ปั๊บผะหญา ล ้ า น น า ส ร ้ า ง สุ ข ภ า ว ะ รวมเรื่องราวรูปธรรม การสร้างสุขภาวะชุมชน โดยองค์กรหลักในพ้ืนท่ี เวทีสุดยอดผู้น�ำชุมชนท้องถิ่นวาระ: ลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ เพ่ิมปัจจัยเสริมสุขภาวะ (Community Key Actors Summit: Reducing Health Risk Factors, Enhancing Health Reinforcing Factors)
บรรณาธกิ าร ศนู ยส์ นับสนนุ วชิ าการภาคเหนือตอนบน กองบรรณาธกิ าร ปวนั พรหมตนั อิทธิพล มาช่นื ร่งุ นภา กนั ทะไชย ณัฐศาสตร์ บญุ มาก สามารถ เมอื งไชย นชิ าต์ มูลคำ� สถานทตี่ ดิ ตอ่ ศูนยส์ นับสนุนวิชาการเพ่อื การจดั การเครอื ขา่ ย พ้นื ทภี่ าคเหนือตอนบน ๑๙๖ หมู่ ๓ ตำ� บลดอนแกว้ อำ� เภอแมร่ ิม จงั หวดั เชียงใหม่ ๕๐๑๘๐ ผสู้ นบั สนนุ สำ� นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ โดยสำ� นักสนับสนนุ สขุ ภาวะชุมชน (สำ� นกั ๓)
คำ� นำ� องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ นบั เป็นหนว่ ยงานหลกั ทสี่ ามารถขบั เคล่อื น การพัฒนาโดยใช้พ้ืนที่เป็นตัวตั้งได้ดีที่สุด เพราะมีทั้งงบประมาณ ก�ำลังคน สามารถเช่ือมโยงแนวนโยบายจากส่วนกลางเขา้ กับปั ญหาและความต้องการ ของชุมชน ที่ผ่านมาศูนย์สนับสนุนวิชาการเพ่ือการจัดการเครือข่าย พ้ืนที่ ภาคเหนือตอนบน (ศวภ.ล้านนา) ซ่ึงได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ โดยส�ำนักสุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก ๓) ได้เป็นส่วนหน่ึงในฐานะหนว่ ยงานภาคี ที่เขา้ ไปหนุนเสริมองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นในการถอดบนเรียนทุนและศักยภาพที่มีอยู่ในชุมชน ทัง้ ทุนทเี่ ป็นบุคคล กลมุ่ องคก์ รชมุ ชน จดั ทำ� เป็นขอ้ มูลและนำ� ใช้ สงิ่ เหลา่ นคี้ อื องคค์ วามร้ทู เี่ ป็นของจรงิ สามารถจบั ตอ้ งได้ และเช่ือมโยงตน้ ทุนทัง้ หมดเขา้ สู่ งานพัฒนา โดยมเี ป้ าหมายคือการสร้างคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ีให้แกป่ ระชาชนทุกคน โดยยดึ ๒ หลกั การ คือการพัฒนาโดยเอาพ้นื ทเี่ ป็นฐาน และคำ� นึงถึงสุขภาพ ในทกุ นโยบาย ทผี่ า่ นมามอี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เขา้ รว่ มทำ� งานกบั ศนู ยส์ นบั สนนุ วิชาการเพ่ือการจัดการเครือขา่ ย พ้ืนที่ภาคเหนือตอนบนมาแล้ว ๕๗๐ แห่ง และที่ด�ำเนินการอยู่ตอนนี้ ๒๖๐ แห่ง แต่ละที่ล้วนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่น่าศึกษา ในฐานะตัวกลางจึงพยายามหมุนเวียนองค์ความรู้เหล่านี้ น�ำมา แลกเปลยี่ นแบง่ ปั น ประยุกตป์ รบั ใช้กนั ไปตามบรบิ ทของพ้ืนทีเ่ ป็นส�ำคญั
ขณะเดียวกัน หน่วยงานต้นสังกัดอย่างส�ำนักสุขภาวะชุมชน ก็มี ความพยายามที่จะจัดพ้ืนที่กลาง เพ่ือให้เครือข่ายองค์กรที่มีบทบาทใน การพัฒนาพ้นื ที่ ไดม้ ีเวทีมาพบปะ แลกเปลยี่ นองคค์ วามรู้ และมิตรภาพ เปิด กระบวนทัศน์ใหม่ให้กว้างไกลข้ึน ซ่ึงครั้งนี้ทางส�ำนักสุขภาวะชุมชนก็ได้จัด “เวทีสุดยอดผูน้ �ำชุมชนทอ้ งถิน่ วาระ: ลดปั จจัยเสีย่ งสุขภาพเพิม่ ปั จจัยเสริมสุข ภาวะ” (Community Key Actors Summit: Reducing Health Risk Factors, Enhancing Health Reinforcing Factors) ข้ึนในวันที่ ๓-๕ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ณ ศูนยแ์ สดงสนิ คา้ และการประชมุ อมิ แพค็ เมืองทองธานี ทางศูนยส์ นับสนนุ วิชาการเพ่ือการจัดการเครือขา่ ย พ้ืนทีภ่ าคเหนือตอนบนไดจ้ ัดเตรียมรูปแบบ การเรยี นร้ภู ายใตช้ ่ือ “ขว่ งผะหญา ฮอมกำ� ก๊ึด คนเป๋ นเกา๊ ” พร้อมกนั นไี้ ดจ้ ดั ท�ำ เอกสารประกอบการเรยี นรู้ จากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู รว่ มกบั ทนุ และศกั ยภาพของ ชมุ ชนทอ้ งถิน่ ถอดบทเรยี นจากพ้นื ทตี่ น้ แบบทัง้ ๓๕ แห่ง ทบทวนองคค์ วามรู้ ทางวชิ าการ และสรปุ บทเรยี นการดำ� เนนิ งาน แบง่ เป็น ๗ ประเดน็ ประกอบดว้ ย (๑) การควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู (๒) การควบคมุ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลเ์ พ่อื ลด อุบัติเหตุ (๓) การพัฒนาระบบอาหารชมุ ชน (๔) การพฒั นาระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่ (๕) การพฒั นาระบบการดแู ลผสู้ งู อายุ (๖) การจดั การ ระบบนิเวศชมุ ชน และ (๗) การพัฒนาระบบการดูแลกลมุ่ เปราะบางโดยชุมชน ท้องถิ่น เพ่ือให้คนชุมชนท้องถิ่นได้ใช้ในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ซ่ึงรูปธรรมที่ ปรากฏในคูม่ อื นี้ คือหลักฐานทีย่ นื ยนั เอกลักษณ์ ตวั ตน ของชุมชนตา่ งๆ ทีเ่ กดิ จากการปฏบิ ัตจิ ริง จบั ตอ้ งได้ กระทงั่ หยบิ ยมื ไปใช้ได้ ไมว่ า่ กนั ศนู ยส์ นบั สนุนวิชาการเพ่อื การจัดการเครือขา่ ย พ้นื ทภี่ าคเหนือตอนบน (ศวภ.ลา้ นนา)
ลดปัจจัยเส่ยี งสุขภาพ เพมิ่ ปจั จัยเสริมสุขภาวะ
๑) ประเด็นการควบคุมยาสบู (๘) ๒) ประเด็นการควบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (๒๐)เพื่อลดอุบัติเหตุโดยใช้พื้นท่ีเป็นตัวต้ัง ๓) ประเด็นการพัฒนาระบบอาหารชมุ ชน (๓๘) ๔) ประเด็นการพัฒนาระบบการดแู ลผสู้ งู อายุ โดยชุมชนท้องถ่ิน (๘๘) ๕) ประเด็นการจัดการระบบนเิ วศชมุ ชน และลดโลกร้อนโดยชุมชนท้องถ่ิน (๑๕๒) ๖) ประเด็นการพัฒนาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนท้องถิ่น (๒๑๐) ๗) ประเด็นการพัฒนาระบบการดแู ลกลมุ่ เปราะบาง โดยชุมชนท้องถิ่น (๒๓๐)
๑ ประเด็นการควบคุมยาสูบ
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ที่ คลินิกให้คําปรึกษา เพ่ือเลิกบุหรี่และสุรา พื้นท่ี: องคการบริหารสวนตําบลบ้านสหกรณ อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม วิทยากร: นางบุปผา บุญสดุดี ตําแหนง: พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ เบอรโทรศัพท: ๐๘-๗๙๕๖-๙๕๓๙ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพน้ื ท่ี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลบ้านสหกรณ์ ตัง้ อยูใ่ นพ้ืนที่โครงการหมูบ่ า้ นสหกรณ์ การเกษตรสันกา� แพง บนพ้ืนทีท่ งั้ หมด ๔ ไร่ ๒ งาน ๔๒ ตารางวา ซ่ึงเป็นโครงการอันเน่อื งมาจาก พระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปิ ดให้บริการเม่ือวันที่ ๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๖ รวมระยะเวลา ๒๘ ปี อาคารชัน้ เดยี วก่ึงไมก้ ่ึงปนู เรมิ่ ชา� รดุ ตอ้ งซ่อมแซมทกุ ปี ตอ่ มาทางสถานอี นามยั ตา� บลบา้ นสหกรณไ์ ดร้ บั งบประมาณในการกอ่ สรา้ งสถานอี นามยั หลงั ใหม่ จา� นวน ๒.๕ ลา้ นบาท โดยเรมิ่ ดา� เนนิ การกอ่ สรา้ งในปี ๒๕๕๒ และเปิดดา� เนนิ การในปีถดั มา และ เปลยี่ นช่อื จากสถานอี นามยั ตา� บลบา้ นสหกรณเ์ ป็นโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา� บลบา้ นสหกรณ์ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตามปกติแลว้ การให้บรกิ ารคลินกิ ให้ค�าปรึกษา เพ่อื การลด ละ เลิกบุหรี่ จะดา� เนินการที่ โรงพยาบาลประจา� อา� เภอเป็นหลัก ผรู้ บั บริการตอ้ งเดนิ ทางไป ประกอบกบั มขี นั้ ตอนหลากหลาย ทาง รพ.สต.บา้ นสหกรณ์ จงึ ไดจ้ ัดตงั้ คลนิ กิ ให้ค�าปรกึ ษาข้ึน ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) เพ่ือเพิม่ โอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารให้ค�าปรกึ ษาเพมิ่ มากข้ึน ลดขัน้ ตอนลง ๒) เพ่อื พัฒนาศักยภาพของเจ้าหนา้ ที่ กลุม่ อสม. และบุคคลตน้ แบบ ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) คัดเลือก อสม. และบุคคลต้นแบบ เพ่ือช่วยเหลือผู้สูบบุหรี่ โดยต้องผ่านการวัด สมรรถภาพทางกาย ได้รับการประเมินว่า เป็นผู้มีอารมณ์ดี จิตใจแจ่มใส มองโลกในแง่ดี ๑๐ | ปบ ผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ
ทา� กจิ กรรมร่วมกบั ครอบครวั หรอื เพ่อื นบา้ นอยเู่ สมอ มจี ติ สาธารณะ และเป็นผนู้ า� การดแู ลสขุ ภาพ ในชุมชน มีความสนใจขับเคล่อื นการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพของคนในชมุ ชน โดยสามารถ เป็นตน้ แบบได้ ปฏิบัตจิ ริง สามารถให้ความรู้ ค�าแนะน�ากับผทู้ ตี่ อ้ งการเลิกบหุ รี่ ๒) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. และบุคคลต้นแบบ เพ่ือเพิ่มความเชี่ยวชาญให้มี ความรู้ในเร่ืองพิษภัยของบุหร่ี ผลกระทบต่อผู้สูบ ครอบครัว สร้างแรงจูงใจให้ผู้สูบ คอยให้ ก�าลงั ใจ ตดิ ตามเยยี่ มบา้ นเสมอ ๓) จัดตงั้ คลินิกให้คา� ปรึกษาเพ่อื การลด ละ เลิก บหุ รี่ ใน รพ.สต. โดยวิธีการด�าเนินงาน ในคลินิก เริม่ ต้นดว้ ยการประเมินระยะของผูร้ ับบริการวา่ อยูใ่ นระยะใด ประเมินประเภทของการ ติดบุหรี่ เพ่ือให้ค�าปรึกษาที่เหมาะสม และวิธีการเลิกบุหรี่ที่ได้ผลอยา่ งง่าย โดยใช้หลักแผนที่ ถนน-ปชต. ชวนคนมาเลิกบุหรี่ หรอื ๕A Ask = ถาม ; ถามประวัติการสบู บุหรแี่ ละการใช้ผลติ ภัณฑย์ าสบู อ่นื ๆ เพ่ือคัดกรองผูส้ บู Advice = แนะน�า ; แนะให้ผสู้ บู บุหรเี่ ลิกบหุ รี่ Assess = ประเมนิ ; ประเมนิ ความรนุ แรงในการตดิ บหุ รแ่ี ละความประสงคใ์ นการเลกิ บหุ รี่ Assist = ช่วยเหลอื ; ช่วยเหลอื และบา� บดั รกั ษาอยา่ งเหมาะสม เพ่อื ให้เลกิ สบู บหุ รไี่ ดส้ า� เรจ็ Arrange = ติดตาม ; ตดิ ตามเยยี่ มบา้ น โดย อสม.เชีย่ วชาญและบุคคลตน้ แบบดา้ นการ เลกิ บหุ รี่ ส�าหรับผูท้ ี่สามารถเลิกบุหรี่ได้ อบต.บา้ นสหกรณ์ ร่วมกับ รพ.สต.บา้ นสหกรณ์ จัดพิธี มอบโล่เชิดชูเกียรติยกยอ่ งให้เป็นบุคคลต้นแบบ และเป็นวิทยากรให้กับเพ่ือนทีเ่ ขา้ โครงการลด ละ เลิกบหุ รี่ ของตา� บลบา้ นสหกรณ์ ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ๑) ระดบั บคุ คลและครอบครัว ไดแ้ ก่ อสม.ทผี่ า่ นการอบรม ๔๐ คน บคุ คลตน้ แบบ ลด ละ เลิก บุหรี่ ๑๐ คน ๒) ระดบั กลมุ่ ทางสังคม องคก์ ร ชุมชน ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผูส้ งู อายุ กลมุ่ อสม. ๓) ระดบั หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลแมอ่ อน ๔) ระดับหมูบ่ ้าน ได้แก่ ชมรมผูส้ ูงอายุบ้านสหกรณ์ กลุ่มอาสาสาธารณสุขชุมชนบ้าน สหกรณ์ ๕) ระดับต�าบล ไดแ้ ก่ กองทุนหลกั ประกันสุขภาพระดบั ทอ้ งถิน่ ๖) ระดบั เครือขา่ ย ไดแ้ ก่ เครือขา่ ยเยาวชนตา� บลบา้ นสหกรณ์ กศน.อ�าเภอแมอ่ อน ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ปี ๒๕๕๗ มีผูส้ ูบบุหรเี่ ขา้ รับค�าปรกึ ษา สามารถลด ละ เลกิ บุหรไี่ ด้ ๗๕ คน ปี ๒๕๕๘ มีผูส้ บู บุหรีเ่ ขา้ รับคา� ปรึกษา สามารถลด ละ เลิกบุหรีไ่ ด้ ๕๘ คน ปี ๒๕๕๙ มผี ูส้ ูบบหุ รเี่ ขา้ รับ คา� ปรกึ ษา สามารถลด ละ เลกิ บหุ รไี่ ด้ ๔๔ คน ปี ๒๕๖๐ มผี สู้ บู บหุ รเี่ ขา้ รบั คา� ปรกึ ษา สามารถลด ละ เลกิ บหุ รไี่ ด้ ๔๖ คน ปี ๒๕๖๑ มผี สู้ บู บหุ รเี่ ขา้ รบั คา� ปรกึ ษา สามารถ ลด ละ เลกิ บหุ รไี่ ด้ ๓๒ คน ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั การมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น ๑๑ปบ ผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ที่ อบต.สีขาว พื้นที่: องคการบริหารสวนตําบลบ้านสหกรณ อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม วิทยากร: นายบุญชวย เวชกิจ ตําแหนง: นายกองคการบริหารสวนตําบลบ้านสหกรณ เบอรโทรศัพท: ๐๙-๑๐๖๙-๐๕๑๗ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพนื้ ท่ี ปี ๒๕๕๖ ทาง อบต.บ้านสหกรณ์ได้ท�าการส�ารวจประชากร ๒,๓๕๐ คน พบว่า มี ผสู้ บู บุหรีร่ ้อยละ ๑๘.๑๕ ผสู้ ูบบุหรมี่ ปี ั ญหาสุขภาพร้อยละ ๑๐.๗๒ และมเี ดก็ อายตุ ากวา่ ๕ ปี ไดร้ ับควนั บหุ รมี่ ือสอง และความเสีย่ งในการไดร้ ับควันบุหรมี่ ือสอง ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เม่อื พจิ ารณาขอ้ มลู การสบู บุหรขี่ องประชาชนในพ้นื ทีแ่ ลว้ อบต.บา้ นสหกรณ์ ตระหนกั ถึง ผลกระทบจากการสบู บุหรี่ ซ่งึ สง่ ผลโดยตรงตอ่ สขุ ภาพของผูส้ บู คนในครอบครัว เศรษฐกิจของ ครอบครวั และตอ่ มายงั ชมุ ชน ประกอบกบั รฐั มนี โยบายให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ดา� เนนิ งาน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ไมส่ ูบบุหรี่ พ.ศ.๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ ยาสบู พ.ศ.๒๕๓๕ ทาง อบต.บา้ นสหกรณจ์ งึ เขา้ ร่วมเป็นเครอื ขา่ ยของ อบต.แมท่ า เพ่ือเตรียม ความพร้อมเขา้ สู่เครือขา่ ยต�าบลสุขภาวะ จนในปี ๒๕๕๙ จึงได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก หนว่ ยงานหลกั อยา่ ง สสส. เพ่อื ขบั เคล่อื นกิจกรรมการลด ละ เลิก การบรโิ ภคยาสบู ภายในพ้ืนที่ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ประชากรทกุ กลมุ่ วัยมีความตระหนกั ถงึ ผลกระทบจากการสูบบุหรี่ ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) ด�าเนนิ การรณรงคใ์ นทกุ ระดับ ประชาสมั พันธใ์ นวันส�าคญั ตา่ งๆ ๒) จดั สภาพแวดลอ้ มปลอดบหุ รี่ โดยกา� หนดสถานทสี่ บู บหุ รี่ สถานทปี่ ลอดบหุ รี่ ในสถานที่ ราชการ สถานทีส่ าธารณะ เช่น งานศพ ตลาด ร้านคา้ และสถานทที่ อ่ งเทีย่ ว ๓) กา� หนดกตกิ าหรอื มาตรการทางสงั คม โดยผา่ นการประชาคมหมูบ่ า้ น เช่น การไมเ่ ลยี้ ง เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลใ์ นงานศพ ไมเ่ ลีย้ งบหุ รใี่ นงานศพ ๔) มาตรการขององคก์ ร โดย อบต.บา้ นสหกรณ์ จะคัดเลือกผูไ้ มส่ ูบบุหรเี่ ขา้ ท�างาน ๑๒ | ปบผะหญา ลา นนาสรา งสุขภาวะ
๕) อบรมใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การบรโิ ภคยาสบู และการจา� หนา่ ยยาสบู ให้คูม่ ือแกผ่ ูป้ ระกอบการ และออกตรวจร้านคา้ เพ่ือเฝ้ าระวังการท�าผิด ไมจ่ �าหนา่ ยบุหรีแ่ กเ่ ด็ก ทีม่ ีอายุตากวา่ กฎหมายก�าหนด ไมต่ ัง้ วางให้เหน็ ไดช้ ัด ๖) จัดกิจกรรมคา่ ยเดก็ และเยาวชน โดยสอดแทรกสาระเกีย่ วกบั พิษภยั ของบุหรี่ เพ่ือให้ สง่ ตอ่ เร่อื งราวไปยงั ครอบครวั ๗) คดั เลือกกลมุ่ เป้ าหมายทปี่ ระสงคจ์ ะเขา้ ร่วมโครงการเลิกบหุ รี่ เพ่อื มาบ�าบดั และรักษา กระทัง่ เลิกไดเ้ ดด็ ขาด จนมาเป็นบุคคลตน้ แบบอยา่ งนอ้ ยหมบู่ า้ นละ ๑ คน ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๑) ระดบั บคุ คลและครอบครวั ไดแ้ ก่ อสม. ๑๙ คน บคุ คลตน้ แบบดา้ นการลด ละ เลกิ บหุ รี่ ๑๐ คน ๒) ระดับกลมุ่ ทางสังคม องคก์ ร ชุมชน ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ กลมุ่ เยาวชน กลมุ่ อสม. กลมุ่ ป๋ ุยอินทรีย์ กลมุ่ รีไซเคิล ๓) ระดบั หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลแมอ่ อน วทิ ยาลยั เทคนคิ สนั กา� แพง วดั และ รพ.สต. บา้ นสหกรณ์ ๔) ระดบั หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ ชมรมผสู้ งู อายบุ า้ นสหกรณ์ กลมุ่ สตรแี มบ่ า้ นบา้ นสหกรณ์ กลุม่ เยาวชนบา้ นสหกรณ์ กลุม่ อาสาสาธารณสขุ ชุมชนบา้ นสหกรณ์ ๕) ระดับต�าบล ไดแ้ ก่ กองทุนสวัสดิการชุมชนต�าบลบา้ นสหกรณ์ ชมรมพัฒนาบทบาท สตรตี า� บลบา้ นสหกรณ์ โรงเรียนนวัตกรรมชมุ ชนต�าบลบา้ นสหกรณ์ กองทนุ หลักประกันสุขภาพ ระดบั ทอ้ งถิน่ ๖) ระดบั เครือขา่ ย ไดแ้ ก่ เครือขา่ ยเยาวชนต�าบลบา้ นสหกรณ์ กศน.อ�าเภอแมอ่ อน ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ๑) เกิดแหลง่ เรียนรู้การควบคมุ การบริโภคยาสูบ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ เป้ าหมาย เช่น กลุม่ บุคคลตน้ แบบ ๑๐ คน ๒) เกดิ การรณรงคใ์ นทกุ ระดบั จดั สภาพแวดลอ้ มปลอดบหุ รี่ กตกิ าหรอื มาตรการทางสงั คม มาตรการขององคก์ ร และการบา� บดั และฟ้ืนฟู ๓) เกิดอาสาสมคั รทีเ่ ป็นแกนน�าในการรณรงค์ หมบู่ า้ นละ ๓-๕ คน เพ่อื ท�างานในชุมชน ๔) เกดิ เครอื ขา่ ยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ขบั เคล่อื นการควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู ในพ้นื ที่ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั ๑) ชุมชนเขม้ แข็งด้วยทุนทางสังคม โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชนเรียนรู้ จากการลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเองในทุกขนั้ ตอน ๒) ฐานรากมาจากประชาชน ยดึ หลกั “ประชาชนเป็นศูนยก์ ลาง” เพ่อื ให้พวกเขากา� หนด “ประโยชนส์ ุขของประชาชน” ๓) สร้างการมีสว่ นร่วม ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดา� เนินการ ร่วมประเมนิ ผล ๔) การบรู ณาการงานรว่ มกนั ของทอ้ งถนิ่ ทอ้ งที่ หนว่ ยงานราชการ ภาคประชาชน ตลอดจน ภาคเอกชน ๑๓ปบ ผะหญา ลา นนาสรางสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ที่ เทศบาลปลอดบุหร่ี พ้ืนท่ี: เทศบาลตําบลปว อําเภอปว จังหวัดนาน วิทยากร: นางสาววงวรรณ เทพอาจ ตําแหนง: หัวหน้าฝายบริการสาธารณสุข เบอรโทรศัพท: ๐๙-๑๘๖๓-๗๓๘๙ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพน้ื ท่ี สา� นกั งานเทศบาลตา� บลปั ว เป็นสถานทรี่ าชการทมี่ พี ้นื ทใี่ นการให้บรกิ ารมากกวา่ ๓,๐๐๐ ตารางเมตร ประกอบไปด้วยอาคารหลักทั้งหมด ๖ หลัง เป็นอาคารส�านักงานแบบเปิ ด ใช้ รัว้ ธรรมชาติคอื แนวตนั้ ไม้ ทีน่ ีม่ ีบุคลากรมากกวา่ ๒๐๐ คน บรกิ ารงานทัง้ เชิงรับและเชิงรุก ดแู ล พ้ืนที่ในเขตเทศบาลทั้งหมด ๒๐.๕ ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น ๑๓ ชุมชน มปี ระชากรตามทะเบยี นราษฎร์ ๑๐,๖๓๘ คน ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จากการส�ารวจขอ้ มูลภายในเทศบาล พบบุคลากรท่ีสูบบุหรี่ จ�านวน ๑๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙.๕ สบู แลว้ ทงิ้ กน้ บุหรี่ เป็นภาระของแมบ่ า้ น และคนทีไ่ มไ่ ดส้ บู ทตี่ อ้ งรับควันบหุ รมี่ ือสอง ทั้งยังอาจท�าให้เกิดอัคคีภัยได้ กระนั้นผลกระทบทางตรง ก็อยู่ที่สุขภาพของผู้สูบ พนักงาน หลายคนทสี่ บู เป็นโรคหวั ใจ โรคเกยี่ วกบั หลอดเลอื ด โรคเกยี่ วกบั ระบบทางเดนิ หายใจ โรคมะเรง็ และโรคเร้ือรังตา่ งๆ กระทงั่ วนั หนง่ึ มผี ทู้ ลี่ กุ ขน้ึ มาเรยี กรอ้ งสทิ ธใิ นการคมุ้ ครองผไู้ มส่ บู บหุ รี่ และขอใหจ้ า� กดั พ้นื ที่ การสูบ เสมือนเป็นการจุดประกายความคิด เพ่ือเปลยี่ นเทศบาลให้เป็นสถานทีร่ าชการต้นแบบ ให้แกห่ นว่ ยงานอ่นื ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ เปลยี่ นเทศบาลให้เป็นสถานทรี่ าชการตน้ แบบให้แกห่ นว่ ยงานอ่นื จา� กดั พ้นื ทกี่ ารสบู บหุ รี่ เพ่อื ลดผลกระทบในกลมุ่ ผไู้ มส่ บู บหุ รี่ ตลอดจนสรา้ งจติ สา� นกึ ในกลมุ่ ผสู้ บู บหุ รใี่ หม้ คี วามรบั ผดิ ชอบ ตอ่ ผอู้ ่นื และสงั คม และเพ่อื กระตนุ้ ให้บคุ ลากร โดยเฉพาะกลมุ่ คนร่นุ ใหมห่ นั มาตระหนกั ถงึ พษิ ภยั ของบุหรี่ ๑๔ | ปบผะหญา ลานนาสรา งสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) ลงนามความร่วมมอื ในการเขา้ ร่วมเป็นสว่ นหน่งึ ของการควบคมุ การบริโภคยาสบู โดย เอาพ้นื ทเี่ ป็นตวั ตงั้ และจดั ทา� โครงการ แผนงาน และรายละเอยี ดกจิ กรรมเพ่อื ขออนมุ ตั ดิ า� เนนิ การ จาก สสส. ๒) ก�าหนดนโยบายเทศบาลปลอดบุหร่ี แต่งตัง้ คณะท�างานสร้างเสริมสุขภาพ พร้อมจัด สภาพแวดลอ้ มเพ่อื จ�ากัดพ้นื ทสี่ ูบเพียงจุดเดยี ว ๓) จดั ทา� ป้ ายประชาสมั พนั ธ์ ป้ ายห้ามสบู ในทตี่ า่ งๆ และอบรมให้ความร้เู ร่อื งขอ้ กฎหมาย เกี่ยวกับการสูบในสถานที่ราชการ ตลอดจนโทษและพิษภัยของบุหรี่ในที่ประชุมพนักงาน ประจ�าเดือน ๔) สนบั สนนุ ให้พนักงานลด ละ เลิก การสบู บหุ รี่ โดยการจดั ห้องให้คา� แนะนา� ปรกึ ษาการ ลด ละ เลกิ การสบู บหุ รี่ ซ่งึ ดา� เนนิ การโดยกองสาธารณสขุ และสิง่ แวดลอ้ ม ถา้ ผสู้ บู มคี วามประสงค์ และไมส่ ามารถเลิกได้เอง ก็จะพาเขา้ สู่กระบวนการบ�าบัดรักษาในคลินิกฟ้ าใส ของโรงพยาบาล สมเดจ็ พระยุพราชปั ว ๕) สง่ เสริมให้ “เพ่อื นช่วยเพ่อื น” โดยให้เพ่ือนคอยเป็นหูเป็นตา บอกกลา่ ว ตกั เตอื น ใน กรณที มี่ กี ารสบู นอกพ้ืนทสี่ ูบ ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๑) บุคลากรในสังกัดเทศบาลต�าบลปั ว ๒) ผมู้ าติดตอ่ ราชการ ๓) โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชปั ว ๗. ผลการดา� เนนิ งาน เทศบาลตา� บลปั วสามารถขับเคล่อื นแนวนโยบาย โดยก�าหนดพ้ืนทเี่ ฉพาะในการสบู บหุ รี่ สร้างบุคคลต้นแบบที่มีความพร้อมในการถ่ายทอดประสบการณ์ แรงบันดาลใจในการเลิกบุหรี่ และนวตั กรรม check&share ของหนว่ ยงานเพ่อื การสง่ เสรมิ การลด ละ เลกิ การบบรโิ ภคยาสูบ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั ๑) การก�าหนดแนวนโนบาย และการปฏบิ ัตติ ามแนวนโยบายอยา่ งจรงิ จัง ๒) คณะทา� งานมคี วามตงั้ ใจ มคี วามรู้เชงิ กระบวนการในการขับเคล่อื น ๓) องคค์ วามรู้ และการพัฒนาศกั ยภาพของบุคคล ๔) จติ สา� นึกทดี่ ี รู้จกั รบั ผิดชอบตอ่ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม ๑๕ปบผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ที่ โรงเรียนปลอดบุหรี่ พื้นที่: เทศบาลตําบลปว อําเภอปว จังหวัดนาน วิทยากร: นายเตชะวัฒน อุดอ้าย ตําแหนง: ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านปาหัด เบอรโทรศัพท: ๐๘-๓๐๓๒-๑๙๙๖ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพนื้ ท่ี เทศบาลต�าบลปั วมีพ้ืนทีท่ ัง้ หมด ๒๐.๕ ตารางกิโลเมตร แบง่ การปกครองออกเป็น ๑๓ ชุมชน มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ๑๐,๖๓๘ คน ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เทศบาลตา� บลปั วตระหนกั ถงึ อนั ตรายของบหุ รี่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การป้องกนั อนั ตรายจาก ควันบุหรมี่ ือสองในพ้นื ทีโ่ รงเรียน เพ่ือปลูกฝั งจิตส�านึกทด่ี ี และลดนักสูบหนา้ ใหม่ จึงขับเคล่ือน นโยบายการไมส่ ูบบุหรีใ่ นพ้ืนทีโ่ รงเรียน โดยมคี รู นกั เรยี น และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไดเ้ ขา้ มา มีสว่ นร่วม เช่นเดยี วกับภาคสว่ นอ่นื ของสังคม เช่น ครอบครัว ชุมชน สถานทรี่ าชการอ่ืนๆ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) เพ่อื สร้างความตระหนักให้แกน่ ักเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เร่อื งพิษภัยของ บุหรี่ และสทิ ธิของผูไ้ มส่ ูบบหุ รี่ ๒) เพ่อื สร้างแกนนา� ในการขบั เคล่อื นการด�าเนนิ งานปลอดบหุ รีใ่ นโรงเรียน ๓) เพ่อื สร้างเครอื ขา่ ยแกนนา� เยาวชนในสถานศึกษา ๔) เพ่อื ให้โรงเรยี นเป็นสถานทเี่ ขตปลอดบหุ รตี่ ามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ ผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ.๒๕๖๐ และให้โรงเรียนเป็นต้นแบบของการรณรงค์พิษภัยบุหรี่ในสถานศึกษาอย่างเป็น รูปธรรม ๑๖ | ปบผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) กา� หนดนโยบาย “โรงเรยี นปลอดบหุ ร”ี่ ถา่ ยทอดนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และประชาสมั พนั ธ์ นโยบาย ๒) บริหารจัดการโดยการจัดตั้งคณะท�างานโรงเรียนปลอดบุหร่ี เพ่ือส�ารวจขอ้ มูลการ สูบบหุ รีใ่ นโรงเรียน ด�าเนินกิจกรรม และติดตามผล ๓) จัดสภาพแวดล้อมด้วยการติดป้ ายห้ามสูบบุหรีใ่ ห้เห็นชัดเจนบริเวณทางเขา้ โรงเรียน ทกุ ช่องทาง ไมใ่ ห้มีอปุ กรณห์ รอื สิง่ อา� นวยความสะดวกในการสูบบหุ รี่ ๔) สอดแทรกเร่อื งบหุ รีใ่ นการจัดการเรียนรู้ ทัง้ ในหลกั สูตรและกจิ กรรมเสริม ๕) สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นนา� ประเดน็ เร่อื งบหุ รกี่ ลบั สบู่ า้ นและชมุ ชน มกี ารคดั กรองและตดิ ตาม นักเรียนกลุ่มเสี่ยง เพ่ือป้ องกันนักสูบหน้าใหม่ และดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่สูบให้เลิกสูบบุหรี่ ตามความเหมาะสม ๖) ชแี้ จงและขอความร่วมมือร้านคา้ ในชุมชนไมข่ ายบุหรใี่ ห้กบั เยาวชน ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ๑) บุคลากรในสังกดั เทศบาลตา� บลปั ว ๒) คณะครู นกั เรยี น บุคลากร และผมู้ าตดิ ตอ่ โรงเรียน ๓) โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชปั ว ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ๑) นักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความตระหนัก สนใจ และมีสว่ นร่วมในการ ควบคุมการบรโิ ภคยาสูบ และร่วมรณรงคเ์ พ่อื การลด ละ เลกิ การสูบบหุ รี่ ๒) เกิดแกนน�าในการขบั เคล่อื นการด�าเนนิ งานปลอดบุหรีใ่ นโรงเรยี น ๓) เกดิ โรงเรยี นตน้ แบบดา้ นการรณรงคเ์ ร่อื งภยั จากบหุ รใี่ นสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นรปู ธรรม จา� นวน ๒ แห่ง ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั ๑) การก�าหนดแนวนโนบาย และการปฏิบัติตามแนวนโยบายอยา่ งจริงจัง ๒) คณะท�างานมีความตงั้ ใจ มคี วามรู้เชงิ กระบวนการในการขับเคล่อื น ๓) องคค์ วามรู้ และการพัฒนาศักยภาพของบคุ คล ๔) จติ สา� นึกทดี่ ี ร้จู ักรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม ๑๗ปบ ผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ท่ี การควบคุมการบริโภคยาสูบ โดยใช้พ้ืนท่ีเปนตัวตั้ง พื้นท่ี: องคการบริหารสวนตําบลทุงรวงทอง อําเภอแมวาง จังหวัดเชียงใหม วิทยากร: นายมนตรี คําสอน ตําแหนง: หัวหน้าสํานักปลัด เบอรโทรศัพท: ๐๙-๑๐๖๙-๑๖๙๑ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพนื้ ท่ี อบต.ทงุ่ รวงทองไดร้ บั การยกฐานะจากสภาตา� บลเป็นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตา� บล ตามมาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๑ แห่งพระราชบัญญัตสิ ภาตา� บลและองคก์ ารบริหารสว่ นตา� บล พ.ศ.๒๕๔๐ ซ่ึง มปี ระกาศกระทรวงมหาดไทย เม่อื วันที่ ๒๓ เดอื นกุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ มีพ้นื ทีร่ ับผดิ ชอบ ๕.๖๓ ตารางกโิ ลเมตร แบง่ การปกครองออกเป็น ๘ หมบู่ า้ น ประชากรสว่ นใหญเ่ ป็นชนพ้นื เมอื งเดมิ และ มีชนเผา่ เขนิ ละวา้ เงยี้ ว อยูร่ วมกัน มคี รัวเรือนทงั้ หมด ๗๔๖ ครัวเรอื น ประชากร ๒,๑๘๑ คน ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง จากระบบขอ้ มลู ต�าบล (TCNAP) พบวา่ ประชาชนต�าบลทุง่ รวงทองมีปั ญหาดา้ นสขุ ภาพ ทีส่ า� คัญ ๓ อันดับ อนั ดบั ที่ ๑ คือ โรคความดันโลหิตสงู อันดบั ท่ี ๒ คือโรคขอ้ เขา่ เส่อื ม และอนั ดับ ที่ ๓ คอื โรคเบาหวาน และจากขอ้ มูลความจ�าเป็นพ้ืนฐาน หรือ จปฐ. ปี ๒๕๕๘ พบวา่ ในพ้นื ที่ ต�าบลทุง่ รวงทอง มีครัวเรอื นทมี่ ผี ูท้ สี่ ูบบหุ รอี่ ยูร่ ้อยละ ๑๐ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) เพ่อื ให้เกิดบุคคลตน้ แบบในชมุ ชน ทเี่ ป็นแบบอยา่ งในการลด ละ เลกิ บหุ รี่ ๒) เพ่ือให้เกดิ การขยายเครอื ขา่ ยดา้ นการขบั เคล่ือนการควบคุมการบรโิ ภคยาสูบโดยใช้ พ้นื ทีเ่ ป็นตวั ตงั้ ๓) ป้ องกนั ไมใ่ ห้เกดิ นกั สบู หนา้ ใหม่ โดยให้โรงเรยี นและสถาบนั ครอบครวั คอยขบั เคล่อื น เฝ้ าระวัง ประกอบกับการสนับสนุนจากร้านคา้ ชุมชนทีไ่ มจ่ �าหนา่ ยบุหรีใ่ ห้แกเ่ ยาวชน และไมว่ าง บุหรีอ่ ยา่ งสะดดุ ตา ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) คน้ หาทนุ ทางสงั คมในชมุ ชน โดยเฉพาะบคุ คลตน้ แบบ ครวั เรอื นตน้ แบบ กลมุ่ จติ อาสา ๑๘ | ปบผะหญา ลา นนาสรา งสุขภาวะ
๒) ดา� เนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงค์ ๔ ดา้ น คอื การจา� กดั พ้นื ที่ การนา� ใช้ขอ้ มลู การสรา้ งบคุ คล ตน้ แบบ และการรณรงค์ ๓) สรา้ งเครอื ขา่ ยโดยจดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การจดั การความรเู้ พ่อื ขบั เคล่อื นประเดน็ การควบคุมการบรโิ ภคยาสบู โดยใช้พ้ืนทเี่ ป็นตัวตงั้ ร่วมกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ๒๐ แห่ง ๔) อบรมให้ความรกู้ บั ผนู้ า� กลมุ่ ผนู้ า� ชมุ ชน เพ่อื สรา้ งความตระหนกั ถงึ พษิ ภยั จากบหุ รแี่ ละ ควนั บหุ รีม่ ือสอง ๕) ออกแบบส่ือรณรงค์ ป้ าย สตกิ เกอร์ เป็นภาษาลา้ นนา จัดกิจกรรมปั่ นจักรยานรณรงค์ กอ่ นวันงดสูบบุหรี่โลก และกิจกรรมเดินรณรงค์เน่ืองในวันงดสูบบุหรี่โลก เพ่ือเป็นการกระตุ้น จิตส�านึกที่ดีแกเ่ ยาวชนต�าบลทุ่งรวงทอง จัดนิทรรศการเกี่ยวกับโทษของการสูบบุหรี่ในวันเด็ก แห่งชาติ และวนั ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ จดั นทิ รรศการและให้ความรใู้ นวนั สานสมั พนั ธผ์ สู้ งู วยั ในหวั ขอ้ “ครอบครวั สงู วยั ไรค้ วนั บหุ ร”ี่ เพ่อื ขยายเครอื ขา่ ยบคุ คลตน้ แบบสวู่ ยั สงู อายุ ซ่งึ มอี ตั ราการสบู บหุ รี่ สูงเป็นอนั ดบั ทสี่ องรองจากวยั แรงงาน ๖) มอบใบประกาศเกยี รตคิ ณุ แกบ่ ุคคลตน้ แบบทีส่ ามารถเลิกบุหรไี่ ด้ เพ่ือเป็นการยกยอ่ ง และเชิดชขู วัญกา� ลงั ใจ ๗) สร้างเครือขา่ ย อสม.ไร้ควัน เพ่ือการดูแลสร้างเสริมสุขภาพอยา่ งทั่วถึง และสร้าง เครอื ขา่ ยรา้ นคา้ สขี าวในตา� บลทงุ่ รวงทอง เพ่อื ป้องกนั การเพมิ่ จา� นวนของนกั สบู หนา้ ใหม่ ดว้ ยการ งดจา� หนา่ ยบุหรีใ่ ห้แกเ่ ด็กและเยาวชนทมี่ ีอายุไมถ่ งึ ๒๐ ปี ๘) สง่ เสรมิ กจิ กรรมการเตน้ ออกกา� ลงั กายของกลมุ่ แมบ่ า้ นตา� บลทงุ่ รวงทอง และโรงเรยี น ผสู้ งู อายุต�าบลทงุ่ รวงทอง ๙) สร้างมาตรการในองคก์ ร เริม่ จาก อบต.ทงุ่ รวงทอง ก�าหนดพ้ืนทสี่ ูบ และห้ามสูบใน เวลาทา� งาน ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง องคก์ ารบริหารส่วนต�าบลทุ่งรวงทอง ผูน้ �าชุมชน ส.อบต. ก�านัน-ผูใ้ หญบ่ า้ น โรงเรียน ไตรมิตรวทิ ยา โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตา� บลบา้ นเตาไห วัดในพ้นื ทตี่ า� บลทงุ่ รวงทอง กองทนุ สวสั ดิการชมุ ชนตา� บลทงุ่ รวงทอง โรงเรียนผูส้ งู อายุตา� บลทงุ่ รวงทอง จติ อาสา อาสาสมัคร อสม. อผส. กศน.ต�าบลทงุ่ รวงทอง ร้านคา้ ชมุ ชน ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ๑) ทกุ ภาคสว่ นเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการสา� รวจพฤตกิ รรมการบรโิ ภคยาสบู ในพ้นื ที่ นา� ขอ้ มลู มาวิเคราะห์ถงึ สถานการณ์ วางแผน และจัดกิจกรรม ๒) มบี ุคคลตน้ แบบดา้ นการลด ละ เลกิ บหุ รี่ จา� นวน ๑๐ คน ๓) เกดิ คูม่ อื หรือหลกั สตู รส�าหรบั การพฒั นานวตั กรรมการควบคุมการบรโิ ภคยาสูบโดย ใช้พ้นื ทีเ่ ป็นตวั ตงั้ ตลอดจนเครอื ขา่ ย อปท. ๔) เกิดพ้ืนทีป่ ลอดบุหรที่ ชี่ ุมชนมมี ตริ ่วมกัน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ แห่ง และเกดิ อาสาสมคั รที่ เป็นแกนน�าในการรณรงค์ หมบู่ า้ นละ ๓-๕ คน ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั ทกุ ภาคสว่ นในพ้นื ที่ และภาคเี ครือขา่ ยตา่ งๆ เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการด�าเนินงาน วางแผน และจดั กิจกรรมการรณรงคท์ กุ ระดับในพ้ืนที่ ๑๙ปบผะหญา ลานนาสรางสุขภาวะ |
๒ ประเด็นการควบคุม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ เพ่ือลดอุบัติเหตุ โดยใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวต้ัง
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ที่ สภาผู้นําตําบลปาสัก พื้นที่: ตําบลปาสัก อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา วิทยากร: นายบุญสง เขียวใจ ตําแหนง: นายกองคการบริหารสวนตําบลปาสัก เบอรโทรศัพท: ๐๘๙-๒๖๖-๗๕๓๖ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพน้ื ท่ี ต�าบลป่ าสัก อ�าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีพ้ืนที่ประมาณ ๒๙ ตารางกิโลเมตร แบ่ง การปกครองออกเป็น ๑๐ หมบู่ า้ น มคี รวั เรอื นจา� นวน ๑,๒๔๑ ครวั เรอื น ประชากรรวม ๓,๙๔๒ คน แยกเป็นชาย ๑,๙๕๑ คน หญิง ๑,๙๙๑ คน มีจ�านวนผูด้ ่ืมสุราเป็นประจ�าจ�านวน ๒๐๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๓๐ (ขอ้ มูลจาก TCNAP) ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง คนต�าบลป่ าสักมีค่านิยมชอบด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในงานประเพณีต่างๆ ค่านิยม ดังกล่าวเป็นปั จจัยส�าคัญที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ การทะเลาะวิวาท แตกความสามัคคี น�ามาซึ่ง ความพกิ าร และบางครงั้ ถงึ ขนั้ สญู เสยี ชวี ติ ถอื เป็นปั ญหาทส่ี ง่ ผลกระทบทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสุขภาพ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) สร้างคณะท�างานในการก�าหนดกฎระเบียบ และแกไ้ ขปั ญหาในชุมชนให้เป็นไปใน ทิศทางเดยี วกัน ๒) สร้างกฎระเบยี บร่วมกัน และให้ทุกคนในต�าบลป่ าสกั ถอื ปฏิบัติ โดยมเี ป้ าหมายเพ่อื ให้ คนลดการด่มื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลใ์ นชมุ ชน ๒๒ | ปบผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) สร้างเครือขา่ ยนักรณรงค์ โดยชมรมก�านัน ผูใ้ หญบ่ ้าน ร่วมกับคณะผูบ้ ริหาร สภา องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตา� บลป่ าสกั และมมี ตจิ ดั ตงั้ สภาผนู้ า� ตา� บลป่ าสกั เพ่อื ขบั เคล่อื นการดา� เนนิ งาน ๒) สภาผู้น�าต�าบลป่ าสัก ร่วมกับภาคีเครือขา่ ย มีมติในที่ประชุมให้จัดท�าบันทึกความ ร่วมมือว่าด้วยธรรมนูญต�าบลป่ าสัก โดยมีขอ้ ตกลงให้งดเสิร์ฟเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในงานศพ และงานบญุ ตา่ งๆ ๓) ขอความร่วมมือจากหนว่ ยงานราชการ เช่น วดั โรงเรยี น ชมุ ชน ช่วยกันประชาสัมพันธ์ พษิ ภยั ของเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ ๔) ส�านักปลัด องค์การบริหารส่วนต�าบลป่ าสัก จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการป้ องกันและลด อบุ ตั เิ หตทุ างถนน โดยมกี จิ กรรมรณรงคช์ ่วงเทศกาลสา� คญั ตา่ งๆ เช่น วนั สงกรานต์ วนั เขา้ พรรษา และวนั ปีใหม่ ๕) ภาคีเครือข่ายร่วมขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะต�าบล ตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วย ธรรมนูญตา� บลป่ าสัก อยา่ งตอ่ เน่อื งและเป็นรปู ธรรม ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทนุ ทางสงั คมหลกั ประกอบดว้ ย ๑) ชมรมกา� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น ตา� บลป่ าสกั ๒) คณะผบู้ รหิ าร องคก์ ารบริหารส่วนต�าบลป่ าสัก และ ๓) สมาชิกสภาองคก์ ารบริหารส่วนต�าบลป่ าสัก ร่วมเป็น แกนนา� จดั ตงั้ สภาผูน้ �าตา� บลป่ าสกั ทุนทางสังคมที่หนุนเสริม ประกอบด้วย ๑) นายอ�าเภอ อ�าเภอภูซาง ๒) โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�าบลป่ าสัก ๓) เจ้าคณะต�าบลป่ าสัก ๔) ประธานชมรมผู้สูงอายุต�าบลป่ าสัก ๕) ประธานชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา� บลป่ าสกั ทรี่ ว่ มดา� เนนิ การขบั เคล่อื นนโยบายสาธารณะ ตา� บล ตามบันทกึ ขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยธรรมนูญตา� บลป่ าสกั ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ๑) ดา้ นสังคม เกดิ มาตรการ กฎ ระเบยี บ ทรี่ ่วมกนั ร่างและบังคบั ใช้ในชุมชน ๒) ดา้ นเศรษฐกิจ เกดิ การลดรายจ่ายทีไ่ มจ่ �าเป็น ๓) ดา้ นสขุ ภาพ ประชาชนลดปั จจยั เสีย่ งตอ่ สขุ ภาพ ๔) ดา้ นการเมือง การปกครอง สร้างการมีสว่ นร่วมของประชาชนในพ้นื ที่ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั สภาผนู้ า� ตา� บลป่ าสกั ใช้หลกั การบรหิ ารงานผา่ นการบรู ณาการแบบมสี ว่ นรว่ ม โดยให้ผนู้ า� กลมุ่ องคก์ รตา่ งๆ ในชมุ ชน และประชาชน เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการกา� หนดมาตรการทางสงั คม เพ่อื เป็นกฎระเบยี บร่วมกนั ในการดา� เนนิ การลดเหลา้ ในงานบญุ ประเพณขี องชมุ ชน ตลอดจนเกดิ ภาคี เครือขา่ ยร่วมขับเคล่ือนการด�าเนินงานอยา่ งต่อเน่ืองและเป็นรูปธรรม อันจะน�าไปสู่การพัฒนา ทีย่ ัง่ ยนื ตอ่ ไป ๒๓ปบ ผะหญา ลานนาสรา งสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ท่ี การควบคุมการบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์และ การลดอุบัติเหตุจราจรโดยใช้พ้ืนที่เปนตัวต้ัง พื้นท่ี: เทศบาลตําบลปากอดํา อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย วิทยากร: นายฐิติกร ก้อนคํา ตําแหนง: พนักงานดับเพลิง เบอรโทรศัพท: ๐๘๒-๔๘๔-๑๑๒๘ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพน้ื ท่ี เทศบาลต�าบลป่ ากอ่ ด�ามีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ๔,๒๘๗ คน ในจ�านวนนีม้ ีผูด้ ่ืม สุราเป็นประจา� แบง่ เป็นชาย ๔๕๑ คน หญิง ๑๔๙ คน รวม ๖๐๐ คน และมีอุบตั เิ หตกุ รณีเมา แลว้ ขบั เกดิ ข้นึ จากชาย ๑๕ คน หญงิ ๕ คน รวม ๒๐ คน ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง สถิติการเกิดอุบัติเหตุในเขตพ้ืนที่เทศบาลต�าบลป่ าก่อด�าสูงเป็นอันดับ ๑ ของอ�าเภอ แมล่ าว จงั หวดั เชียงราย ซ่งึ เกิดจากสาเหตหุ ลกั ๒ ประการ คือ ๑) การขับขีย่ านพาหนะดว้ ยความเร็ว โดยเฉพาะบนถนนสายหลักเขา้ สูต่ ัวเมือง จังหวัด เชียงราย ซ่ึงมจี ดุ เสีย่ งเป็นเสน้ ทางวิง่ ตรงยาว ๒.๕ กิโลเมตร และไมม่ ีสัญญาณไฟจราจรตรงทาง แยกใหญ่ ๒) การด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลแ์ ลว้ ขับขยี่ านพาหนะ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) สร้างอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมูบ่ า้ น และบุคลากรสาธารณสุขในเขตเทศบาล ต�าบลป่ ากอ่ ดา� ให้เป็นตน้ แบบการลด ละ เลิก เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ ๒) รณรงคใ์ ห้ประชาชนเกดิ ความต่นื ตัว และตระหนักถงึ ความปลอดภยั บนทอ้ งถนน ๓) ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ ซ่งึ เป็นสาเหตหุ ลกั ทที่ า� ให้เกดิ อบุ ัติเหตุ ๒๔ | ปบผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน สรา้ งเสรมิ ทกั ษะและเพมิ่ ศกั ยภาพแกผ่ เู้ ขา้ รว่ มอบรม และปรบั ปรงุ สภาพพ้นื ทจี่ ดุ เสยี่ ง เพ่อื ลดอบุ ตั เิ หตจุ ราจร ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เทศบาลต�าบลป่ าก่อด�า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลป่ าก่อด�า กองสาธารณสุข เทศบาลต�าบลป่ ากอ่ ด�า อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจ�าหมบู่ า้ นในเขตเทศบาลตา� บลป่ ากอ่ ดา� ๗. ผลการดา� เนนิ งาน จากการด�าเนินงานพบว่า อัตราการสูญเสียจากอุบัติเหตุลดลง เน่ืองจากประชาชนเกิด ความต่นื ตวั และตระหนกั ถงึ ผลเสยี ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จงึ ไมด่ ่มื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลแ์ ลว้ ขบั ขยี่ านพาหนะ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั การรณรงค์แบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ระยะที่ ๑ รณรงค์ให้ลด ละ เลิก การด่ืมเคร่ืองด่ืม แอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลวันเขา้ พรรษา ระยะที่ ๒ ใช้โอกาสช่วงเทศกาลปีใหม่ และเทศกาล สงกรานต์ ประชาสัมพันธผ์ ูใ้ ช้รถใช้ถนนให้ระมัดระวัง และงดการด่ืมแลว้ ขับขยี่ านพาหนะ โดยมี เทศบาลต�าบลป่ ากอ่ ดา� เป็นกลไกขับเคล่อื นการดา� เนนิ งานในระดบั พ้ืนที่ เพ่ือสร้างชมุ ชนตน้ แบบ สขู่ อ้ ตกลงร่วมขับเคล่อื นนโยบายสาธารณะตอ่ ไป ๒๕ปบ ผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ที่ ชุมชนปลอดเหล้า พนื้ ท:ี่ องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลรอ งเคาะ อาํ เภอวงั เหนอื จงั หวดั ลาํ ปาง วิทยากร: นายชัยรัตน ทองใบ ตําแหนง: นายกองคการบริหารสวนตําบลรองเคาะ เบอรโทรศัพท: ๐๘๒-๘๙๑-๙๖๒๕ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพนื้ ท่ี หนว่ ยงานหลักในพ้ืนที่ต�าบลร่องเคาะประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนต�าบลร่องเคาะ โรงเรียน ๕ แห่ง ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ๒ แห่ง โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตา� บล ๒ แห่ง วัด โบสถ์ สถานประกอบพิธที างศาสนา ๑๕ แห่ง กูช้ ีพกภู้ ัย ตัง้ อยูท่ ีอ่ บต.ร่องเคาะ ๑ แห่ง และดา่ นชุมชน กระจายอยูใ่ น ๑๗ หมบู่ า้ น ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง จากขอ้ มลู ทางสถิติ มนี ักด่มื ทีเ่ ป็นเยาวชน สตรี เพิม่ จ�านวนข้ึน ประกอบกบั วถิ ชี วี ติ ดงั้ เดิม ทีม่ กี ารผลติ สรุ าพ้นื บา้ น เป็นปั จจัยทเี่ อ้ือให้เกดิ การด่มื ทาง อบต.ร่องเคาะเหน็ เป็นปั ญหาทีต่ อ้ ง เฝ้าระวงั จงึ ทา� โครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยคนงดเหลา้ เพ่อื รณรงคใ์ ห้ประชาชนเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม ขณะเดียวกัน อบต.ร่องเคาะให้หน่วยกูช้ ีพกูภ้ ัยท�าหน้าที่เฝ้ าระวังอุบัติเหตุ เพราะพ้ืนที่ ตดิ กบั ทางหลวงหมายเลข ๑๐๓๕ เป็นจดุ เสย่ี ง มอี บุ ตั เิ หตบุ อ่ ยครงั้ ทงั้ ยงั ห่างไกลจากโรงพยาบาล นอกจากนี้ได้เสริมกลไกการเฝ้ าระวังของชุมชน โดยจัดตั้งด่านชุมชนข้ึน เพ่ือเฝ้ าระวังปั ญหา ทะเลาะวิวาท ยาเสพติด และอบุ ตั เิ หตุ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ เป็นหนว่ ยงานปลอดเหล้า และสร้างกลไกการดูแลชุมชนให้มีความปลอดภัย ประชาชน มีสุขภาพ และคุณภาพชีวติ ทดี่ ี ๒๖ | ปบ ผะหญา ลานนาสรางสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน อบต.ร่องเคาะร่วมกับหนว่ ยงานหลักในพ้ืนที่ เช่น โรงเรียน รพ.สต. ตลอดจนหนว่ ยงานที่ เกยี่ วขอ้ ง ให้ลด ละ เลิกเหลา้ และรณรงคผ์ า่ นการจัดกีฬาร่องเคาะคพั ซ่งึ เป็นงานกีฬาปลอดเหลา้ เพ่อื สรา้ งแรงกระตนุ้ ให้งานกฬี าอ่นื ๆ ในชมุ ชนงดเวน้ จากเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ อกี ทงั้ จดั มหกรรม สขุ ภาพตา� บลร่องเคาะ เพ่อื สร้างความตระหนกั และดแู ลสขุ ภาพของคนในชมุ ชน พรอ้ มกนั นยี้ งั มอบหมายใหห้ นว่ ยกชู้ พี กภู้ ยั อบต.รอ่ งเคาะ ฝึกซ้อมแผนกอ่ นเกดิ สถานการณ์ จริงทุกเดือน ตัง้ หนว่ ยดูแลความปลอดภัยตลอด ๒๔ ชัว่ โมง ตัง้ ด่านร่วมกับด่านชุมชน สถานี ต�ารวจภูธร ในช่วงเทศกาลตา่ งๆ ขณะทดี่ า่ นชมุ ชนคอยดแู ลความปลอดภยั และดแู ลสถานการณ์ ทัง้ ๑๗ จุด ตงั้ แตเ่ วลา ๑๘.๐๐-๒๔.๐๐ น. ทกุ วัน ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทอ้ งถนิ่ ทอ้ งที่ หนว่ ยงานภาครฐั กลุม่ องคก์ รตา่ งๆ ในชุมชน ภาคประชาชน ๗. ผลการดา� เนนิ งาน หนว่ ยงานในพ้ืนทีร่ ่วมกันรณรงคต์ ่อต้านเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ภายในหนว่ ยงาน จัดงาน กฬี ารณรงค์ และมหกรรมสขุ ภาพตา� บลรอ่ งเคาะ เพ่อื ให้ชมุ ชนตระหนกั ถงึ โทษ และรจู้ กั ดแู ลตวั เอง ขณะเดียวกัน คนในชุมชนก็มั่นใจเร่ืองความปลอดภัยมากข้ึน เพราะทั้งหน่วยกูช้ ีพกูภ้ ัย อบต. ร่องเคาะ และดา่ นชมุ ชน เตรียมแผนรับมือสถานการณต์ า่ งๆ ไวแ้ ลว้ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่ กา� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น เจ้าหนา้ ทีจ่ าก รพ.สต. กลมุ่ อสม. โรงเรียน วัด ชุมชน และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ร่วมกันดา� เนนิ งานแกไ้ ขปั ญหาความเดอื ดร้อนในชุมชน ๒๗ปบ ผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ท่ี ลดเหล้าหลังเลิกงาน (รพ.สต.ร่องเคาะ) พน้ื ท:่ี องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลรอ งเคาะ อาํ เภอวงั เหนอื จงั หวดั ลาํ ปาง วิทยากร: นายชาตรี พิทยาธํารง / นายวรวรรธน คําภักดี / นายธวัช เสียงดี ตําแหนง: ผู้อํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลรองเคาะ เบอรโทรศัพท: ๐๙๕-๕๕๒-๓๐๒๑ / ๐๖๔-๓๖๕-๔๒๕๙ / ๐๖๔-๒๒๕-๓๕๕๙ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพนื้ ท่ี จากขอ้ มูลทางสถติ ิ ในบรรดาประชากรของ อบต.ร่องเคาะ พบผูด้ ่มื แอลกอฮอลอ์ ายนุ อ้ ย ทีส่ ดุ คือ ๑๕ ปี ผดู้ ่มื แอลกอฮอลอ์ ายมุ ากทสี่ ดุ คือ ๘๕ ปี ผดู้ ่ืมแอลกอฮอลช์ ่วงอายุ ๑๕-๑๙ ปี คดิ เป็นร้อยละ ๑๓.๙๓ นอกจากนี้ พบประชาชนทสี่ วมหมวกนิรภัยขณะขบั ขรี่ ้อยละ ๓.๔๘ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จากการสา� รวจขอ้ มลู ในปี ๒๕๕๗ พบวา่ ประชาชนในพ้นื ที่ อบต.ร่องเคาะประกอบอาชพี เกษตรกรและรบั จ้างเป็นหลกั และสว่ นใหญน่ ยิ มด่มื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลห์ ลงั เลกิ งาน ซ่งึ เป็นหน่งึ ในสาเหตุหลักของอบุ ัติเหตุ ทงั้ อุบัติเหตุขณะทา� งาน และขณะขบั ขี่ ซายงั กอ่ ให้เกิดปั ญหาสุขภาพ การทะเลาะเบาะแวง้ ในครอบครัว เศรษฐกจิ ภายในครวั เรอื น ตลอดจนปั ญหาอาชญากรรม ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) เพ่ือให้คนในชมุ ชนลดหรือเลิกการด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลห์ ลังการท�างาน ๒) เพ่อื สร้างชมุ ชนปลอดอาชญากรรม ลดการทะเลาะววิ าทในชุมชน ลดการทา� ร้ายคนใน ครอบครวั ๓) เพ่อื ลดอบุ ัติเหตใุ นตา� บลร่องเคาะ ๒๘ | ปบผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) จัดท�าขอ้ มูล ผา่ นการประชุมเชิงปฏิบัติการ เช่ือมโยงกับหลักวิชาการ เพ่ือให้ชุมชน ตระหนักถึงปั ญหา และรบั ฟั งความคิดเห็น เพ่อื เป็นขอ้ มูลในการแกไ้ ขปั ญหา ๒) ผนู้ า� ชมุ ชน แกนนา� ชมุ ชน ภาคเี ครอื ขา่ ยสขุ ภาพ รว่ มกบั เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ออกแบบ การดา� เนนิ งานแกไ้ ขปั ญหา และร่วมประชาคม เพ่อื จดั ลา� ดบั ความส�าคัญในการแกป้ ั ญหา ๓) จัดตัง้ ด่านชุมชน โดยมีทัง้ อปพร. ชรบ. กรรมการหมูบ่ า้ น ผลัดเปลีย่ นเวรเฝ้ าระวัง เหตกุ ารณใ์ นหมบู่ า้ น โดยเฉพาะกลมุ่ เดก็ และเยาวชน ตลอดจนอา� นวยความสะดวก และบงั คบั ใช้ ระเบยี บต�าบล หรือมติประชาคมในหมบู่ า้ น ๔) ตดิ ตามผลการดา� เนนิ งานตามมตปิ ระชาคม เพ่อื สรปุ ความเป็นไปไดใ้ นการแกไ้ ขปั ญหา และรับฟั งปั ญหาหลังจากด�าเนินการ คน้ หาแนวทางการแกไ้ ขปั ญหาต่อไป ตามหลักการพัฒนา คุณภาพอยา่ งตอ่ เน่อื ง จากวงลอ้ Plan Do Check Act จนกวา่ จะไดร้ ับผลลัพธต์ ามเป้ าหมายที่ วางไว้ และพัฒนาตอ่ เพ่ือให้การแกไ้ ขปั ญหาเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง องคก์ ารบริหารสว่ นต�าบลร่องเคาะ กา� นัน ผูใ้ หญบ่ า้ น โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตา� บล บา้ นดอนแกว้ โรงเรยี นบา้ นดอนแกว้ สถาบนั แสนผญา๋ โรงพยาบาลวงั เหนอื สา� นกั งานสาธารณสขุ อ�าเภอวังเหนือ เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคเหนือตอนบน ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ๑) ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนลดรายจ่ายในครัวเรือนลง ท�างานได้เต็มประสิทธิภาพ ไมข่ าดงานเสียรายไดโ้ ดยไมจ่ �าเป็น และลดคา่ ใช้จ่ายในงานบุญประเพณีตา่ งๆ ๒) ด้านสังคม ลดปั ญหาการทะเลาะวิวาท การท�าร้ายร่างกายในครอบครัว และท�าร้าย ร่างกายตนเอง ทงั้ ยังเป็นการจัดระเบียบพ้นื ทที่ างสงั คม เช่น สถานทีร่ าชการ วัด โรงเรียน รพ.สต. ตลอดจนงานประเพณี ให้ไมม่ ีการด่ืมแอลกอฮอล์ ๓) ด้านสุขภาพ พ้ืนที่มีอุบัติเหตุจราจรลดลง โดยในปี ๒๕๖๐ เกิดอุบัติเหตุ ๑๒ ครัง้ การด่มื แอลกอฮอลเ์ ป็นสาเหตุ ๒ ครัง้ ขณะทปี่ ระชาชนประสบอบุ ตั ิเหตุจากการท�างานลดลง โดย ในปี ๒๕๖๐ เกดิ อบุ ัตเิ หตุจากการท�างาน ๑๖ ครงั้ ทัง้ หมดไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับการด่มื แอลกอฮอล์ ๔) ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม มีการปรบั ปรุงพ้นื ทีเ่ สยี่ งตอ่ การเกิดอุบัติเหตุจราจรในหมบู่ า้ น ๕) ดา้ นการเมอื งการปกครอง เกดิ ระเบียบต�าบลร่องเคาะทีท่ ุกคนถอื ปฏิบตั ิร่วมกัน ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั การมสี ว่ นร่วมของทุกภาคในการลกุ ข้ึนมาแกไ้ ขปั ญหาอยา่ งจริงจัง ๒๙ปบผะหญา ลานนาสรา งสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ที่ การควบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ในตําบลร่องเคาะ พนื้ ท:่ี องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลรอ งเคาะ อาํ เภอวงั เหนอื จงั หวดั ลาํ ปาง วิทยากร: นายชัยรัตน ทองใบ ตําแหนง: นายกองคการบริหารสวนตําบลรองเคาะ เบอรโทรศัพท: ๐๘๒-๘๙๑-๙๖๒๕ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพนื้ ท่ี ถนนสายหลักในตา� บลร่องเคาะมกี ารติดตงั้ ไฟฟ้ าสาธารณะตามจุดเสีย่ งตา่ งๆ ครอบคลมุ ร้อยละ ๑๐๐ มีโครงการของ อบต.ร่องเคาะทมี่ ีสว่ นสง่ เสรมิ ดา้ นสาธารณภยั คดิ เป็นร้อยละ ๑๐ และมีถนนทอี่ ยูร่ ะหวา่ งการซ่อมแซม ร้อยละ ๓๐ ขณะทสี่ ถติ กิ ารบรโิ ภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอลบ์ ง่ ชวี้ า่ มผี มู้ พี ฤตกิ รรมเสยี่ ง ด่มื สรุ าเป็นประจา� ถงึ ร้อยละ ๓๙.๒ โดยพบผดู้ ่มื แอลกอฮอลอ์ ายนุ อ้ ยทสี่ ดุ คอื ๑๕ ปี ผดู้ ่มื แอลกอฮอลอ์ ายมุ ากทสี่ ดุ คอื ๘๕ ปี และมผี ดู้ ่มื แอลกอฮอลช์ ่วงอายุ ๑๕-๑๙ ปu รอ้ ยละ ๑๓.๙๓ ของจา� นวนผดู้ ่มื แอลกอฮอล์ ทงั้ หมด นอกจากนี้ยังมีข้อมูลทางสถิติอีกชุดที่น่าสนใจ คือในจ�านวนจักรยานยนต์จดทะเบียน ๑๐,๐๐๐ คัน มอี ตั ราการเกิดอบุ ัตเิ หตถุ ึงร้อยละ ๒๔.๒๖ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ภายในชุมชนเกิดปั ญหาร้องเรียนเร่ืองการทะเลาะวิวาท อุบัติเหตุ สืบเน่ืองจากการด่ืม เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ชมุ ชนลด ละ เลกิ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ และตระหนกั ถงึ ปั ญหาทเ่ี กดิ จากการด่มื แอลกอฮอล์ ๓๐ | ปบผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) สร้างเครือขา่ ยคนงดเหล้า คัดเลือกผูท้ ีเ่ ลิกเหลา้ ส�าเร็จในระดับต่างๆ เพ่ือยกข้ึนเป็น บคุ คลตน้ แบบ ครอบครวั ตน้ แบบ และหมบู่ า้ นตน้ แบบ ๒) ออกระเบียบต�าบล เป็นข้อตกลงร่วมกันว่า จะงดเหล้าในงานศพ งานมงคล และ งานประเพณี ๓) จัดตัง้ กลุ่มสภาเด็กและเยาวชนในต�าบลร่องเคาะ เพ่ือเป็นแกนน�าขับเคล่ือนกิจกรรม ในระดบั เยาวชน ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในพ้นื ทมี่ ที นุ ทางสงั คมทมี่ ศี กั ยภาพและมสี ว่ นรว่ มปรบั สภาพแวดลอ้ มทเี่ อ้อื ตอ่ การใช้ชวี ติ อยา่ งปลอดภัย เช่น อพปร. กลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน ทีมกูช้ ีพกูภ้ ัย ชมรมผู้สูงอายุ กองทุน สวัสดกิ ารชมุ ชน สภาผนู้ �าชมุ ชน สภาเด็กและเยาวชน กศน. โรงเรยี น รพ.สต. ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ที่ผ่านมามีผู้สนใจเข้าร่วมเครือข่ายคนงดเหล้าตลอดชีวิต และงดเหล้าตลอดพรรษา มากข้ึน ประชาชนไมด่ ่มื สรุ าในงานศพและงานบญุ ตา่ งๆ สง่ ผลโดยตรงตอ่ สุขภาพ ขณะเดียวกนั เหตุทะเลาะวิวาท และอบุ ตั เิ หตุ กล็ ดลงอยา่ งมนี ัยสา� คัญ การควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ยังสามารถเช่ือมโยงไปสู่งานพัฒนาด้านอ่ืนๆ เช่น คณะกรรมการสภาเดก็ และเยาวชนตา� บลรอ่ งเคาะจดั กจิ กรรม ทงั้ จติ อาสาทา� ฝายชะลอนา ปลกู ป่ า เลน่ ดนตรี และเลน่ กฬี า ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่ กา� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น รพ.สต. โรงเรยี น วัด ชุมชน และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง ร่วมมอื กนั ด�าเนนิ งาน ประสานงานกัน เพ่ือให้ประชาชนลด ละ เลกิ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ จนเกดิ เครือขา่ ยคนงดเหลา้ ทัง้ ระดับบคุ คลตน้ แบบ ครอบครัวตน้ แบบ และหมูบ่ า้ นตน้ แบบ ๓๑ปบผะหญา ลานนาสรา งสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ที่ โรงเรียนปลอดเหล้า ตําบลร่องเคาะ พน้ื ท:่ี องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลรอ งเคาะ อาํ เภอวงั เหนอื จงั หวดั ลาํ ปาง วิทยากร: นางดวงใจ ดีพัฒนกุล ตําแหนง: ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านแมสง เบอรโทรศัพท: ๐๙๑-๘๕๘-๒๓๓๖ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพน้ื ท่ี ในพ้ืนที่ อบต.ร่องเคาะ มีโรงเรียนปลอดเหล้าอยู่ ๒ แห่ง จากขอ้ มูลทางสถิติพบผูด้ ่ืม แอลกอฮอล์อายุน้อยที่สุด คือ ๑๕ ปี ผู้ด่ืมแอลกอฮอล์อายุมากที่สุด คือ ๘๕ ปี และมีผู้ด่ืม แอลกอฮอล์ช่วงอายุ ๑๕-๑๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๙๓ ของจ�านวนผูด้ ่ืมแอลกอฮอล์ทัง้ หมด นอกจากนี้ พบประชาชนทสี่ วมหมวกนริ ภัยขณะขบั ขี่ เพียงร้อยละ ๓.๔๘ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง องคก์ ารบริหารส่วนต�าบลร่องเคาะเห็นความส�าคัญของสถาบันครอบครัว เพราะเป็นจุด เริม่ ตน้ บม่ เพาะดูแลเดก็ ให้มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สามารถอยูร่ ่วมกับบคุ คลอ่ืนไดอ้ ยา่ งมีสุข ที่ผา่ นมาปฏิเสธไมไ่ ด้ว่า เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์รุกรานเขา้ สู่ครัวเรือน ชุมชน ผา่ นงานประเพณี งานบญุ กลนื กนิ วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ซา ยงั นา� มาซ่งึ ปั ญหาทะเลาะววิ าท และอบุ ตั เิ หตุ ตา� บลรอ่ งเคาะ จงึ หนั มารณรงคใ์ ห้คนในชมุ ชนลด ละ เลกิ การด่มื สรุ า โดยเรยี กประชมุ เพ่อื ชใ้ี ห้ชาวบา้ นเหน็ ถงึ ผล ทีต่ ามมาจากการด่มื แอลกอฮอล์ ทัง้ ปั ญหาดา้ นสขุ ภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ๓๒ | ปบ ผะหญา ลานนาสรางสขุ ภาวะ
๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) เพ่อื ปลกู ฝั งคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ ห้นกั เรียน โดยเฉพาะการลด ละ เลกิ เคร่อื งด่ืม แอลกอฮอล์ ๒) เพ่อื ให้นักเรียนเห็นถึงโทษของแอลกอฮอล์ ๓) เพ่ือให้นักเรียนเป็นสว่ นหน่งึ ในการร่วมกนั ตอ่ ตา้ น หรอื ลด ละ เลกิ แอลกอฮอล์ ทัง้ ใน ครอบครัวและชุมชน ๔) เพ่อื ดา� เนินตามนโยบาย ลด ละ เลกิ แอลกอฮอล์ ของ อบต.ร่องเคาะ ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ประชมุ วางแผนคณะครู คณะกรรมการสถานศกึ ษา เพ่อื จดั ทา� หลกั สตู รบรู ณาการ ตลอดจน กิจกรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการรณรงค์ ลด ละ เลกิ แอลกอฮอล์ โดยสอดแทรกเขา้ ไปในกลมุ่ สาระการ เรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุม่ สาระ การเรียนรู้ศลิ ปะ และรายวชิ าเพิม่ เติมหนา้ ทพี่ ลเมือง โดยคณะครทู า� หนา้ ทีว่ ัดผล ประเมินผลการ เรยี นรู้ของนักเรยี น ตลอดจนตดิ ตามผล สรปุ และรายงานผลการดา� เนินการ นอกจากนยี้ งั จดั ทา� แผนประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมตา่ งๆ ของหลกั สตู ร เพ่อื ส่อื สารกบั นกั เรยี น ครู ผปู้ กครอง และชุมชน ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทอ้ งถนิ่ ทอ้ งที่ หนว่ ยงานภาครัฐ กลุม่ องคก์ รตา่ งๆ ในชุมชน ภาคประชาชน ๗. ผลการดา� เนนิ งาน เกิดหลักสตู รบูรณาการ รณรงคล์ ด ละ เลิก เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ เพ่ือชีใ้ ห้เห็นโทษ สร้าง ค่านิยมที่ถูกต้อง และให้นักเรียนเป็นส่วนหน่ึงในการร่วมกันลด ละ เลิก แอลกอฮอล์ ทั้งใน ครอบครวั และชมุ ชน เพ่อื ให้สถาบนั ครอบครวั และชุมชนมีความเขม้ แขง็ ทผี่ า่ นมา ครอบครัวโดยสว่ นมากให้ความร่วมมอื แตบ่ างครอบครวั ยังไมเ่ หน็ ความสา� คัญ ซ่ึงเป็นปั ญหาทตี่ อ้ งหาแนวทางแกไ้ ขตอ่ ไป ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั โรงเรียน ร่วมกบั อบต.ร่องเคาะ และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง ดา� เนินงานแกไ้ ขปั ญหา ๓๓ปบ ผะหญา ลานนาสรา งสขุ ภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ท่ี “ซะปะอย่าง สร้างความปลอดภยั ” ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย พนื้ ท:่ี เทศบาลตําบลบ้านต๊ํา อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา วิทยากร: พันจาเอกวัชพล สมปาน ตําแหนง: หัวหน้าฝายปกครอง เบอรโทรศัพท: ๐๙๓-๓๒๓-๑๗๕๙ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพนื้ ท่ี ต�าบลบา้ นตามีพ้ืนที่ประมาณ ๘๘,๘๙๐ ไร่ หรือประมาณ ๑๔๒.๒๓ ตารางกิโลเมตร แบง่ เขตการปกครองเป็น ๑๓ หมบู่ า้ น มีประชากรทัง้ สิ้น ๗,๒๔๓ คน แมป้ ั จจุบันสภาพสังคม จะเปลี่ยนเป็นชุมชนก่ึงเมืองก่ึงชนบท แต่ประชากรส่วนใหญ่ในต�าบลยังประกอบอาชีพท�านา ท�าไร่ ท�าสวน รับจ้างทั่วไป ค้าขาย เน่ืองจากเป็นพ้ืนที่เหมาะแก่การเกษตร นอกจากนี้ยังมี แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทสี่ า� คัญ ไดแ้ ก่ นาตกจา� ปาทอง นาตกขุนตา อ่างเก็บนา ห้วยเฮือก ฝายทงุ่ กลอง ซ่ึงเหมาะกับการทอ่ งเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ ส�าหรับขอ้ มูลเกีย่ วกับผูด้ ่ืมสุรา พบว่า มีทัง้ สิน้ ๖๑๖ คน แมไ้ มม่ ผี ปู้ ่ วยพษิ สรุ าเร้อื รงั แตก่ ม็ คี วามเสยี่ งมากมาย โดยเฉพาะผดู้ ่มื สรุ าแลว้ รถขบั ขจี่ กั รยานยนต์ หรอื รถยนต์ ถอื เป็นโจทยส์ �าคัญให้ทอ้ งถนิ่ ตอ้ งหาวธิ รี บั มอื อยา่ งเหมาะสม ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จังหวัดพะเยาเคยมีสถิติผู้บริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูงสุดในประเทศเม่ือปี ๒๕๕๖ และเกดิ อุบัตเิ หตจุ ราจรเฉลยี่ เดอื นละ ๑-๒ ราย โดยกลุม่ ผูด้ ่ืม มตี งั้ แตผ่ ูด้ ่ืมหนา้ ใหม่ วัยแรงงาน รวมถึงผูส้ งู อายุ ยิง่ ในงานบุญ งานประเพณี งานศพ และช่วงเทศกาลตา่ งๆ ปรมิ าณการด่ืมกย็ ิง่ มากข้ึน เพ่ือแกป้ ั ญหาจึงมีการประชุมประชาคมต�าบลบา้ นตาข้ึนเพ่ือเสนอโครงการแกไ้ ขปั ญหา ระยะยาว ดว้ ยการจัดกิจกรรมต่อเน่ือง พร้อมชีใ้ ห้เห็นโทษของการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ซ่งึ เป็นสาเหตขุ องปั ญหาตา่ งๆ อกี มากมาย ๓๔ | ปบผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ
โดยกิจกรรมหน่งึ คือการที่ ศูนย์ อปพร.ต�าบลบา้ นตา เทศบาลต�าบลบา้ นตา ไดเ้ ขา้ ร่วม เป็นแหล่งเรียนรู้ “ซ๊ะป๊ ะอยา่ ง สร้างความปลอดภัย” เพ่ือเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ ด้านการจัดการ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ และอุบัติภัยทเ่ี กิดจากมนุษยส์ ร้างข้ึน มีการฝึกอบรม ให้ความรู้ ทัง้ ภาค ทฤษฏี และฝึกภาคปฏิบัติ เตรียมความพร้อมรับสาธารณภัย และอุบัติเหตุต่างๆ พร้อมกับตัง้ ด่านชุมชนในช่วงเทศกาล ปรับสภาพแวดล้อม จัดท�าป้ ายสัญลักษณ์จุดเสี่ยง ป้ ายแจ้งเตือน การกา� หนดความเรว็ ในการขบั ขชี่ ่วงทางแยกเขา้ ถนนหมายเลข ๑๑๒๗ เป็นระยะทาง ๖ กโิ ลเมตร รณรงคก์ ารสวมหมวกนิรภัยและคาดเข็มขัดทุกครัง้ ทขี่ ับขีย่ านพาหนะ จนไดร้ างวัล ศูนย์ อปพร. ดีเดน่ ประเภทเทศบาลต�าบลระดับประเทศจากกระทรวงมหาดไทย ๒ ปีซ้อน ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ๑) สร้างคา่ นิยมในการลดการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทีส่ อดคลอ้ งกับศักยภาพและ ภูมปิ ั ญญาทอ้ งถิน่ ๒) รณรงคเ์ พ่ือลดอุบัติเหตุจราจรในระดับพ้ืนที่ พร้อมสร้างเครือขา่ ย อาสาสมัคร หรือ กลมุ่ บุคคล เพ่อื สง่ เสริมการลด ละ เลิก การบริโภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอลแ์ ละอบุ ัติเหตุจราจร ๓) ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม ลด ละ เลิกการบริโภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอลข์ องกลุม่ เยาวชน ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ๑) เขา้ ร่วมอบรมในเวที TCNAP RECAP เพ่อื คน้ หาทนุ ทางสงั คมในชมุ ชน ๒) ท�า MOU กับผู้น�าในชุมชนและแหล่งเรียนรู้ พร้อมทั้งอบรมให้ความรู้แกผ่ ู้น�าและ ผปู้ ระกอบการร้านคา้ ๓) ตัง้ จุดตรวจและให้ความสะดวกทางถนนแกป่ ระชาชนในวันส�าคัญตา่ งๆ เช่น งานศพ งานบุญประเพณี วนั ข้ึนปีใหม่ และวันสงกรานต์ บรเิ วณจดุ เสีย่ งตา่ งๆ พร้อมจดั เตรยี มเคร่อื งด่ืม แกง้ ว่ งแกเ้ มาไวบ้ รกิ าร รวมถึงสร้างกจิ กรรมตา่ งๆ เพ่อื ให้ผดู้ ่มื สรุ าหนั มาปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม ๔) สร้างกฎกติกาจัดการพ้ืนที่ในการควบคุมการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และลด อุบัติเหตุจราจร พร้อมเตรียมการรองรับสถานการณฉ์ ุกเฉิน เช่น การกูช้ ีพ หรือปฐมพยาบาล ติดตัง้ ล้อยางรถยนต์บริเวณทางโคง้ เพ่ือลดการกระแทกเม่ือเกิดอุบัติเหตุ และให้เป็นจุดสังเกต เห็นไดง้ า่ ย ร่วมทัง้ การตดั กงิ่ ไมแ้ ละหญา้ บริเวณทลี่ ับตา และทที่ ีแ่ สงสวา่ งสอ่ งไมถ่ ึง ๕) เรียนร้กู ารวเิ คราะห์ขอ้ มูลเครือขา่ ยการลด ละ เลิก การบรโิ ภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ พรอ้ มจดั เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ พ่อื ตอ่ ยอด จากนนั้ กท็ า� ขอ้ ตกลงระหวา่ งผบู้ รหิ ารกบั ภาคสว่ นตา่ งๆ มกี ารประชาสมั พนั ธแ์ ละจดั กิจกรรมอยา่ งตอ่ เน่อื ง ๓๕ปบผะหญา ลา นนาสรา งสุขภาวะ |
๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ๑) ทุนระดับบุคคลและครอบครัว เช่น กลุ่มเด็กและเยาวชนปลอดเหล้า บุคคลต้นแบบ ทีเ่ ลิกเหลา้ ได้ แกนน�าของชุมชน เช่น ก�านันผูใ้ หญบ่ า้ น พระสงฆ์ และแกนนา� กลมุ่ อาชพี ๒) ทุนระดบั กลมุ่ ทางสังคมและองคก์ รชมุ ชน เช่น กลมุ่ อาชีพตา่ งๆ ในพ้นื ที่ ๓) ระดบั หนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย ศาสนสถาน โรงเรยี น รพ.สต. และเทศบาลตา� บลบา้ นตา ๔) ระดับชุมชน เช่น หมูบ่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารจัดการตนเอง หมูบ่ า้ นคณุ ธรรม และ หมูบ่ า้ นจดั การความปลอดภัย กลมุ่ อสม. กลมุ่ สตรี และกลุม่ ผูส้ งู อายุทัง้ ๑๓ หมบู่ า้ น กองทนุ สวัสดกิ ารชมุ ชน และร้านคา้ คณุ ธรรม ๕) ทุนระดับต�าบล เช่น อสม.เชิงรุก กองทุน สปสช. และ อปพร.ซ๊ะปะอย่าง สร้าง ความปลอดภัย ๖) ทุนระดับเครือขา่ ย ประกอบด้วย ต้นกล้าแผ่นดิน เยาวชนอาสารณรงค์ขับเคล่ือน การงดเหลา้ ร่วมกับสภาเยาวชน ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ๑) เกิดกิจกรรมรณรงคผ์ า่ นประเพณี วัฒนธรรม วนั สา� คัญทางศาสนาหรอื กิจกรรมตา่ งๆ ในชุมชน ๒) ลดคา่ นิยมในการบรโิ ภคเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลใ์ นวดั งานบุญงานประเพณีตา่ งๆ เช่น งานศพ ๓) เกิดบคุ คลตน้ แบบ และเครอื ขา่ ยอาสาสมคั ร เพ่อื สง่ เสรมิ การลด ละ เลิก การบรโิ ภค เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ๔) ประชาชนประพฤตติ นตามหมบู่ า้ นศลี ๕ และขยายไปยงั หมบู่ า้ นอ่นื ตา� บลอ่นื ในจงั หวดั พะเยา และสง่ ผลให้อุบัติเหตุทางทอ้ งถนนนัน้ ลดลงเป็นจ�านวนมาก โดยเฉพาะช่วงเทศกาลตา่ งๆ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั การเปิดโอกาสให้ทุกภาคสว่ นในพ้ืนทีม่ สี ว่ นร่วมในการพฒั นา รณรงค์ และสร้างแนวทาง ในการขับเคล่ือนทีส่ อดคลอ้ งกับบริบทและสถานการณใ์ นพ้ืนที่ สะทอ้ นให้เห็นความสามัคคีของ ประชาชน จนอบุ ัติเหตุและปรมิ าณการด่มื แอลกอฮอลใ์ นพ้ืนทลี่ ดลง ๓๖ | ปบผะหญา ลา นนาสรา งสุขภาวะ
๓๗ปบ ผะหญา ลา นนาสรา งสขุ ภาวะ |
๓ ประเด็นการพัฒนาระบบ อาหารชุมชน
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ท่ี แพทย์แผนไทยสมุนไพรพ้ืนบ้าน บ้านหนองอ้อ พื้นท่ี: เทศบาลตําบลเวียงพร้าว อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม วิทยากร: นางคําปน คํามาเรือน ตําแหนง: เจ้าของศูนยการเรียนรู้ เบอรโทรศัพท: ๐๘๐-๗๖๙-๒๗๐๓ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพนื้ ท่ี เทศบาลต�าบลเวียงพร้าวมีขอ้ มูลประชากรที่มีภาวะเจ็บป่ วย ดังนี้ เบาหวาน ๑๔๓ คน ความดันโลหิตสูง ๓๗๕ คน ไตวาย ๑๐ คน โรคหัวใจ ๓๑ คน โรคมะเร็ง ๑๓ คน ปวดขอ้ ขอ้ เส่อื ม ๑๕๓ คน และพกิ ารทางการเคล่อื นไหว ๓ คน ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง แพทย์วินิจฉัยว่า นางค�าปั น ค�ามาเรือน เป็นโรคเบาหวาน นอกจากรับการรักษาที่ โรงพยาบาลพร้าว นางค�าปั นยังน�าความรู้ด้านสมุนไพรที่มีมาปรับใช้ในชีวิตประจ�าวัน และปรับ เปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค กระทงั่ ๖ เดือนตอ่ มา เม่อื เขา้ รบั การเจาะเลอื ดอกี ครงั้ พบวา่ ระดับ นา ตาลอยูใ่ นเกณฑป์ กติ แพทยจ์ งึ งดการให้ยา และแนะนา� ให้ปฏิบตั ติ นเช่นเดมิ ทุกวันนี้ นางค�าปั นยังคงรักษาระดับนาตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ โดยปลูก สมนุ ไพรในบรเิ วณบา้ นไวป้ ระมาณ ๑๐๘ ชนดิ และแบง่ ปั นความรู้ดา้ นสมุนไพรแกค่ นทัว่ ไป ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือรกั ษาสขุ ภาพดว้ ยพชื ผักสมนุ ไพรพ้นื บา้ น ๔๐ | ปบผะหญา ลา นนาสรางสขุ ภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน นางคา� ปั นศกึ ษาสรรพคณุ ของพชื สมนุ ไพรพ้นื บา้ นเร่อื ยมา เกบ็ รวบรวมองคค์ วามรทู้ งั้ จาก ปราชญใ์ นชมุ ชน หนว่ ยงานตา่ งๆ เช่น โรงพยาบาลพรา้ ว รพ.สต.ทงุ่ หลวง และสา� นกั งานสาธารณสขุ อ�าเภอพร้าว พร้อมกับใช้พ้นื ทบี่ า้ นปลูกสมุนไพรถึง ๑๐๘ ชนิด ไวใ้ ช้ในชีวติ ประจา� วนั โดยคิดคน้ การปลกู สมุนไพรในกระสอบ รวมถงึ เชิญชวนเพ่อื นในชมุ ชนให้ปลกู สมนุ ไพร เพ่ือน�ามาท�านา มนั นวดคลายกลา้ มเน้ือ และลกู ประคบสมนุ ไพร จา� หนา่ ยให้ศาลาอโรคยา (เรือนนวดแผนไทยของ รพ.สต.ทุง่ หลวง) และผสู้ นใจ ทัง้ ยงั ใช้สมุนไพรดูแลหญงิ หลังคลอดดว้ ย นอกจากนี้ นางค�าปั นยังเป็นแกนน�าโครงการเกย่ี วกับการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น โครงการสวนสมุนไพร “คร่ึงไร่ ไดส้ ุขภาพดวี ิถไี ทย” โครงการกิน๋ ป๋ าห้อื นกั กิน๋ ผักเป๋ นยา โครงการ อ้ยุ สอนหลานผักบฟุ เฟ่ ต์ ๒๐ บาท เป็นตน้ ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๑) นางคา� ปั น คา� มาเรอื น ปราชญช์ าวบา้ นทีใ่ ห้ความรู้ดา้ นสมุนไพร ๒) ศาลาอโรคยา รับซ้อื ลูกประคบ เพ่อื น�าไปให้บรกิ าร ๓) โรงพยาบาลพร้าว รับซ้อื ลูกประคบ เพ่อื น�าไปให้บริการ ๔) เทศบาลต�าบลเวยี งพร้าว จัดกิจกรรมเพมิ่ ความรู้และทกั ษะการใช้สมุนไพร ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ชาวบา้ นในเขตเทศบาลต�าบลเวียงพร้าวเริ่มปลูกพืชผัก สมุนไพรพ้ืนบา้ น เช่น ตะไคร้ กะเพรา มะรมุ เสลดพงั พอน อัญชัน ขมนิ้ ขา่ ไพล ฯลฯ ในบริเวณบา้ นของตนเอง เพ่อื ใช้ประกอบ อาหาร และเป็นสมุนไพรใกลต้ ัว บรรเทาอาการความดนั เบาหวาน การปลกู สมนุ ไพรยงั ช่วยให้ชาวบา้ นในพ้นื ทลี่ ดรายจา่ ยเพมิ่ รายได้ หลายคนปลกู สมนุ ไพร มาส่งให้นางค�าปั นใช้ผลิตนามันนวด ลูกประคบ เพ่ือส่งต่อให้ศาลาอโรคยา โรงพยาบาลพร้าว และจ�าหนา่ ยให้แกบ่ คุ คลทวั่ ไป ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั นางค�าปั น ค�ามาเรือน ปราชญช์ าวบ้านที่สัง่ สมความรู้จากบรรพบุรุษ และหมัน่ ศึกษา หาความรู้เพิ่มเติมเร่ือยมา จนได้รับการยอมรับจากคนในพ้ืนที่ เป็นแกนน�าในการท�าโครงการ ตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วกับสมุนไพรและการดูแลสขุ ภาพในชุมชน ๔๑ปบผะหญา ลา นนาสรางสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพนื้ ที่ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตรตําบลท่าผาปุม พน้ื ท:่ี องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลทา ผาปมุ อาํ เภอแมล านอ้ ย จงั หวดั แมฮ อ งสอน วิทยากร: นายวัชระ ชมพูปอ ตําแหนง: นักวางผังเมืองผังชุมชน เบอรโทรศัพท: ๐๘๗-๑๙๓-๓๕๑๘ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพนื้ ท่ี จากขอ้ มูล TCNAP ต�าบลท่าผาป้ ุมมีประชากรทัง้ หมด ๓,๒๕๑ คน เป็นคนวัยท�างาน จา� นวน ๒,๒๙๕ คน โดยมงี านทา� ๒,๑๕๒ คน วา่ งงาน ๑๔๓ คน สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกร คือ ท�านา ๖๕๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๕๘ ของประชากรทีม่ ีงานท�า รับจ้างทัว่ ไป ๓๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๘๒ และท�าไร่ (ถัว่ เหลือง ถัง่ ลสิ ง กระเทียม) ๒๘๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๓.๓๔ นอกจากนี้ สว่ นใหญย่ งั มอี าชีพเสรมิ เช่น ทอผา้ จกั สาน และเลยี้ งสัตว์ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ปี ๒๕๔๖ กรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�าบลท่าผาป้ ุม จัดตั้ง ศูนยบ์ ริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจ�าต�าบลท่าผาป้ ุมข้ึน เพ่ือถ่ายทอดความรู้ ด้านการเกษตร และส่งเสริมอาชีพ ภายในศูนยด์ �าเนินกิจกรรมหลายอยา่ ง เช่น การเลี้ยงไกไ่ ข่ ไกก่ ระดูกด�า ปลา แพะ การเลีย้ งและขยายพันธุห์ มหู ลมุ การท�ากอ้ นเช้อื เห็ดและเพาะเห็ดนางฟ้ า การเพาะและขยายพนั ธพุ์ ชื การปลกู ผกั ปลอดสารพษิ กาแฟ หมาก และตน้ เนยี ง เป็นศนู ยร์ วมของ งานพัฒนาทีน่ �ามาสู่การจัดการตนเองของต�าบลในด้านเศรษฐกิจ ตัง้ แตร่ ะดับครัวเรือน หมูบ่ า้ น และชุมชน ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรต�าบลท่าผาป้ ุมเป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ หรือ พ้ืนที่ต้นแบบ ที่ช่วยพัฒนาศักยภาพเกษตรกร ส่งเสริมอาชีพ ตลอดจนเป็นศูนยก์ ลางประสาน ความร่วมมือจากหนว่ ยงานภาครฐั ๔๒ | ปบผะหญา ลา นนาสรางสุขภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรตา� บลทา่ ผาป้มุ เป็นศนู ยก์ ลางใหค้ วามรดู้ า้ นการเกษตร แกเ่ กษตรกรทีป่ ระสบปั ญหา กรณีทปี่ ั ญหานนั้ เกินกวา่ ศกั ยภาพของศนู ย์ จะประสานความร่วมมอื กับหนว่ ยงานภาครัฐ เช่น สา� นักงานเกษตรอา� เภอแมล่ านอ้ ย สา� นกั งานปศสุ ตั วอ์ �าเภอแมล่ านอ้ ย ภายในศนู ยฯ์ มีพ้ืนทีต่ น้ แบบ เช่น การปลกู มะนาวในวงซเี มนต์ เพาะกลา้ ตน้ สัก เพ่อื ขยาย สูช่ มุ ชน นอกจากนยี้ ังเป็นจุดถ่ายทอดศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล สา� หรบั เกษตรกรที่ อาศยั อยูบ่ นพ้ืนทีส่ งู ดา้ นปศุสตั ว์ ในศูนยฯ์ มกี ารเลยี้ งไกไ่ ข่ ไกก่ ระดกู ดา� ปลา แพะ การเลยี้ งและขยายพันธุ์ หมูหลุม การทา� กอ้ นเช้ือเหด็ และเพาะเห็ดนางฟ้ า การเพาะและขยายพนั ธุพ์ ืช การปลูกผักปลอด สารพษิ กาแฟ หมาก และตน้ เนยี ง สา� หรบั รปู แบบการทา� งานของศนู ยฯ์ เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน มคี ณะกรรมการทมี่ าจาก ๔ องคก์ รหลกั คอื ทอ้ งถนิ่ (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตา� บลทา่ ผาป้มุ ) ทอ้ งที่ (กา� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น) องคก์ ร ภาคประชาชน (แกนน�ากลุ่ม/แหล่งปฏิบัติการ) หนว่ ยงานภาครัฐ (รพ.สต. โรงเรียน) ร่วมคิด ร่วมตัดสนิ ใจ และร่วมรบั ผลประโยชน์ ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง คณะกรรมการศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรตา� บลทา่ ผาป้ ุม และ ๔ องคก์ รหลัก คือ ทอ้ งถิน่ ทอ้ งที่ หนว่ ยงานภาครัฐ และภาคประชาชน บูรณาการงานกับส�านักงานปศุสัตว์อ�าเภอ แมล่ านอ้ ย สา� นกั งานเกษตรอ�าเภอแมล่ านอ้ ย ๗. ผลการดา� เนนิ งาน ประชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มคดิ รว่ มทา� พฒั นาทดี่ นิ ทา� กนิ บนฐานของความยงั่ ยนื มสี ขุ ภาวะ ทีด่ ี จากแนวทางขับเคล่ือนท�าให้ศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรต�าบลทา่ ผาป้ ุมไดร้ ับรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ ๑ การประกวดศูนยบ์ ริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรดีเด่น ในปี ๒๕๕๐ จากจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ตอ่ มาปี ๒๕๕๑ ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ อนั ดับ ๑ การประกวดศูนย์ บรกิ ารและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรดีเดน่ จากจงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ปี ๒๕๕๒ ไดร้ ับรางวัล รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ การประกวดศนู ยบ์ รกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรดเี ดน่ จากจงั หวดั แมฮ่ ่องสอน และปี ๒๕๕๓ ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศ อนั ดับ ๑ การประกวดศนู ยบ์ ริการและถ่ายทอด เทคโนโลยกี ารเกษตรดีเดน่ จากจังหวัดแมฮ่ ่องสอน ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั กระบวนการมีส่วนร่วมจาก ๔ องคก์ รหลัก และหนว่ ยงานที่พร้อมหนุนเสริม เกิดเป็น เครือขา่ ยทเี่ ขม้ แข็ง ๔๓ปบผะหญา ลานนาสรางสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ท่ี ศูนย์เรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจําตําบลปาสัก พ้ืนที่: องคการบริหารสวนตําบลปาสัก อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา วิทยากร: นายสมศักด์ิ ปญจุรี ตําแหนง: วิทยากรแหลงเรียนรู้ เบอรโทรศัพท: ๐๘๗-๐๒๕-๐๒๐๑ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพน้ื ท่ี ต�าบลป่ าสัก อ�าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีพ้ืนที่ประมาณ ๒๙ ตารางกิโลเมตร แบ่ง การปกครองออกเป็น ๑๐ หมบู่ า้ น มคี รวั เรือนจ�านวน ๑,๒๔๑ ครวั เรือน ประชากรรวม ๓,๙๔๒ คน แยกเป็นชาย ๑,๙๕๑ คน หญิง ๑,๙๙๑ คน สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกร ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง นายสมศักดิ์ ปั ญจุรี เกษตรกรวัย ๔๐ ปี อาศัยอยูท่ ี่หมูท่ ี่ ๔ ต�าบลป่ าสัก มีแนวคิดจะ พัฒนาการเกษตรแบบดัง้ เดิมให้มีความร่วมสมัย โดยอาศัยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการสร้างอาหารที่ปลอดภัย ถือคติว่า ปลูกอยา่ งไรกินอยา่ งนั้น เหลือจึงขาย ใช้ชีวิตแบบ พอเพียงไมม่ หี นสี้ ิน ๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ สร้างรายได้ ลดรายจ่าย ให้ตนเองและครอบครวั ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน ๔๔ | ปบผะหญา ลานนาสรางสุขภาวะ
๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน แบ่งพ้ืนที่ออกเป็น ๖ ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ ๑ ขุดสระ เพ่ือเก็บนาและเลี้ยงปลา ส่วนที่ ๒ ปลกู ไมผ้ ลยืนตน้ สว่ นที่ ๓ ปลูกบา้ นเป็นทอี่ ยอู่ าศัย สว่ นที่ ๔ สร้างสถานทเี่ ลีย้ งกระบือ สว่ นที่ ๕ ปลกู หญา้ เนเปียร์ สา� หรบั เป็นอาหารใหก้ ระบอื สว่ นที่ ๖ ปลกู พชื ผกั สวนครวั และนาขา้ ว นอกจากนี้ ยังใช้มูลกระบือมาท�าแกส๊ ชีวภาพ ต่อเข้าสู่ครัว เป็นเช้ือเพลิงส�าหรับท�าอาหาร ขณะเดียวกัน เศษอาหารจากในครัว และกากจากบอ่ แกส๊ กน็ �ามาใช้เลยี้ งสตั ว์ และท�าป๋ ยุ เม่อื ทา� ไดแ้ ลว้ จึงเรมิ่ แบง่ ปั นองคค์ วามรู้ โดยเป็นวิทยากรให้กบั ผูท้ ีส่ นใจ รวมถงึ เดก็ และ เยาวชนทีอ่ ยากศกึ ษาหาความรู้ ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๑) ทุนทางสงั คมทีด่ า� เนนิ การหลกั คอื นายสมศกั ดิ์ ปั ญจุรี ซ่ึงด�าเนินงานดา้ นการเกษตร อยา่ งตอ่ เน่ือง ๒) ทุนทางสังคมทดี่ า� เนินการหนุนเสรมิ ประกอบดว้ ย ๑) มูลนิธศิ ุภนิมติ แห่งประเทศไทย สนบั สนุนกระบือพันธไุ์ ทยพ้ืนเมอื งเพศเมยี ๒ ตวั ๒) ส�านักงานเกษตรอ�าเภอภูซาง ให้ความรู้การท�าแกส๊ ชีวภาพ เพ่ือใช้เป็นพลังงาน ทดแทน ๓) สา� นกั งานปศสุ ัตวอ์ �าเภอภซู าง ให้ความร้กู ารดูแลกระบอื ๗. ผลการดา� เนนิ งาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย ให้กับตนเองและครอบครัว ลดการสร้างมลพิษด้วยการไมใ่ ช้ สารเคมีในการเกษตร ครอบครัวมีอาหารที่ปลอดภัย มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และคนในชุมชน ไวว้ างใจเลอื กซ้อื ผักของเกษตรอินดี้ ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั นายสมศักดิ์ ปั ญจุรี เป็นผูท้ ีม่ ีความตัง้ ใจและมงุ่ มัน่ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง สร้าง อาหารที่ปลอดภัย โดยศึกษาค้นคว้า แล้วทดลองปรับใช้ในพ้ืนที่ และยังแสวงหาความรู้ใหม่ อยูเ่ สมอ ๔๕ปบ ผะหญา ลา นนาสรา งสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ท่ี ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรตําบลแม่สูน พ้ืนที่: องคการบริหารสวนตําบลแมสูน อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม วิทยากร: นายสุขใจ องอาจ ตําแหนง: เจ้าหน้าท่ีประจําศูนย เบอรโทรศัพท: ๐๘๕-๗๑๔-๑๗๗๐ ๒. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของพนื้ ท่ี พ้นื ทอี่ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตา� บลแมส่ นู มปี ระชากรทงั้ หมด ๑๔,๗๑๕ คน เป็นชาย ๗,๓๓๔ คน หรือร้อยละ ๔๙.๘๔ เป็นหญิง ๗,๓๘๑ คน หรอื ร้อยละ ๕๐.๑๖ ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบ อาชพี เกษตรกร โดยมคี รวั เรอื นทที่ า� เกษตรกรรมยงั่ ยนื รอ้ ยละ ๕ ครวั เรอื นเกษตรกรทใี่ ช้ป๋ ยุ อนิ ทรยี ์ ในการเพาะปลกู โดยไมใ่ ช้ป๋ ยุ เคมี ร้อยละ ๑ ครัวเรือนเกษตรกรทีใ่ ช้ป๋ ยุ อนิ ทรียเ์ คมี ร้อยละ ๑๙ ครวั เรอื นเกษตรกรทีใ่ ช้ป๋ ุยเคมี ร้อยละ ๘๐ ครัวเรอื นทีม่ ีการปลกู พชื คลมุ ดินหรอื บ�ารุงดิน ร้อยละ ๒๐ และมที ีด่ นิ ทีถ่ กู ท�าให้เส่อื มโทรม เทียบกับทดี่ ินทัง้ หมด ร้อยละ ๘๐ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ปี ๒๕๕๑ อบต.แม่สูน ได้รับการถ่ายโอนภารกิจศูนยบ์ ริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตรประจ�าต�าบล ตามหลักการศูนยเ์ ป็นของชุมชน ควรบริหารจัดการโดยชุมชน อบต. แมส่ นู จงึ จดั ตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารศูนยฯ์ ข้นึ ปี ๒๕๕๕ คณะกรรมการเล็งเห็นปั ญหาการใช้สารเคมี ยาฆา่ แมลง ซ่ึงส่งผลตอ่ สุขภาพ และสิง่ แวดลอ้ ม จงึ เรมิ่ ขับเคล่อื นเกษตรปลอดสารพษิ ปี ๒๕๕๖ คณะกรรมการจัดตงั้ ศนู ยเ์ รียนร้พู ่ึงพาตวั เองดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม พลงั งานทดแทน และการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ปี ๒๕๕๗ จนถึงปั จจุบัน เริ่มเข้าร่วมกับศูนย์สนับสนุนวิชาการการขับเคล่ือนด้าน การเกษตรเพ่ืออาหารปลอดภัย และได้รับงบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท จึงน�ามาจัดกิจกรรม ฐานเรยี นรู้ภายในศูนยฯ์ ๔๖ | ปบผะหญา ลา นนาสรางสุขภาวะ
๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ศนู ยบ์ รกิ ารและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรตา� บลแมส่ นู เป็นศนู ยร์ วมองคค์ วามรู้ หรอื พ้นื ทตี่ น้ แบบ ทชี่ ่วยพฒั นาศกั ยภาพเกษตรกร สง่ เสรมิ อาชพี ให้สามารถพง่ึ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ตลอดจนเป็นศนู ยก์ ลางประสานความร่วมมอื จากหนว่ ยงานภาครฐั ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ศนู ยฯ์ จัดท�าฐานเรียนรู้ตา่ งๆ เพ่อื ตอบปั ญหาทีพ่ บเจอในพ้นื ที่ ดงั นี้ ๑) ฐานการทา� นาและเลีย้ งสัตว์ โดยสาธติ การปลูกขา้ วไร่ พ้ืนที่ ๒๓๒ ตารางเมตร (ไดข้ า้ ว ประมาณ ๒ กระสอบ) และขดุ ร่องนาเพ่อื เลีย้ งปลาดุกในนาขา้ ว ๒) ปี ๒๕๕๗ สร้างโรงเรือนเลีย้ งไก่ ขนาด ๓x๘ เมตร เลีย้ งไกไ่ ข่ และไกป่ ระดหู่ างดา� ภายในโรงเรือนมีตูฟ้ ั กไข่ สามารถฟั กไขไ่ ด้ ๓๑๑ ฟอง จึงมีเกษตรกรน�าไขเ่ ป็ด ไขไ่ ก่ มาฝากฟั ก ทัง้ ยงั มกี ารทา� บัญชีรายรบั รายจ่ายในการเลยี้ งไก่ เพ่อื ให้เกษตรกรไดเ้ รยี นรู้ ๓) ปลกู ผักปลอดสารพษิ โดยใช้นา หมกั ชวี ภาพ น�าเศษอาหารจากตลาดหนองยาว ร้าน อาหาร งานเลีย้ ง งานศพ หรือร้านขายอาหารในโรงเรยี น ทีม่ คี วามประสงคใ์ ห้ทาง อบต.แมส่ นู เขา้ ไปเกบ็ เศษอาหาร เพ่อื ทา� นาหมักชวี ภาพชนดิ ตา่ งๆ โดยใช้สารเร่ง พด.๑ พด.๖ และ พด.๒ ๔) ทา� ป๋ ยุ หมกั เน่อื งจากพ้นื ทปี่ ระสบปั ญหามลพษิ ทางอากาศจากการเผาป่ า เผาเศษใบไม้ กิ่งไม้ จึงน�าเศษใบไมก้ ิ่งไมม้ าท�าป๋ ุยหมักสูตรวิศวกรรมแมโ่ จ้ ๑ และแจกป๋ ุยหมักให้เกษตรกร ทีส่ นใจทดลองใช้ในทีท่ �ากนิ ๕) ทา� นา สม้ ควันไมจ้ ากเตาอิวาเตะ เพ่อื ใช้ไลแ่ มลง ๖) สง่ เสรมิ กลุม่ อาชีพ เช่น กลุม่ ผเู้ ลีย้ งหมชู ีวภาพตา� บลแมส่ ูน ทีเ่ ลีย้ งและจ�าหนา่ ยภายใน ชมุ ชน ชา� แหละในโรงฆา่ สัตวท์ มี่ ีกรมปศสุ ัตวร์ ับรองคณุ ภาพ ๗) ตงั้ กาดชมุ ชนตา� บลแมส่ ูนข้ึน เพ่ือให้เกษตรกรภายในตา� บลนา� พืชผักปลอดสารพิษมา จา� หนา่ ยทุกบา่ ยวนั ศุกร์ ๘) ปลูกตน้ ไมก้ นิ ได้ และพชื สมุนไพร ในพ้ืนทีส่ าธารณะของแตล่ ะหมบู่ า้ นทงั้ ๑๗ หมูบ่ า้ น เช่น ตน้ เสีย้ วสม้ ตน้ มะลิ ตน้ แค เพ่อื ให้ประชาชนไดเ้ กบ็ ใช้ประโยชน์ ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๑) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตา� บลแมส่ นู ๒) คณะกรรมการศนู ยบ์ รกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยี การเกษตร ๓) หนว่ ยงานภาครัฐ ๗. ผลการดา� เนนิ งาน การดา� เนนิ งานของศนู ยบ์ รกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรสามารถแกไ้ ขปั ญหาของ เกษตรกรในพ้ืนที่ สามารถให้คา� ปรกึ ษาเร่อื งการทา� เกษตร สง่ เสรมิ อาชพี และตดิ ตอ่ ประสานงาน หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทส่ี า� คญั คณะกรรมการศนู ยบ์ รกิ ารและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรตา� บลแมส่ นู สามารถทา� งาน ร่วมกับ ๔ องคก์ รหลกั ในพ้นื ทไี่ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๔๗ปบผะหญา ลา นนาสรางสุขภาวะ |
๑. ชอ่ื รปู ธรรมพน้ื ท่ี ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงประจําตําบลปาสัก พ้ืนท่ี: องคการบริหารสวนตําบลปาสัก อําเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย วิทยากร: นายวงค สุประการ ตําแหนง: รองนายกองคการบริหารสวนตําบลปาสัก เบอรโทรศัพท: ๐๘๕-๐๔๕-๐๐๐๙ ๒. ขอ้ มลู พนื้ ฐานของพนื้ ท่ี ชนกลมุ่ แรกของตา� บลป่ าสกั อพยพมาจากจงั หวดั ลา� พนู และจงั หวดั เชยี งใหม่ เป็นพอ่ คา้ ววั ต่างที่น�าสินค้าข้ึนไปขายยังหัวเมืองสิบสองปั นนา และตั้งถิ่นฐานอยูบ่ ริเวณบ้านป่ าแดด เม่ือปี ๒๓๔๔ จนในปี ๒๔๗๐ กระทรวงมหาดไทยประกาศจดั ตงั้ ตา� บลช่อื ตา� บลป่ าสกั เน่อื งจากบรเิ วณนี้ มีตน้ สักอยูห่ นาแนน่ ตา� บลป่ าสกั ข้ึนตรงกบั กิง่ อ�าเภอเชยี งแสน ตอ่ มาในปี ๒๕๒๒ ไดเ้ ปลยี่ นช่ือ เป็นต�าบลปางหมอปวง และในปี ๒๕๒๓ เปลีย่ นช่ือกลับเป็นตา� บลป่ าสัก และใช้มาถงึ ปั จจบุ นั ส�าหรับรูปแบบการปกครอง เป็นสภาต�าบลในช่วงปี ๒๕๓๗-๒๕๓๘ และได้รับการ ยกฐานะเป็นองคก์ ารบริหารสว่ นต�าบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเม่อื ๒๙ มีนาคม ๒๕๓๙ ๓. ทม่ี า ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง แต่เดิมนัน้ สถานที่ของศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจ�าต�าบลมีความคับแคบ ไมส่ ามารถตัง้ เป็นจุดสาธิตและฝึกอบรมประชาชนได้อยา่ งเต็มที่ ทางองคก์ ารบริหารส่วนต�าบล ป่ าสักจึงขอใช้พ้ืนทีส่ าธารณะหนองบัวหลวง จ�านวน ๔ ไร่ เพ่ือปรับเป็นศูนยก์ ลางการถ่ายทอด สาธติ และฝึกอบรมให้เกษตรกรต�าบลป่ าสัก ในเร่อื งการท�าเกษตรปลอดภยั ภายใตห้ ลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีปราชญช์ ุมชนเป็นวิทยากรฝึกอบรมและสาธิตการท�าเกษตรแบบ ปลอดสารพิษ รวมถึงสง่ เสริมให้เกษตรกรทีไ่ มม่ ีพ้ืนทีท่ า� กิน มาใช้พ้นื ทีข่ องศูนยฯ์ เพ่ือปลูกพืชผกั สวนครัว ส�าหรบั บริโภคในครวั เรอื น ๔๘ | ปบผะหญา ลานนาสรางสุขภาวะ
๔. เปา หมาย วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ถ่ายทอดองคค์ วามร้ดู า้ นการเกษตรให้แกป่ ระชาชนในพ้ืนที่ เนน้ การลดตน้ ทนุ การทา� เกษตร ส่งเสริมให้เกษตรกรเลิกใช้สารเคมี ด�าเนินชีวิตตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพ่อื สร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ๕. วธิ กี ารดา� เนนิ งาน ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ทาง อบต.ป่ าสักขออนุญาตใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์บ้าน สนั มะเค็ด หมูท่ ี่ ๙ เน้อื ทปี่ ระมาณ ๔ ไร่ โดยปรับพ้ืนทแี่ ละกอ่ สร้างศูนยเ์ รยี นร้ตู ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงประจ�าต�าบลป่ าสกั ภายในศูนยเ์ รยี นรู้ ประกอบดว้ ย ๑) โรงเรือนเลีย้ งไกพ่ ันธุพ์ ้นื เมือง โดยนา� พอ่ พันธุแ์ ละแมพ่ นั ธมุ์ าทดลองเพาะเลีย้ ง ๒) โรงเรอื นเลีย้ งหมหู ลุม ๑ หลงั ๓) โรงเรือนสาธิตวิธีทา� ป๋ ยุ หมักจากเศษอาหาร ๔) แปลงสาธติ ปลกู มะนาวแป้ นโดยใช้บอ่ ซีเมนต์ ๕) แปลงสาธติ ปลกู พชื สมนุ ไพรพ้นื บา้ น ๖) กระชังสาธติ การเพาะเลยี้ งพันธุป์ ลานา จดื ๖. ทนุ ทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อบต.ป่ าสกั ผูน้ �าทอ้ งที่ วดั โรงเรยี น รพ.สต. เกษตรกรในต�าบลป่ าสัก ประชาชนในตา� บล ป่ าสกั กรมทรพั ยากรนา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ๗. ผลการดา� เนนิ งาน เกดิ การถา่ ยทอดภมู ปิ ั ญญาการทา� เกษตรปลอดภยั ของปราชญช์ มุ ชน รวมถงึ การแลกเปลยี่ น เรียนรู้ของกลุ่มเกษตรกรทีเ่ ขา้ มาใช้บริการของศูนยฯ์ ส่งผลให้เกิดองคค์ วามรู้ใหมๆ่ ในการท�า เกษตรของต�าบลป่ าสกั ชาวบา้ นสามารถลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ ทัง้ ยังไดร้ ับประทานผักทปี่ ลอด สารพิษ มีสขุ ภาพร่างกายทีแ่ ข็งแรง ๘. ปจั จยั เงอ่ื นไขทสี่ า� คญั การขยายองคค์ วามรดู้ า้ นการเกษตรสชู่ มุ ชน ประชาชนเรมิ่ เรยี นรู้ พ่งึ พาตนเอง ลดรายจา่ ย ทีไ่ มจ่ า� เป็น เช่น สารเคมที างการเกษตร ดว้ ยเกดิ ความตระหนักถึงอนั ตรายของสารเคมี ๔๙ปบ ผะหญา ลา นนาสรางสุขภาวะ |
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257