Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้ชีวภัณฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี

การใช้ชีวภัณฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี

Description: การใช้ชีวภัณฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี

Search

Read the Text Version

การใช้ชีวภณั ฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี ควบคุมไส้ เดือนฝอยรากปม ดร.สุรีย์พร บวั อาจ นักวชิ าการโรคพืชชานาญการ สานักวจิ ยั พฒั นาการอารักขาพืช วราภรณ์ อดุ มดี นักวชิ าการเกษตรชานาญการ สานักวจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 1

เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี คน้ พบคร้ังแรกในประเทศไทย โดยวีระศกั ด์ิและคณะ เมื่อปี พ.ศ. 2544 ใน เขตพ้ืนที่ของโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืช อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีโคกภูตากา อาเภอเวียงเก่า จังหวดั ขอนแก่น มีลกั ษณะคลา้ ยเห็ดนางรมแต่จัดเป็ นเห็ดพิษ ในสภาพตอนกลางวนั ก้าน ครีบ และดอกมีสีขาว แต่เม่ือในสภาพกลางคืนหรือไม่มีแสงดอกเห็ดจะเปล่งแสงสี เขียวอมเหลือง วนั ท่ี 21 มิถุนายน 2559 ไดร้ ับพระราชทานชื่อเห็ดเรืองแสงวา่ “สิรินรัศมี” โดยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารี เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 2

AB ลกั ษณะเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี Neonothopanus nambi (Speg.) R.H. Petersen&Krisai A: ลกั ษณะเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีในสภาพกลางวนั B: ลกั ษณะเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีในสภาพไม่มีแสง เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 3

คุณสมบตั ขิ องเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี จากการศึกษาพบสารออกฤทธ์ิท่ีสกัดได้จากเห็ด เรืองแสงสิรินรัศมีท่ีความเข้มข้น 500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลต่อการตายของตัวอ่อนระยะที่ 2 (J2) ของไส้เดือน ฝอยรากปม ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ภายในเวลา 1 นาที เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 4

การควบคุมโรคพืชโดยชีววธิ ี สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพทมี่ ผี ลต่อไส้เดือนฝอยราก ปม M. incognita คือ สารออริซิน เอ (Aurisin A) ซึ่งมผี ลต่อระบบประสาทของไส้เดือนฝอยรากปม ทาให้ไส้เดือนฝอยไม่สามารถเคล่ือนที่ และตายไป ในทส่ี ุด (สุรีย์พร, 2554) OH O O OH OH OH OOO Me Me H H Me Me Me Me Me Me เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั สแูลตะรพโฒั คนรางกสารรเ้กางษขตรอเขงตสทาี่ 4ร aurisin A ของเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี ไอโซเลต PW2 5

ข้อมูลพษิ วทิ ยาของสาร aurisin A จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมใี นหนูแรท (OECD 423) ตามระบบการจาแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมที เ่ี ป็ นระบบเดยี วกนั ท่ัวโลก (GHS) สาร aurisin A จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี จัดระดบั ความเป็ นพษิ อยู่ใน category ที่ 5 คือ ไม่มีความเป็ นพษิ และมีความปลอดภยั สูง มีค่า LD50 ที่ 5,000 - ∞ mg/kg body weight (OECD (2002) งานผลติ สัตว์ทดลอง ของ ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติเอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี4 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 6

โรครากปม (Root Knot) เชื้อสาเหตุ – ไส้เดือนฝอย Meloidogyne incognita และ M. javanica ตวั อ่อนระยะที่ 2 ของไสเ้ ดือนฝอยท่ีแพร่อยใู่ นดิน เจาะเขา้ บริเวณปลายรากพชื เคล่ือนท่ีไปยงั ทอ่ น้า ท่ออาหารและดูดกินน้าเล้ียงของพชื เจริญเติบโตดว้ ยการลอกคราบและพฒั นาไปเป็นตวั เตม็ วยั เพศ เมียสามารถสร้างไข่ที่มีลกั ษณะเป็นกลุ่มประมาณ 400-500 ฟอง ไข่ฟักเป็นตวั อ่อนเขา้ ทาลายรากพชื อยา่ งต่อเนื่อง จากตวั อ่อนระยะที่ 2 ถึงตวั อ่อนระยะที่ 2 อีกรุ่น ใชเ้ วลาประมาณ 3-4 สปั ดาห์ กล่มุ ไข่ กล่มุ ไข่ ไส้เดือนฝอย Meloidogyne incognita 7 เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4

ลกั ษณะอาการ 8 ระบบรากเป็ นป่ ุมปม เนื่องจากไส้เดือน ฝอยดูดกินน้ าเล้ียงบริ เวณท่อน้ า ท่อ อาหาร ทาให้เซลล์แบ่งตวั ผิดปกติ เกิด เป็ นเซลล์ขนาดใหญ่ ไปปิ ดก้นั ทางเดิน น้าและธาตุอาหารจากรากไปเล้ียงลาตน้ ส่วนเหนือดิน ทาให้พืชแสดงอาการ เหี่ยวเฉา ตน้ แคระแกร็น และทรุดโทรม หรือแหง้ ตายในท่ีสุด เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4

การแพร่ระบาด 9 • แพร่ระบาดไดด้ ีในในเน้ือดินชนิด ร่วนปนทราย • ระบบน้า หรือไหลไปกบั น้าฝน • ติดไปกบั ดิน เคร่ืองมือเกษตรต่างๆ หรือแมแ้ ต่รองเทา้ ที่มีดินติดไป เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4

ตวั อย่างโรครากปมที่พบในพืชต่างๆ เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 10

พริก Dr.Kay เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 11

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 12

มะละกอ Dr.Kay 13 เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4

มะเขือเทศ เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 14

พืชในวงศ์ผกั ชีและผกั กาด เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 15

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 16

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 17

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 18

หม่อน เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 19

มนั สาปะหลงั เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 20

การป้องกนั กาจดั 21 • การไถพรวน ตากดิน ก่อนปลูกพชื • ปลูกพืชหมุนเวยี นกบั พืชหลกั ไดแ้ ก่ ปอเทือง ถว่ั ลิสง และดาวเรือง • ใชพ้ ืชท่ีแขง็ แรงไม่เป็นโรค • เมื่อพบตน้ ท่ีเป็นโรค ใหถ้ อนและเผา ทาลายนอกแปลงปลูก • ควรระมดั ระวงั การแพร่ระบาดจาก แปลงหน่ึงไปอีกแปลงหน่ึง เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4

รูปแบบของชีวภณั ฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี 1. ก้อนเชื้อเห็ดเรืองแสง (พร้อมใช้) เกบ็ ก้อนเชื้อไว้ทอ่ี ุณหภูมิห้อง ได้นาน ถงึ 1 ปี โดยทก่ี ้อนเชื้อเห็ดไม่ย่อยสลาย 2. หัวเชื้อเห็ดเรืองแสงในข้าวฟ่ าง กรณี นาไปขยายเชื้อเองในก้อนขเี้ ล่ือยทผ่ี ่านการนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 22

วธิ ีการทาก้อนเชื้อเรืองแสงสิรินรัศมี อปุ กรณ์และวธิ ีการ วธิ ีการทาก้อนเชื้อเรืองแสง ขีเ้ ล่ือยยางพารา 100 กโิ ลกรัม ผสมทุกอย่างเข้าด้วยกนั เตมิ นา้ ให้มี ราละเอยี ด 7 กโิ ลกรัม ความชื้น ประมาณ 70 % น้ันกรอกใส่ถุงเพาะ ปูนขาว 1 กโิ ลกรัม เห็ด ประมาณ 800 – 900 กรัมต่อถุง รวบปาก ยบิ ซัม 0.5 กโิ ลกรัม ถุงกระทุ้งกบั พื้นให้แน่นพอประมาณ แล้วใส่ ดเี กลือ 0.2 กโิ ลกรัม คอขวด รัดยาง และจุกสาลี จากน้ันนาไปน่ึง นา้ ความชื้น 70 เปอร์เซ็นต์ เพื่อฆ่าเชื้อ เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 23

การขยายหัวเชื้อเห็ดเรืองแสงในก้อนขีเ้ ลื่อย อุปกรณ์และวธิ ีการ 1. หัวเชื้อเห็ดเรืองแสงในขวดข้าวฟ่ าง 2. ก้อนขเี้ ล่ือยทผี่ ่านการน่ึงฆ่าเชื้อแล้ว 3. กระดาษปิ ดจุกก้อนเชื้อทผี่ ่านการน่ึงฆ่าเชื้อ 4. ยางวงใช้รัดกระดาษ 5. ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 6. แอลกอฮอล์ 70% เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 24

การย้ายเชื้อเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี ก้อนขีเ้ ล่ือยน่ึงฆ่าเชือ้ แล้ว แอลกอฮอล์ 70% ตะเกียงแอลกอฮอล์ หัวเชือ้ เหด็ เรืองแสงเอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 25

ข้นั ตอนการย้ายเชื้อลงก้อน บ่มเชื้อทอี่ ณุ หภูมิ 28 ± 2 องศาเซลเซียส 26 เป็ นเวลา 45 วนั เส้ นใยเดนิ เต็มก้อนเอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4

เชื้อเห็ดเรืองแสง ไอโซเลต PW2 การเตรียมเชื้อเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมเี พ่ือใช้ ในแปลงเอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่427

การเตรียมเชื้อเห็ดเรืองแสงเพ่ือใช้ในแปลง 1. นาก้อนเชื้อเห็ดเรืองแสงสิริรัศมี ทมี่ เี ส้นใยเดนิ เต็มก้อน มาขยี้ ให้ เส้ นใยแยกออกจากกนั 2. ใส่เชื้อเห็ดเรืองแสงทขี่ ยแี้ ล้วในถุงพลาสตกิ ทสี่ ะอาดปริมาณ 3 ใน 4 ของถุง มดั ปากถุงหลวมๆให้มีพืน้ ทเี่ หลือด้านบน วางไว้ที่ อณุ หภูมหิ ้อง 3 วนั แล้วจงึ นาไปใช้ในแปลง เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 28

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 29

ก่อนปลูก วธิ ีการใช้ ผสมกบั วสั ดุเพาะเมลด็ รองก้อนหลมุ เตรียมแปลงปลูก / หว่านก่อนไถยกร่อง หลงั ปลกู ขุดร่องแล้วโรยเชื้อเห็ดเรืองแสงรอบทรงพ่มุ เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 30

อตั ราการใช้ ชนิดพืช อตั รา พริก มะเขือเทศ 10 กรัม/ตน้ /ถาดเพาะ พืชในวงศผ์ กั ชี ผกั กาด 40 กรัม/ตารางเมตร พริกไทย มนั สาปะหลงั 50 กรัม/ตน้ มนั ฝร่ัง 160 กิโลกรัม/ไร่ 220 กิโลกรัม/ไร่ เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 31

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่ 4 พริก รองก้นหลุมก่อนปลกู 32

แปลงปลูกพริกทม่ี ใี ช้เห็ดเรืองแสง 33 เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4

ใช้เชื้อเห็ดเรืองแสง กรัม ต้นแปลงปลูกพริกใช้เห็ดเรืองแสง อตั รา กรัม ต้นเอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตที่4 1010 //34

เอกสารเผยแพร่สานกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 4 35