50 และ 80 เปอร์เซ็นต์ จะมอี ายปุ กั แจกนั นาน 7 วนั พน้ื ทแ่ี นะนำ ปลูกได้ในดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์ การปลูกในที่รำไรท่ีมีปริมาณความเข้มแสง 60 เปอร์เซ็นต์ มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27-33 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพทั ธ ์ 81 เปอร์เซ็นต ์ และปรมิ าณนำ้ ฝนเฉลยี่ 2,144 มลิ ลเิ มตรตอ่ ปี ขอ้ จำกดั ไม่ควรปลูกกลางแจง้ เพราะมผี ลตอ่ การเจริญเติบโตและคณุ ภาพของดอก หลกี เลย่ี งพื้นทที่ ีม่ ีน้ำท่วมขัง วันทร่ี ับรองพันธ์ุ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ์ุ เม่ือวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และเป็นพันธ์ุพืชข้ึนทะเบียนเลขท่ี 023/2552 เมื่อวันท ี่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2552 พืชสวนพนั ธุ์ดี เล่ม 3 31 พันธ์แุ นะนำ
ดาหลา พนั ธุ์ตรงั 2
ดาหลา : พนั ธ์ตุ รัง 2 ชื่อวิทยาศาสตร์: Etlingera elatior (Jack) R.M.Smith ช่ือสามัญ: Torch ginger, ดาหลา ประวตั ิ ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง ได้รวบรวมดาหลาสายต้นต่างๆ จากแหล่งปลูก ธรรมชาติในเขตภาคใต้และแหล่งปลูกเพ่ือการค้าในภาคกลาง มาปลูกรวบรวม ไวส้ ายต้นละ 5 กอ ตั้งแต่ปี 2539-2542 ได้ทัง้ หมด 68 สายตน้ และไดค้ ดั เลอื ก ดาหลาให้ได้ลักษณะดีเด่นเฉพาะคือ สีแปลกไปจากเดิมซ่ึงมีช่อดอกสีแดงท่ีเป็น พนั ธท์ุ ม่ี ขี ายทวั่ ไป ใหผ้ ลผลติ สงู กวา่ 80 ดอกตอ่ กอตอ่ ปี และมอี ายปุ กั แจกันเม่อื ตดั ขณะดอกบาน 50 เปอรเ์ ซ็นต์ มากกวา่ 10 วัน ไดจ้ ำนวน 5 สายต้น ดาหลา พันธ์ุตรัง 2 หรือ ดาหลาสายต้นตรัง 1025 รวบรวมจากจังหวัดยะลา ที่มี ลกั ษณะเดน่ เฉพาะ คือ ลำต้นสเี ขียว ใบสีเขยี ว กลบี ประดับสีบานเยน็ รวมระยะ เวลาการปรับปรุงพนั ธ ์ุ ตั้งแต ่ ปี พ.ศ. 2539-2550 เป็นเวลา 12 ปี ลักษณะประจำพันธ์ุ ทรงกอต้งั ตรง ลำต้นเป็นหวั อยู่ใตด้ ิน ใบแกส่ ีเขยี ว ใบยาวร ี ขนาดของใบกว้าง 16.2 เซนติเมตร ยาว 69.4 เซนติเมตร ขอบใบเป็นคลน่ื เลก็ นอ้ ย ปลายใบแหลม ขนาดชอ่ ดอกกว้าง 14.1 เซนติเมตร สูง 7.58 เซนตเิ มตร ชอ่ ดอกสบี านเย็น สขี องดอก ย่อยสีบานเย็น ความยาวช่อดอก 43 เซนติเมตร ก้านช่อดอกสีเขียว ผลค่อนข้างกลมรี ต้ังแต่ปลูกโดยใช้เหง้าถึงออกดอก ประมาณ 12 เดือน มีหน่อใหม่ 28 หน่อต่อกอต่อป ี มีอายุการเก็บเกี่ยวหลังจากแทงช่อดอกจนถึงเก็บเกี่ยว เมื่อบาน 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ 47 วนั บาน 50 เปอรเ์ ซ็นต ์ 51 วัน และบาน 80 เปอร์เซน็ ต ์ 57 วนั ใหผ้ ลผลติ เฉล่ีย 40 ดอกตอ่ กอต่อป ี ลักษณะเดน่ 1. ช่อดอกสบี านเยน็ หรือ Red Purple Group 58 B โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society (RHS) 2. ใหผ้ ลผลิตเฉลีย่ 40 ดอกตอ่ กอต่อป ี (เมอื่ อาย ุ 3 ปหี ลังปลกู ) 3. เมอ่ื ตัดขณะดอกบาน 30 50 และ 80 เปอรเ์ ซ็นต ์ จะมอี ายุปักแจกันนาน 8 วัน พ้ืนทแ่ี นะนำ ปลูกได้ในดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์ การปลูกในที่รำไรท่ีมีปริมาณความเข้มแสง 60 เปอร์เซ็นต์ มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27-33 องศาเซลเซยี ส ความช้ืนสัมพทั ธ ์ 81 เปอรเ์ ซ็นต์ และปรมิ าณน้ำฝนเฉลยี่ 2,144 มิลลเิ มตรตอ่ ป ี ขอ้ จำกดั ไม่ควรปลกู กลางแจง้ เพราะมีผลต่อการเจรญิ เติบโตและคณุ ภาพของดอก หลีกเลยี่ งพน้ื ทท่ี ม่ี ีนำ้ ทว่ มขัง วนั ท่ีรบั รองพนั ธ์ุ กรมวชิ าการเกษตร แนะนำพนั ธ์ุ เม่อื วนั ท ่ี 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และเป็นพันธพ์ุ ืชขึ้นทะเบยี นเลขท ่ี 024/2552 เม่ือวันที่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2552 พืชสวนพนั ธด์ุ ี เล่ม 3 33 พนั ธุแ์ นะนำ
ดาหลา พนั ธุ์ตรงั 3
ดาหลา : พันธ์ุตรงั 3 ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Etlingera elatior (Jack) R.M.Smith ช่ือสามัญ: Torch ginger, ดาหลา ประวัติ ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง ได้รวบรวมดาหลาสายต้นต่างๆ จากแหล่งปลูก ธรรมชาติในเขตภาคใต้และแหล่งปลูกเพ่ือการค้าในภาคกลาง มาปลูกรวบรวม ไวส้ ายตน้ ละ 5 กอ ตั้งแตป่ ี 2539-2542 ไดท้ ้งั หมด 68 สายตน้ และไดค้ ดั เลือก ดาหลาให้ได้ลักษณะดีเด่นเฉพาะคือ สีแปลกไปจากเดิมซ่ึงมีช่อดอกสีแดงท่ีเป็น พันธ์ุท่ีมีขายทั่วไป ให้ผลผลิตสูงกว่า 80 ดอกต่อกอต่อป ี และมีอายุปักแจกัน เม่ือตัดขณะดอกบาน 50 เปอร์เซ็นต์ มากกว่า 10 วัน ได้จำนวน 5 สายต้น ดาหลาพันธ์ุตรัง 3 หรือดาหลาสายต้น 0407 รวบรวมจากจังหวัดยะลา ซ่ึงมี ลักษณะเด่นคือ มีลำต้นสีเขียว กลีบประดับสีแดง รวมระยะเวลาการปรับปรุง พันธ์ุ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2539-2550 เป็นเวลา 12 ปี ลักษณะประจำพนั ธุ์ ทรงกอต้ังตรง ลำต้นเป็นหัวอย่ใู ต้ดนิ ใบแก่สีเขียว ใบยาวร ี ขนาดใบกว้าง 17.4 เซนติเมตร ยาว 70.2 เซนตเิ มตร ขอบ ใบเปน็ คลืน่ เลก็ นอ้ ย ปลายใบแหลม ขนาดชอ่ ดอกกวา้ ง 15.6 เซนตเิ มตร สงู 8.8 เซนตเิ มตร ชอ่ ดอกสีแดง สีของดอกย่อยสแี ดง ขอบขาว ความยาวช่อดอก 64 เซนติเมตร ก้านสีเขยี ว ผลค่อนขา้ งกลมรี ต้งั แตป่ ลูกโดยใชเ้ หงา้ ถึงออกดอก ประมาณ 12 เดอื น มีหนอ่ ใหม่ 43 หนอ่ ตอ่ กอต่อป ี อายกุ ารเกบ็ เกยี่ วหลงั จากแทงชอ่ ดอกจนถึงเก็บเกีย่ ว เมอื่ บาน 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ 49 วัน บาน 50 เปอร์เซน็ ต์ 55 วนั และบาน 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ 60 วัน ใหผ้ ลผลติ เฉล่ีย 106 ดอกต่อกอต่อป ี ลกั ษณะเดน่ 1. ช่อดอกสีแดง หรือ Red Group 47 B โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society 2. ให้ผลผลติ เฉล่ีย 106 ดอกต่อกอต่อปี (เมอื่ อายุ 3 ปีหลงั ปลกู ) 3. เมอ่ื ตัดขณะดอกบาน 30 และ 50 เปอร์เซ็นต ์ มีอายปุ ักแจกันนาน 8 วนั และเม่ือตัดขณะดอกบาน 80 เปอรเ์ ซน็ ต ์ มอี ายุปกั แจกันนาน 7 วนั พ้ืนท่ีแนะนำ ปลูกได้ในดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์ การปลูกในที่รำไรที่มีปริมาณความเข้มแสง 60 เปอร์เซ็นต์ มีอุณหภูมิเฉลี่ย 27-33 องศาเซลเซียส ความชนื้ สมั พทั ธ ์ 81 เปอรเ์ ซ็นต์ และปริมาณนำ้ ฝนเฉลย่ี 2,144 มลิ ลิเมตรตอ่ ป ี ขอ้ จำกดั ไม่ควรปลูกกลางแจง้ เพราะมผี ลต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของดอก หลกี เลยี่ งพน้ื ท่ที ม่ี ีน้ำทว่ มขัง วนั ท่ีรบั รองพันธ์ุ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ ์ุ เม่ือวันท ี่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2551 และเป็นพันธ์ุพืชข้ึนทะเบียนเลขท ่ี 025/2552 เมือ่ วนั ที ่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2552 พืชสวนพนั ธุ์ดี เล่ม 3 35 พนั ธุแ์ นะนำ
ดาหลา พนั ธุ์ตรงั 4
ดาหลา : พนั ธต์ุ รงั 4 ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Etlingera elatior (Jack) R.M.Smith ชือ่ สามัญ: Torch ginger, ดาหลา ประวัติ ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง ได้รวบรวมดาหลาสายต้นต่างๆ จากแหล่งปลูก ธรรมชาติในเขตภาคใต้และแหล่งปลูกเพ่ือการค้าในภาคกลาง มาปลูกรวบรวม ไวส้ ายต้นละ 5 กอ ตัง้ แต่ป ี 2539-2542 ได้ท้ังหมด 68 สายต้น และไดค้ ัดเลือก ดาหลาให้ได้ลักษณะดีเด่นเฉพาะคือ สีแปลกไปจากเดิมซ่ึงมีช่อดอกสีแดงท่ีเป็น พันธุท์ ี่มีขายทัว่ ไป ให้ผลผลติ สงู กว่า 80 ดอกตอ่ กอต่อป ี และมอี ายปุ ักแจกันเมื่อ ตัดขณะดอกบาน 50 เปอร์เซน็ ต์ มากกวา่ 10 วัน ไดจ้ ำนวน 5 สายต้น ดาหลา พันธ์ุตรัง 4 หรือ ดาหลาสายต้น 0701 รวบรวมจากจังหวัดกรุงเทพฯ ซึ่งมี ลักษณะเด่นคือ มีลำต้นสีเขียว ใบเขียว กลีบประดับสีชมพ ู รวมระยะเวลาการ ปรับปรุงพันธ์ ุ ตัง้ แต ่ ป ี พ.ศ. 2539-2550 เปน็ เวลา 12 ปี ลักษณะประจำพันธุ์ ทรงกอต้งั ตรง ลำตน้ เป็นหวั อย่ใู ตด้ นิ ใบแก่สเี ขียว ใบยาวร ี ขนาดใบกว้าง 15.6 เซนตเิ มตร ยาว 68.4 เซนตเิ มตร ขอบ ใบเป็นคล่ืนเล็กน้อย ปลายใบแหลม ช่อดอกสีชมพ ู ขนาดช่อดอกกว้าง 12.8 เซนติเมตร สูง 5.7 เซนติเมตร สีของดอกย่อย สีชมพูขอบเหลือง ความยาวช่อดอก 32 เซนติเมตร ก้านช่อดอกสีเขียว ผลค่อนข้างกลมรี ต้ังแต่ปลูกโดยใช้เหง้าถึงออกดอก ประมาณ 12 เดือน มีหน่อใหม่ 53 หน่อต่อกอต่อป ี มีอายุการเก็บเกี่ยวหลังจากแทงช่อดอกจนถึงเก็บเก่ียว เมื่อบาน 30 เปอรเ์ ซน็ ต ์ 48 วนั บาน 50 เปอร์เซ็นต์ 54 วัน และบาน 80 เปอร์เซน็ ต ์ 59 วัน ให้ผลผลติ เฉล่ีย 136 ดอกตอ่ กอต่อปี ลักษณะเดน่ 1. ช่อดอกสีชมพู หรอื Red Group 56 A โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society 2. ให้ผลผลติ เฉล่ยี 136 ดอกต่อกอตอ่ ป ี (เมอ่ื อายุ 3 ปหี ลังปลกู ) 3. เม่ือตัดขณะดอกบาน 30 เปอร์เซ็นต ์ มีอายุปักแจกันนาน 13 วัน และเม่ือตัดขณะดอกบาน 50 และ 80 เปอร์เซ็นต์ มีอายุปกั แจกันนาน 7-8 วัน พืน้ ที่แนะนำ ปลูกได้ในดินร่วนท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ การปลูกในที่รำไรที่มีปริมาณความเข้มแสง 60 เปอร์เซ็นต์ มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27-33 องศาเซลเซียส ความชนื้ สมั พทั ธ์ 81 เปอรเ์ ซน็ ต ์ และปรมิ าณนำ้ ฝนเฉลี่ย 2,144 มลิ ลเิ มตรต่อป ี ข้อจำกัด ไมค่ วรปลูกกลางแจง้ เพราะมีผลตอ่ การเจริญเติบโตและคณุ ภาพของดอก หลกี เลีย่ งพื้นท่ีท่มี นี ำ้ ท่วมขงั วนั ที่รบั รองพันธ์ุ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพนั ธ ุ์ เมอื่ วนั ท่ี 27 สงิ หาคม พ.ศ. 2551 และเปน็ พนั ธ์ุพืชขึ้นทะเบียนเลขที ่ 026/2552 เมอ่ื วันท ่ี 11 มีนาคม พ.ศ. 2552 พืชสวนพนั ธ์ุด ี เล่ม 3 37 พันธ์ุแนะนำ
ดาหลา พนั ธุ์ตรงั 5
ดาหลา : พันธุต์ รัง 5 ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Etlingera elatior (Jack) R.M.Smith ชือ่ สามญั : Torch ginger, ดาหลา ประวัติ ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง ได้รวบรวมดาหลาสายต้นต่างๆ จากแหล่งปลูก ธรรมชาติในเขตภาคใต้และแหล่งปลูกเพ่ือการค้าในภาคกลาง มาปลูกรวบรวม ไว้สายต้นละ 5 กอ ตัง้ แต่ปี 2539-2542 ไดท้ ้งั หมด 68 สายต้น และไดค้ ดั เลอื ก ดาหลาให้ได้ลักษณะดีเด่นเฉพาะคือ สีแปลกไปจากเดิมซ่ึงมีช่อดอกสีแดงท่ีเป็น พนั ธ์ุที่มีขายทั่วไป ใหผ้ ลผลติ สูงกว่า 80 ดอกตอ่ กอตอ่ ปี และมีอายปุ ักแจกันเม่อื ตดั ขณะดอกบาน 50 เปอร์เซ็นต์ มากกวา่ 10 วนั ได้จำนวน 5 สายตน้ ดาหลา พันธ์ุตรัง 5 หรือ ดาหลาสายต้น 0501 รวบรวมจากจังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงมี ลักษณะเด่นเฉพาะคือ ลำต้นสีเขียวปนม่วงแดง ใบสีเขียวปนม่วงแดง ช่อดอกสี แดงเขม้ รวมระยะเวลาการปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2539-2550 เป็นเวลา 12 ปี ลักษณะประจำพันธ์ุ กอตั้งตรง ลำต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน ใบแก่สีเขียวปนม่วงแดง ใบยาวร ี ขนาดใบกว้าง 18.48 เซนติเมตร ยาว 76.67 เซนติเมตร ขอบใบเปน็ คล่ืนเลก็ น้อย ปลายใบแหลม ขนาดช่อดอกกวา้ ง 15.2 เซนตเิ มตร สงู 8.5 เซนติเมตร ช่อดอกสีแดงเขม้ สีของดอกย่อยสีแดงขอบเหลือง ความยาวช่อดอก 78 เซนติเมตร ก้านช่อดอกสีม่วงแดง ผลค่อนข้างกลมร ี ต้ังแต่ปลูกโดยใช้ เหงา้ ถึงออกดอก ประมาณ 12 เดือน มหี น่อแตกใหม่ 36 หน่อตอ่ กอต่อป ี เมือ่ อาย ุ 3 ปหี ลงั ปลกู มอี ายุการเก็บเกีย่ วหลังจาก แทงช่อดอกจนถึงเกบ็ เกีย่ ว เมอื่ บาน 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ 41 วัน บาน 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ 47 วัน และบาน 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ 52 วัน ให้ ผลผลติ เฉลย่ี 47 ดอกต่อกอตอ่ ป ี ลกั ษณะเด่น 1. ช่อดอกสีแดงเข้ม หรอื Red Group 46 A โดยใชแ้ ผน่ เทยี บสขี อง The Royal Horticulture Society 2. ใหผ้ ลผลติ เฉลย่ี 47 ดอกตอ่ กอต่อปี (เมือ่ อาย ุ 3 ปหี ลงั ปลูก) 3. เมอ่ื ตัดขณะดอกบาน 30 เปอรเ์ ซน็ ต ์ มอี ายปุ กั แจกันนาน 14 วัน และเม่ือตดั ขณะดอกบาน 50 เปอรเ์ ซ็นต์ มอี ายุ ปักแจกนั นาน 11 วัน พ้นื ทแ่ี นะนำ ปลูกได้ในดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์ การปลูกในที่รำไรที่มีปริมาณความเข้มแสง 60 เปอร์เซ็นต์ มีอุณหภูมิเฉล่ีย 27-33 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 81 เปอร์เซน็ ต ์ และปรมิ าณน้ำฝนเฉล่ยี 2,144 มิลลิเมตรตอ่ ปี ขอ้ จำกัด ไมค่ วรปลูกกลางแจ้ง เพราะมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตและคณุ ภาพของดอก หลีกเลีย่ งพื้นทที่ ี่มนี ำ้ ท่วมขัง วนั ที่รับรองพันธุ์ กรมวิชาการเกษตร แนะนำพันธ ุ์ เมอื่ วนั ท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และเปน็ พนั ธพุ์ ชื ข้นึ ทะเบียนเลขท ี่ 027/2552 เม่อื วนั ที ่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2552 พืชสวนพันธ์ุด ี เลม่ 3 39 พนั ธ์แุ นะนำ
กลุ่ม พืชผกั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114