คมู่ อื การเพมิ่ ประสิทธภิ าพ และการลดตน้ ทุน การเลีย้ งปลานิล กองวิจัยและพฒั นาการเพาะเลี้ยงสตั ว์น้าจดื กรมประมง
คานา ปลานิล (Oreochromis niloticus) เป็นปลาน้าจืดท่มี ีความสา้ คัญทางเศรษฐกจิ ชนดิ หนึ่ง มีถน่ิ กา้ เนดิ แถบลมุ่ แม่น้าไนลใ์ นประเทศอียิปต์ และไดร้ ับความนยิ มในการบริโภค เป็นอย่างมากท้งั ในประเทศไทยและยังมคี วามต้องการของตลาดโลกสงู เนื่องจากมรี สชาติดี เนือ้ มสี ขี าว สามารถนา้ มาปรงุ อาหารไดห้ ลายรปู แบบ จึงทา้ ให้เปน็ ทีต่ ้องการของประชาชน เพิ่มมากข้ึน ในปี 2557 ประเทศไทย มผี ลผลติ ประมาณ 204,787 ตนั จากพน้ื ทเี่ พาะเลี้ยง 270,493 ไร่ แตป่ ญั หาท่ีพบในการเลยี้ งปลานิลเชิงพาณิชย์ คือ ปญั หาตน้ ทนุ การผลิตสงู ขดี ความสามารถในการแข่งขันกับตลาดโลกต้า่ ซ่ึงสาเหตสุ ว่ นใหญม่ าจากการจัดการการ เลี้ยงทไี่ มเ่ หมาะสมและการใชป้ ัจจยั ในการเล้ียงไม่เหมาะสม เอกสารฉบบั นจ้ี งึ น้าเสนอ แนวปฏบิ ัติการลดตน้ ทุนการผลติ ปลานลิ เพอื่ ให้เกษตรกรเลือกน้าไปใช้อย่างเหมาะสมกบั ศักยภาพของเกษตรกรอย่างมีประสิทธภิ าพต่อไป กรมประมง พ.ศ. 2559
สารบญั หนา้ 1 สายพนั ธ์ปุ ลานิลในประเทศไทย.............................................................. 3 ทาไมต้องลดต้นทุนการเล้ยี งปลานิล......................................................... 4 แนวปฏบิ ตั ิในการลดตน้ ทนุ การผลติ ปลานลิ ในกระชัง............................. 5 6 -กระชงั และการวางกระชงั ............................................................... 7 -ลกู พันธุ์ปลานลิ ................................................................................ 9 -อาหารและการให้อาหารปลานลิ ในกระชัง...................................... 9 แนวปฏบิ ตั ใิ นการลดต้นทนุ การผลิตปลานิลในบอ่ ดนิ เชงิ พาณชิ ย์............ 13 -การเตรยี มบ่อดิน............................................................................. 14 -ลูกพันธุป์ ลา.................................................................................... 15 -อาหารในการอนบุ าลลูกปลานิล 3 เดือนแรก................................. 16 -การเลีย้ งปลานิลในบอ่ ดิน............................................................... -อาหารและการให้อาหารปลานลิ ในบอ่ ดิน......................................
สารบญั (ต่อ) หน้า 17 -การเพม่ิ ประสิทธิภาพการเลี้ยง........................................................ 18 -เกร็ดความรู้ การใช้ปยุ๋ หมักในบ่อปลา............................................... 19 -การใช้จลุ ินทรีย์ในบ่อเล้ยี งสัตวน์ า้ ..................................................... 20 แนวทางการลดต้นทุนของปราชญ์ปลานิล............................................... 20 -แนวทางการลดต้นทนุ ของปราชญ์ปลานิลจังหวัดเชียงราย…........…. 23 -แนวทางการลดต้นทนุ ของปราชญป์ ลานิล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา…………………..................…………………...…. 25 -แนวทางการลดต้นทุนของปราชญป์ ลานิล จงั หวดั ชลบุรี……………………………………………….........................……… 26 -แนวทางการลดต้นทนุ ของปราชญ์ปลานิล จังหวดั กาญจนบุรี…........……..…......................................................... 27 -แนวทางการลดตน้ ทนุ ของปราชญ์ปลานลิ จงั หวัดปทุมธานแี ละ จังหวัดกาญจนบรุ ี……………………………………………......................……. 29 -แนวทางการลดตน้ ทนุ ของปราชญป์ ลานิลปัตตาน…ี …….…….........….
สายพันธป์ุ ลานิลในประเทศไทย ปลานิลพันธุจ์ ติ รลดา 1 ปลานิลสายพันธ์ุ จติ รลดา 1 เปน็ ปลานิลทป่ี รบั ปรุงพนั ธม์ุ าจากการคัดเลอื กสายพันธ์แุ บบภายใน ครอบครัว (within family selection) เร่ิมดาเนินการปรับปรงุ พนั ธ์ตุ ง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2528 ซ่งึ ทดสอบพนั ธ์ุ แล้วพบวา่ อตั ราการเจริญเตบิ โตดีกวา่ ปลานลิ พันธท์ุ ี่เกษตรกรเลี้ยง 22 % ลกั ษณะท่สี าคัญ มีการ เจรญิ เตบิ โตดี เลี้ยงงา่ ย ทนทาน และออกลูกงา่ ย (กองพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารประมง, 2553) ปลานลิ พนั ธ์ุจติ รลดา 2 ปลานลิ สายพนั ธุ์ จิตรลดา 2 ได้จากการปรับเปลยี่ นพันธุกรรมปลานิลสายพันธ์อุ ียิปต์ ให้พอ่ พนั ธ์มุ ี โครโมโซมเพศเปน็ “YY” เรียกวา่ “YY-male” หรือ Supermale เมือ่ นาไปผสมกับแมพ่ นั ธป์ุ กติ จะไดล้ ูกพันธป์ุ ลานลิ เป็นเพศผู้ทัง้ หมด มีลกั ษณะส่วนหัวเล็ก ลาตวั กวา้ ง สีขาวนวลเน้ือหนาและแน่น รสชาติดี อายุ 6-8 เดอื น สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ขนาด 2-3 ตวั ต่อกิโลกรมั ใหผ้ ลผลติ ต่อไร่ สงู กว่าปลา นลิ พนั ธ์ุทเ่ี กษตรกรเลีย้ ง 45% (กองพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารประมง, 2553) และเน่อื งจาก ปลานลิ สายพันธุ์นีต้ อ้ งใชเ้ ทคโนโลยขี ้ันสูงและยากตอ่ การเพาะพนั ธ์จุ ึงไม่นิยมนามาเล้ียง 1
สายพันธ์ปุ ลานิลในประเทศไทย ปลานลิ พันธุ์จติ รลดา 3 “ปลานลิ สายพนั ธุ์จิตรลดา 3” เป็นพันธป์ุ ลานิลท่ีได้รับการพัฒนาปรับปรงุ พันธสุ์ าเรจ็ ในปี 2550 โดยปรบั ปรุงจากปลานิลสายพนั ธ์ุ GIFT (Genetic Improvement of Farmed Tilapia) รนุ่ ที่ 5 ของหนว่ ยงาน International Center for Living Aquatic Resource Management (ICLARM) ประเทศฟิลิปปนิ ส์ (ซ่ึงมีสายพนั ธจุ์ ิตรลดาด้ังเดิมผสมอยูด่ ้วย) “ปลานิลสายพันธ์ุจติ รลดา 3” ผา่ น การปรบั ปรงุ พันธดุ์ ว้ ยวธิ ีการคัดเลือกแบบหมู่ (Mass Selection) เพ่อื ใหม้ ีการเจรญิ เตบิ โตดี มีอัตรา รอดและให้ผลผลิตสูง มลี กั ษณะเดน่ คือ หัวเล็ก ตวั หนา เนอ้ื แนน่ และมาก ปลานลิ พนั ธจ์ุ ติ รลดา 4 “ปลานิลสายพนั ธจ์ุ ติ รลดา 4” เปน็ พันธปุ์ ลานลิ ท่ีได้รับการพัฒนาปรบั ปรุงพนั ธสุ์ าเร็จในปี 2552 โดยปรับปรุงจากปลานิลสายพันธุ์ GIFT รุ่นที่ 9 จาก WorldFish Center ประเทศมาเลเซยี (ซ่ึงมสี าย พนั ธจุ์ ติ รลดาด้งั เดิมผสมอยู่เชน่ เดยี วกัน) “ปลานิลสายพันธ์จุ ิตรลดา 4” ผา่ นการปรับปรงุ พันธด์ุ ้วย วิธีการประเมินจากคา่ การผสมพันธุ์ (Estimated Breeding Value, EBV) ของนา้ หนกั เพ่อื ใหไ้ ด้ ผลผลติ สงู มลี กั ษณะเด่น คือ สว่ นหัวเลก็ ลาตัวกว้าง สันหนา 2
ทาไมตอ้ งลดต้นทุนการเล้ียงปลานลิ เนอ่ื งจาก ต้นทุนการผลติ สูงขน้ึ - ทาใหเ้ กษตรกรมกี าไรลดลง บางรายประสบปญั หาการขาดทนุ หรือไมส่ ามารถ ดาเนนิ กิจการตอ่ ไปได้ - เพื่อตอ้ งการลดต้นทนุ การผลิตลง เพ่ิมโอกาสในการแขง่ ขนั ในการสง่ ออกสู่ตลาด ตา่ งประเทศ - มกี ารนาเขา้ ปลานิลจากต่างประเทศเพ่ือแปรรูปส่งออกเพ่ิมขนึ้ เนอ่ื งจากราคาถูกกวา่ ในประเทศ ระบบการเลีย้ งปลานิลเชิงพาณิชย์ 1. การเลีย้ งปลานลิ ในบอ่ ดนิ 2. การเล้ยี งปลานลิ ในกระชงั 3
แนวปฏบิ ตั ิในการลดตน้ ทนุ การผลิตปลานลิ ในกระชงั กระชงั และการวางกระชัง แนวปฏบิ ัติ ผลที่ได้รบั 1. ขนาดกระชัง มหี ลายขนาดขึ้นกับทนุ กระชังยงิ่ ใหญ่ยงิ่ ตอ้ งลงทนุ มาก แตห่ าก ของเกษตรกรและโครงกระชังทีส่ รา้ ง สามารถเล้ยี งปลาได้อัตรารอดมากจะได้ เชน่ 5x5x2.5 เมตร, 3x6x2.5 เมตร ผลผลติ สูง 2. ขนาดช่องตาอวน ใช้ต้ังแต่ ½ น้วิ ขึ้นไป เพื่อให้นา้ ไหลถา่ ยเทผ่านกระชังและพดั พาเอา เมอ่ื ปลาโตขึน้ จะมีการเปลย่ี นขนาดตา ของเสียออกจากกระชงั ทาให้ปลาโตเรว็ อวนตามไปด้วย 3. วางกระชงั ในแหล่งน้าไหลหรอื แหล่งนา้ น้าทีม่ คี ณุ ภาพดีได้ไหลถา่ ยเทผ่านกระชัง และ ขนาดใหญท่ ี่มคี วามลึกไม่ตา่ กวา่ 3 เมตร ป้องกนั กระชงั อดุ ตันเรว็ ขึ้น ทาให้ปลาโตเรว็ 4. วางกระชังให้หา่ งกัน 2 - 3 เมตร และ เพอ่ื ใหน้ ้าไหลถา่ ยเทผ่านกระชงั ไดด้ ี และไม่อดุ วางซอ้ นกนั ไม่เกนิ 2 แถว ตนั งา่ ย สามารถลดตน้ ทุน 50 % ของคา่ จ้างแรงงาน เนอ่ื งจากลดการใชแ้ รงงานในการทาความ สะอาดกระชงั 5. ต้องหม่นั ทาความสะอาดกระชัง หรือ เพ่ือใหน้ ้าไหลถา่ ยเทผา่ นกระชงั ได้ดี เปล่ยี นกระชงั บอ่ ย ๆ 4
รปู แบบการสรา้ งกระชัง ตวั อย่างแผนผงั กระชัง การเลีย้ งปลานลิ การวางกระชังในแหลง่ น้าเปิด 5
ลกู พันธุป์ ลานิล แนวปฏบิ ัติ ผลที่ไดร้ ับ 1.ใช้ลกู พันธุ์ปลานิลท่ผี ่านการปรบั ปรงุ พันธุ์ ปลามลี กั ษณะหวั เลก็ ตวั กว้าง เน้ือหนา แล้ว ไดแ้ ก่ ปลานลิ จติ รลดา 3 และเปน็ ปลามีการเจริญเตบิ โตเร็ว ปลานิลแปลงเพศ ไดผ้ ลผลิตสูงกวา่ พนั ธ์ปุ ลานิลท่ัวไป 40 % มีอตั รารอดสงู กว่าปลานิลท่วั ไป 24 % 2. กรณที ี่แหล่งนา้ มีคุณภาพดี ไมม่ คี วาม ถา้ ปล่อยพันธุ์ปลาขนาด 25 กรมั สามารถลด เส่ียงตอ่ การเลยี้ งปลาเป็นเวลานานควร ตน้ ทนุ ลงได้ 13 % ของราคาคา่ พนั ธุ์ปลาต่อตัว ปลอ่ ยพันธุ์ปลาขนาด 25 กรัม กรณแี หล่งน้ามีความเส่ียงต่อการเลี้ยง ปลานลิ เปน็ เวลานาน ควรปล่อยปลานลิ ขนาด 40 - 60 กรมั 3. ปลอ่ ยปลาในอัตรา 15 - 20 ตวั ต่อ ปลาเจริญเตบิ โตเร็ว ลูกบาศก์เมตร ไดข้ นาดตวั ปลาสมา่ เสมอ สามารถจดั การการเล้ยี งได้ท่ัวถึง ลดตน้ ทุนค่าพนั ธ์ปุ ลาได้ประมาณ 50 % ของ ราคาพนั ธ์ปุ ลาต่อลกู บาศกเ์ มตร 6
อาหารและการใหอ้ าหารปลานิลในกระชัง แนวปฏิบัติ ผลท่ีไดร้ บั 1. ใหอ้ าหารปลานลิ โปรตีน 30 - 32 % สลบั ลดปรมิ าณการใชอ้ าหารโปรตนี 30 – 32 % มือ้ กบั การให้โปรตีน 25 - 28 % ในชว่ ง 3 ลงจากเดมิ ให้ตลอดระยะเวลาการเล้ียง เดือนสุดท้ายของการเลีย้ ง สาหรบั การ ลดตน้ ทนุ คา่ อาหารตอ่ กิโลกรมั ประมาณ ปล่อยลูกปลาขนาด 25 กรมั และให้ใน 5.18 % ของค่าอาหารท่ใี ห้โปรตีนสูงล้วน ระยะ 2 เดอื นสุดท้ายของการเล้ยี ง สาหรบั การปลอ่ ยลูกปลาขนาด 40 – 60 กรมั 2. ความถ่ีในการใหอ้ าหาร 2 - 3 ม้อื ตอ่ วัน การใหอ้ าหารปลานิลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพชว่ ย ลดการสูญเสียอาหารปลา 3. ใช้เวลาเลีย้ ง 3 - 4 เดอื น ใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงนานขึน้ ประมาณ 1 เดือน 7
อาหารปลานิลทผ่ี ลติ ขนึ้ ใช้เอง วธิ ีการให้อาหารปลานิลในกระชัง ฉลากแสดงวตั ถุดิบทสี่ าคญั และคุณค่าอาหารปลานิล 8
แนวปฏบิ ัติในการลดต้นทุนการผลิตปลานลิ ในบอ่ ดนิ การเตรียมบ่อดนิ แนวปฏบิ ัติ ผลที่ได้รับ 1. กรณีเปน็ บ่อใหม่ กาจดั วัชพชื และพรรณไม้ ช่วยให้เกดิ อาหารธรรมชาติในบอ่ น้าไปกองสมุ ทาเป็นป๋ยุ พืชสด ลดการใชป้ ุย๋ เคมี กรณีเปน็ บอ่ เก่า ต้องนาเลนออกนอกบอ่ หรอื ใชว้ ธิ ีไถพรวนดิน 2 - 3 คร้ัง ตากบอ่ แลว้ บด พืน้ บอ่ ใหแ้ นน่ 2. กาจัดศตั รปู ลานลิ ดว้ ยโลต่ น๊ิ สดหรือแหง้ 1 เปน็ การเพม่ิ อัตรารอดปลานลิ กิโลกรมั ตอ่ ปรมิ าณนา้ 100 ลกู บาศกเ์ มตร โดยทุบหรือบดโล่ติน๊ ให้ละเอยี ดนาลงแช่นา้ ประมาณ 1 - 2 ปี๊บ จนน้ายางสีขาวออกแล้ว นาไปสาดให้ ทัว่ บอ่ 9
วัชพชื ที่ข้นึ ในบ่อ สามารถทาเป็นปยุ๋ พชื สดได้ กรณีบอ่ เกา่ ควรไถพรวน ดนิ และอดั พนื้ บอ่ ให้แนน่ การกาจัดวชั พชื การกาจดั ศตั รูปลานลิ 10
การเตรยี มบ่อดนิ แนวปฏบิ ตั ิ ผลท่ีได้รบั 3. หวา่ นปูนขาวใหท้ ่ัวพื้นบอ่ และขอบบอ่ ใน ช่วยปรบั สภาพดนิ พ้นื บ่อใหเ้ หมาะสมต่อการ อัตรา 100 - 150 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ หลงั จากน้นั ให้ เล้ยี งปลานิลให้มีการเจริญเติบโตดี ตากบอ่ ประมาณ 3 - 7 วัน ช่วยลดการสญู เสยี ปลานิลจากเชอื้ โรคและ ก๊าซไขเ่ นา่ ซึ่งเปน็ พิษตอ่ สตั วน์ า้ ทพี่ ืน้ บอ่ 4. หว่านปุ๋ยมลู สตั วแ์ หง้ หรือผ่านการหมกั โดย เพิ่มอาหารธรรมชาติในบอ่ ระยะแรกของการ สมบรู ณ์ ในอัตรา 100 - 200 กิโลกรัมต่อไร่ เตรียมบ่อ หรือ อามิ-อามิ 100 - 150 ลติ รตอ่ ไร่ (การใช้ ตอ้ งระวัง เนอ่ื งจากขบวนการย่อยสลายอามิ- อามิ ดึงออกซิเจนละลายน้าเปน็ ปรมิ าณมาก) 5. กรองนา้ เขา้ บอ่ โดยผา่ นถุงกรองเบอร์ 26 หรือ เพมิ่ อัตรารอดปลานลิ ถก่ี ว่า ซ้อนกนั 2 ช้นั ปอ้ งกันศัตรลู ูกปลานลิ 6. เตรยี มบ่อทิง้ ไว้ประมาณ 1 สปั ดาห์ เพอ่ื เพิม่ ปรมิ าณอาหารธรรมชาติในบอ่ 11
การกาจัดศตั รูปลาทีค่ า้ งในบอ่ ตากบ่อทงิ้ ไว้ 3 – 7 วัน กรองนา้ เขา้ บ่อโดยผ่านถงุ กรองป้องกนั ศตั รลู ูกปลา เตรยี มบ่อท้ิงไวป้ ระมาณ 1 สปั ดาห์ 12
ลูกพันธปุ์ ลา แนวปฏิบตั ิ ผลทไ่ี ดร้ ับ 1. ใช้ลูกพันธุ์ปลานิลท่ผี ่านการปรับปรงุ พันธุ์ ปลามลี ักษณะหัวเลก็ ตัวกว้าง เนอ้ื หนา แล้วได้แก่ ปลานิลจติ รลดา 3 และเปน็ ปลามีการเจรญิ เติบโตเร็ว ปลานลิ แปลงเพศ ได้ผลผลติ สูงกวา่ พนั ธปุ์ ลานิลทวั่ ไป 40 % มีอตั รารอดสูงกวา่ ปลานิลทวั่ ไป 24 % 2. ปลอ่ ยลกู ปลานิลขนาด 2 - 3 ซม. ในอตั รา ปลาเจริญเตบิ โตเรว็ และมีขนาดสม่าเสมอ 2,500 - 4,000 ตวั ต่อไร่ อนุบาลประมาณ 3 เดอื น ซึง่ จากเดมิ ปลอ่ ยลูกปลา 10,000 ตวั ลดตน้ ทนุ ได้ 25 - 40 % ของค่าพันธป์ุ ลาท่ี ตอ่ ไร่ ปล่อย 10,000 ตัวต่อไร่ การให้อาหารลูกปลานลิ 13
อาหารในการอนุบาลลูกปลานิล 3 เดอื นแรก แนวปฏบิ ตั ิ ผลทีไ่ ดร้ ับ 1. สรา้ งอาหารธรรมชาตเิ ป็นหลกั โดยอาจจะใชฟ้ าง ลดตน้ ทุนในการสร้างอาหารธรรมชาตใิ น แหง้ , มูลสัตวแ์ ห้ง, มูลสัตว์หมัก, อามิ-อามิ บ่อเลยี้ งโดยการใช้ประโยชนจ์ ากปุ๋ยท่มี ีใน (กากเหลอื จากโรงงานผลิตผงชูรส) และป๋ยุ พชื สด ท้องถน่ิ เชน่ ฟางแห้ง มลู สัตว์แห้ง หรอื ปยุ๋ หมกั อัตรา 150 – 300 กโิ ลกรมั ต่อไร่ต่อ ลดต้นทุนค่าอาหารในการเลี้ยงปลานลิ เดอื น สาหรับช่วงอนุบาลลกู ปลานิลและในชว่ ง 3 เดือนแรก ควรรักษา สีนา้ ให้คงทเ่ี พอ่ื ให้มน่ั ใจว่ามี อาหารธรรมชาตอิ ย่เู สมอ 2. ชว่ ง 1 - 1.5 เดือนแรกของการอนุบาล ใหอ้ าหาร ลดคา่ อาหารไดป้ ระมาณ 60 % ของคา่ อาหารทใี่ ชใ้ นการอนุบาล เสรมิ เพิ่มเตมิ ได้แก่ ราละเอียด ชว่ ง 1.5 - 3 เดือนของการอนบุ าลใหอ้ าหารเม็ด สาเร็จรปู โปรตนี 30 % 14
การเลย้ี งปลานลิ ในบ่อดิน แนวปฏิบัติ ผลทไี่ ด้รบั หลงั จากอนุบาลได้ 3 เดอื น ลกู ปลาจะมี ปลานิลได้อยูใ่ นสภาวะแวดลอ้ มท่ดี ี ทาใหป้ ลา ขนาด 50 - 60 กรัมต่อตัว ดาเนินการย้าย เจรญิ เตบิ โตดี ปลาไปบ่ออ่ืนโดยปล่อยในอตั รา 1,200 ตัว ลดต้นทุนด้านการจัดการการเลยี้ ง ต่อไร่ ใชร้ ะยะเวลาเลย้ี งอีก 4 - 5 เดอื น สามารถลดตน้ ทุนลงได้ 70 % ของราคาพันธ์ุ ปลานลิ ทาให้ได้ปลาขนาดใหญ่ขน้ึ จาก 800 กรัม เป็น 1,000 กรัมต่อตวั ในระยะเวลาเล้ียงทเ่ี ท่ากัน 15
อาหารและการให้อาหารปลานิลในบอ่ ดนิ (เลย้ี งจากปลาขนาด 50 – 60 กรมั จนได้ขนาดจาหนา่ ยตลาด) แนวปฏิบัติ ผลที่ได้รับ มี 4 วธิ ี ในการลดต้นทนุ การเลี้ยง ดงั นี้ สามารถลดต้นทนุ อาหารลง 5 - 7 % วิธที ่ี 1 : การให้อาหารโปรตนี 30 % ของค่าอาหารปลาต่อวนั และใชเ้ วลา เลยี้ งประมาณ 3 - 4 เดอื น สลับม้ือกบั การให้อาหารโปรตีน 25 % วันละ 4 มื้อ สามารถลดตน้ ทุนอาหารลง 6.25 - 10 % ของคา่ อาหารปลาต่อม้ือ วธิ ีที่ 2 : การให้อาหารโปรตนี 25 % และใช้เวลาเลีย้ งประมาณ 4 - 5 เดือน ตลอดช่วงการเล้ียง ให้วนั ละ 3 - 4 ม้อื เนน้ ใชอ้ าหารธรรมชาตใิ นบ่อและรา วธิ ีที่ 3 : การให้ราอัดเมด็ เปน็ อาหาร ละเอยี ดอัดเมด็ สามารถลดตน้ ทุน โดยตลอดการเล้ียงจนจับขาย อาหารลง 58 % ของอาหารต่อกิโลกรัม แตใ่ ชเ้ วลาเล้ียงนาน 5 - 7 เดอื น วิธีท่ี 4 : การให้อาหารเม็ดสาเรจ็ รูป แบบแขวนในสวิง ลดการสูญเสยี อาหาร ลดการใชแ้ รงงาน 16
การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการเลี้ยง แนวปฏิบัติ ผลทไี่ ด้รับ 1. การเลยี้ งแบบผสมผสาน เพื่อเพิ่มผลผลิต ปลอ่ ยกุ้งขาวหรอื กุง้ กา้ มกรามเสรมิ ในบอ่ ลดของเสยี บริเวณกน้ บอ่ เล้ยี งปลานิล ลดการเนา่ เสยี ของพ้นื บอ่ 2. ใสจ่ ุลนิ ทรยี ์ ปม.1 หรือจุลนิ ทรยี ห์ มกั ปรบั สภาพนา้ และควบคุมคณุ ภาพนา้ ใน บ่อ ใหเ้ หมาะสม 17
เกร็ดความรู้ การใช้ป๋ ุยหมกั ในบ่อปลา การผลติ ปุ๋ยหมัก 1. นาเศษพชื เชน่ ฟางขา้ ว เศษหญา้ หรือผกั ตบชวา กองเปน็ ช้นั ร่วมกับปุ๋ยคอกและ จลุ นิ ทรีย์ เชน่ พด.1 กลับกองปุ๋ยหมัก 7 – 10 วันตอ่ ครงั้ เพื่อระบายอากาศ รดนา้ รักษา ความชน่ื ปุ๋ยหมกั พรอ้ มใชง้ านเมือ่ วัสดมุ ีสนี ้าตาลเข้มหรอื ดา กลิน่ คลา้ ยดินธรรมชาติ 2. ผลติ กองปุ๋ยหมักมมุ บ่อปลา โดยปักไม้กน้ั ไม่ใหก้ องปุ๋ยหมกั กระจาย กองต้นขา้ ว และวชั พชื กบั ปุ๋ยคอกแห้งเปน็ ช้ันๆ จากน้นั นาน้าเขา้ ประมาณ 30 เซนตเิ มตร พกั ไว้ 1 อาทติ ย์ เพ่ิมน้าอีกประมาณ 20 เซนติเมตร อัตราการใชป้ ุ๋ยหมกั กรณเี ป็นบอ่ ใหม่ใชป้ ๋ยุ หมักเตรยี มบ่อ อตั รา 300 – 600 กโิ ลกรัมต่อไร่ การสร้างอาหารธรรมชาตใิ นช่วง 1 – 3 เดอื นแรก ใช้ป๋ยุ หมักในอัตรา 150 – 300 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ต่อเดือน 18
การใชจ้ ลุ ินทรียใ์ นบ่อเล้ยี งสัตวน์ ้า ในการเล้ียงปลาแต่ละร่นุ วิธีบรหิ ารจดั การน้า คอื การหมนุ เวยี นน้าภายในฟาร์ม โดย ระหวา่ งการเลยี้ งจะมีการเตมิ น้าหมนุ เวียนกนั ในฟารม์ 10 – 20 % เดือนละ 1 - 2 คร้งั ใช้น้าหมกั จุลินทรยี ์ หรือ EM ประมาณ 30 - 50 ลติ รตอ่ 1 ไร่ สาดให้ท่ัวบอ่ อย่างนอ้ ยเดือนละ 2 ครง้ั เพือ่ ควบคมุ คณุ ภาพนา้ ในบอ่ เลีย้ งใหม้ ีคณุ ภาพที่เหมาะสมตอ่ การเจริญเตบิ โตของสตั วน์ ้า (กองวิจยั และพฒั นาประมงนา้ จืด, 2558) 19
การลดตน้ ทนุ ของปราชญป์ ลานิล (องคค์ วามรู้ปราชญ์ปลานลิ 2555) แนวทางการลดต้นทนุ ของปราชญ์ปลานิลจังหวดั เชียงราย ปี 2555 1) การทาน้าหมักมะขามปอ้ ม และมะขามเปยี กในการผสมอาหาร 1.1 น้ามะขามป้อม มะขามปอ้ มเปน็ ผลไม้ท่มี วี ิตามนิ ซสี งู หางา่ ยในทอ้ งถ่นิ และยงั มรี าคาถกู เม่ือนามา หมักแล้วนาไปผสมอาหารให้พ่อแม่พนั ธกุ์ ิน จะทาใหพ้ อ่ แม่พันธ์ุแขง็ แรงมภี ูมติ า้ นทานโรค มปี ริมาณไขม่ าก จากการสงั เกตของปราชญ์ ปลานลิ ดามีปริมาณไข่ประมาณ 2,300 ฟอง ต่อแม่ตอ่ รอบ ประโยชน์ คือไข่ปลาไมเ่ สียมาก ลูกท่ีไดม้ ีอัตราการรอดสงู และแข็งแรง นอกจากนี้ใน มะขามป้อมยงั มีสารแทนนิน มีผลในการยับย้งั การเจรญิ เติบโตของแบคทเี รียอีกดว้ ย ขั้นตอนการหมัก 1. นามะขามป้อมจานวน 10 กโิ ลกรัม มาลา้ งใหส้ ะอาด แล้วใส่ลงในถงั หมกั 2. เตมิ น้าเปลา่ 12 ลติ ร 3. ใส่น้าตาลทรายแดง 2 กิโลกรมั 4. คนจนน้าตาลละลายหมด ปิดฝาหมกั ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 3 - 6 เดือน จงึ นามาใช้ได้ 20
วิธกี ารใช้ 1. นาน้าหมกั ท่ีไดป้ ริมาณ 10 มิลลิลติ รตอ่ นา้ 1 ลติ ร คนใหเ้ ข้ากัน 2. นาไปคลุกเคล้ากบั อาหาร 10 กโิ ลกรัม ผ่ึงลมให้แหง้ ให้ปลากนิ ทกุ มื้อ น้าหมกั มะขามปอ้ ม ถังนา้ หมักมะขามปอ้ ม คลกุ เคลา้ ผสมกับอาหาร 21
1.2 นา้ หมกั มะขามเปยี ก มะขามเป็นผลไมท้ ี่มีวิตามนิ ซสี งู มีสรรพคุณเป็นยาระบาย เมอื่ นามาผสมใหป้ ลากนิ จะทาใหป้ ลามีระบบขับถ่ายท่ีดี เจริญอาหาร มีสขุ ภาพแขง็ แรง ขั้นตอนและวธิ กี ารใช้ นามะขามสุกทแี่ กะเอาเปลอื กและเมลด็ ออกแลว้ (มะขามเปยี ก) จานวน 200 กรัม นามาขยากบั นา้ เปล่า 1 ลิตร เมื่อได้น้ามะขามเปียกแลว้ นาไปผสมกบั อาหาร 10 กิโลกรมั นาไปผ่งึ ลมใหแ้ ห้ง แลว้ จึงนาให้ปลากนิ ประโยชน์ คือ จะทาใหป้ ลามีระบบขบั ถา่ ยทีด่ ี เจรญิ อาหาร มีสขุ ภาพแข็งแรง หมายเหตุ : อาจใช้ท้ัง 2 ชนิดผสมกันในอตั ราเดิม ในน้า 1 ลติ ร ผสมอาหาร 10 กโิ ลกรมั 22
แนวทางการลดต้นทุนของปราชญป์ ลานลิ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ปี 2555 2) การผลิตจุลินทรยี ์หน่อกล้วย (สตู รหวั เชอ้ื ) ส่วนผสม หนอ่ กลว้ ยใบธง สูงประมาณ 1 เมตร ทั้งเหง้า ตน้ (ใช้ทงั้ ใบและดินที่ตดิ มาด้วย) จานวน 10 กโิ ลกรัม กากน้าตาล (หรอื น้าตาลทรายแดง ฯลฯ) จานวน 10 กโิ ลกรมั วธิ กี ารเตรยี ม นาหนอ่ กล้วยมาหน่ั สับ ตา จากนัน้ นาไปใสใ่ นถงั หมกั แล้วคลกุ เคล้าให้เขา้ กัน ด้วยกากน้าตาลโดยไมต่ อ้ งใสน่ า้ หมักไวเ้ ปน็ เวลา 1 เดอื น หมน่ั คนทกุ อาทิตย์ เม่อื ครบ 1 เดือน จึงคนั้ นา้ ท่ไี ดจ้ าก การหมกั หน่อกล้วยออกมาใสถ่ ังหรือขวด แลว้ ปดิ ฝาใหส้ นิท วธิ ีใชจ้ ุลนิ ทรีย์หนอ่ กล้วย (สตู รหวั เชอื้ ) จลุ ินทรยี ์ 1 ลิตร เติมนา้ 100 ลติ ร ฉดี พ่นใหท้ ัว่ บอ่ หลงั จากสูบนา้ ออกจากบ่อ จนแห้ง ประโยชน์ ใชป้ รับปรุงดิน บารุงดนิ ปรับสภาพนา้ อกี ทง้ั ยังสามารถใชป้ ้องกนั และกาจดั ศตั รพู ชื เร่งการเจริญเตบิ โตของพืชและใช้กาจัดกลิ่นเหม็นในคอกสตั ว์ ยอ่ ยสลายอนิ ทรยี วตั ถุและฟาง ในนาขา้ ว โดยไมเ่ กิดกา๊ ซมีเทน 23
3) ฮอร์โมนผลไม้ (ปราชญป์ ลานิลจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา) สว่ นผสม กลว้ ยนา้ ว้าสุก 1 กิโลกรมั ฟกั ทองแก่จดั 1 กโิ ลกรัม มะละกอสกุ 1 กิโลกรมั สบั ปะรด 1 กิโลกรัม น้าหมักพชื 10 มิลลิลิตร กากนา้ ตาล 10 มิลลิลิตร น้าสะอาด 9 ลติ ร วธิ กี ารเตรียม สบั กล้วย ฟกั ทอง มะละกอ และสับปะรดให้ละเอียด (ส่วนแรก) นาน้าหมักพืช กากน้าตาลและน้าสะอาดให้เข้ากนั (ส่วนทสี่ อง) จากน้ันนาส่วนผสมทั้งสองสว่ นมา คลกุ เคล้าให้เขา้ กัน และบรรจุลงในถังหมกั โดยหมักไว้ในถงั พลาสตกิ ปิดฝานาน 15 - 20วนั ประโยชน์ : นาส่วนที่เป็นน้าจากการหมัก (ในถังพลาสตกิ ) ผสมกบั อาหารในอัตราส่วน 10 มิลลิลติ รต่ออาหาร 2 กโิ ลกรมั จะช่วยให้ลูกปลามรี ะบบการย่อยอาหารที่ดีข้ึนและ เรง่ การเจริญเติบโต 24
แนวทางการลดต้นทุนของปราชญป์ ลานลิ จงั หวัดชลบรุ ี ปี 2555 4) การให้อาหารเม็ดสาเร็จรูปในสวงิ วัสดอุ ุปกรณ์ สวิงใสอ่ าหาร เสาสาหรับใช้แขวนสวงิ วธิ ีการให้อาหาร นาอาหารเมด็ สาเร็จรปู ใส่ลงในสวิงแขวนไว้บรเิ วณขอบบอ่ ต่ากว่าบริเวณผวิ นา้ เลก็ นอ้ ย วธิ ีน้เี ป็นวธิ ีให้อาหารท่งี า่ ยและยังสามารถควบคมุ อาหารโดยไม่ให้มากเกิน เพราะอาจทาให้ น้าเนา่ เสีย ประโยชน์ : ลดการสญู เสียอาหารและทราบ ปรมิ าณอาหารที่ปลากินแน่นอน 25
แนวแนวทางการลดตน้ ทุนของปราชญป์ ลานิล จังหวัดกาญจนบรุ ี ปี 2555 5) ถังให้อาหารอตั โนมตั ิ วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ถงั พลาสตกิ ใช้สาหรบั บรรจุอาหาร 2. ท่อพีวีซีเจาะรูสาหรับปลอ่ ยอาหาร หลักการทางาน อาหารจะถกู ปลอ่ ยออกจากรดู ้านขา้ งของสว่ นท่อเมือ่ มกี ารตอดอาหารของปลาอาหาร จากตัวถังพลาสตกิ ก็คอ่ ยๆ เลื่อนลงไปตามส่วนท่อเรื่อยๆ ตามการกินอาหารของปลา ประโยชน์ เปน็ การชว่ ยลดตน้ ทนุ ด้านแรงงานคนและเป็นการป้องกันสูญเสยี อาหาร ซึง่ บางครง้ั อาจจะกระจายออกนอกกระชงั ซงึ่ เปน็ การสนิ้ เปลอื งอาหาร ถังใหอ้ าหารอัตโนมัติ บรเิ วณปลายท่อท่ี ลักษณะภายในของ ขณะใชง้ าน อาหารผา่ น ถังใหอ้ าหารอตั โนมัติ 26
แนวทางการลดตน้ ทนุ ของปราชญ์ปลานิลจังหวดั ปทุมธานี และจังหวดั กาญจนบุรี ปี 2555 6) การสลบปลาเพื่อลดการสญู เสียระหวา่ งการเคล่ือนยา้ ย การใชย้ าสลบชว่ ยในการขนยา้ ยปลาซึ่งมอี ยูด่ ้วยกัน 2 ชนดิ คอื ใชน้ ้ามนั กานพลู (Clove Oil) และ Resico 2-Phenoxy Ethanol เพอื่ เคลือ่ นยา้ ย ปลาไปในน้าอณุ หภูมติ า่ เพอื่ ลดการสญู เสยี จากการเคลอื่ นยา้ ย ขอ้ เสยี ถ้าใช้มากจะทาให้ปลา ขับเมอื กมาก น้ามันกานพลู Resico สารควบคุมการเคลอื่ นไหว การจับปลาเพอ่ื ขนย้ายจะพบปลาที่มอี าการเกล็ดหลุด เกล็ดชา้ มบี าดแผลทาใหป้ ลาออ่ นแอ ตายง่าย สง่ ผลเสียตอ่ คณุ ภาพปลา ดงั นน้ั เมื่อมีการใช้นา้ มันกานพลูสลบปลา จะชว่ ยใหป้ ลา ลดการบอบช้า และลดจานวนการตายระหว่างขนยา้ ยลงได้ 27
วธิ กี าร รวบรวมปลาในกระชงั ขนาด 5x6 เมตร โดยใช้วธิ ีการไลป่ ลามารวมกันทีม่ มุ กระชงั เพือ่ ใหเ้ หลอื พ้ืนทก่ี ระชังนอ้ ยลง ใช้ผ้าใบพลาสติกหุม้ ที่ดา้ นล่างของกระชัง ปริมาตร นา้ ประมาณ 3 ลกู บาศก์เมตร นาสารควบคุมการเคลื่อนไหว ประกอบด้วย RESICO (2- Phenoxy Ethanol) จานวน 1 ลติ ร และนา้ มันกานพลู (CLOVE OIL EXTRA) จานวน 3 ลิตร (1 : 3) มาผสมกนั นาสารผสม 25 มิลลลิ ิตรตอ่ นา้ 3 ลูกบาศก์เมตร ใสใ่ นกระชังทหี่ ุ้ม ด้วยผา้ ใบพลาสติก ปลาจะหยดุ นงิ่ ประมาณ 15 นาที ตักปลาใส่ถังขนส่ง ขนาดกว้าง 0.90 เมตร ยาว 1.20 เมตร สงู 1.10 เมตร ปริมาตรน้า 1 ลูกบาศกเ์ มตร ปรับอณุ หภมู ิน้าดว้ ย น้าแข็งใหอ้ ุณหภูมนิ า้ ประมาณ 25 องศาเซลเซียส สามารถลาเลียง ปลาได้ 700 กิโลกรมั หรือประมาณ 1,200 ตวั หมายเหตุ : ปราชญ์ปลานิลได้ทดลองใชส้ ารท้งั สองชนิด หลายคร้งั พบว่า ช่วยลดปัญหาการ ขนส่งไดเ้ ป็นอยา่ งดี 28
แนวทางการลดตน้ ทนุ ของปราชญป์ ลานิลจังหวัดปัตตานี ปี 2555 7) EM Ball วัตถดุ ิบ ราละเอียด ราหยาบ จุลินทรีย์ EM (ที่ขยายหวั เชื้อแล้ว) และดนิ ทรายหรือ ดนิ เหนยี ว (ใช้ดินจากบอ่ ท่ตี อ้ งการใส่ EM Ball) วิธีการทา ขน้ั ท่ี 1 การขยายหวั เชือ้ EM ใช้ EM 1 ลิตร ผสมกับ กากน้าตาล 1 ลติ ร และนา้ สะอาด 20 ลติ ร หมกั ทิ้ง ไว้ 3 – 7 วนั จึงสามารถนามาใช้ได้ (สงั เกตุจากการเกิดฟองสีขาว) ขั้นท่ี 2 การปั้น EM Ball 1. นา EM ท่ีขยายหัวเชื้อแลว้ มาผสมกับ ราละเอียด 1 สว่ น ราหยาบ 1 ส่วน และดนิ ทรายหรือดนิ เหนยี ว 1 สว่ น ผสมให้เขา้ กนั 2. ป้ันเปน็ ลักษณะก้อนกลมๆ ขนาดเท่าลูกเทนนิส จงึ นามาใชไ้ ด้ วิธีการใช้ 1. นา EM Ball โยนใต้กระชังก่อนการลงกระชังทุกคร้งั กระชังละ 5 - 6 กอ้ น EM Ball จะสลายไปกบั นา้ เรือ่ ยๆ จนหมด ซ่ึงจะทาหนา้ ท่ีปรับสภาพแวดลอ้ ม และคณุ ภาพน้า ภายในกระชังให้มสี ภาพท่ีดอี ยา่ งสมา่ เสมอ 2. EM Ball จะมีอายกุ ารใช้งานไดน้ าน 3 - 6 เดอื น 3. วิธนี ีเ้ หมาะสาหรบั การเลีย้ งปลาทง้ั ในกระชงั และบอ่ ดนิ 29
ดินเหนียว จลุ ินทรยี ์ EM ราละเอยี ด คลุกเคล้าสว่ นผสมให้เขา้ กนั ปน้ั ให้ได้ขนาดเทา่ ลกู เทนนสิ ประโยชน์ : EM มหี น้าทยี่ อ่ ยสลายส่ิงหมักหมมทก่ี ้นบอ่ และปรับสภาพแวดล้อมรวมถึง คณุ ภาพนา้ ภายในบ่อเลี้ยงให้มีคณุ ภาพดีข้ึน 30
เอกสารอา้ งองิ กองพฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยีการประมง. 2553. การเพาะเลยี้ งปลานลิ . โรงพิมพช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, กรงุ เทพ. 32 หนา้ . กองวิจัยและพัฒนาประมงน้าจืด กรมประมง. 2558. การลดตน้ ทนุ การเลีย้ งปลานลิ .8 หนา้ . สานักวจิ ยั และพัฒนาประมงน้าจดื . 2555. การเพาะเลีย้ งปลานลิ . 63 หนา้ . สานกั วจิ ัยและพฒั นาประมงนา้ จืด. 2555. องค์ความร้ปู ราชญป์ ลานิล. โรงพมิ พช์ ุมชน สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั , กรุงเทพ. 61 หนา้ .
กองวจิ ัยและพฒั นาการเพาะเลย้ี งสัตว์น้าจืด กรมประมง เลขที่ 50 เกษตรกลาง แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทร 0 2562 0600 – 15 ต่อ 14407
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: