15 การเกบ็ เก่ยี ว ตาก และนวด ข้าวท่ีจะนาไปใช้ทาพันธุ์น้ัน ควรจะเก็บเกี่ยวเม่ือข้าวแก่จัด เมล็ดในรวงทุกเมล็ดจะแก่เหลืองท่ัวทั้งรวง (ภาพที่ 24ก) นับจาก วันที่ข้าวออกรวงประมาณ 30 – 35 วัน เมล็ดพันธ์ุท่ีจะใช้ทาพันธ์ุ นน้ั ใหถ้ ือหลัก 3 ประการ คอื 1. ถูกต้องตรงตามพนั ธ์ุ 2. เป็นเมลด็ ท่แี ก่จดั มีความสมบูรณ์ 3. ปราศจากโรคแมลงรบกวนหรือทาลาย การเก็บเก่ียวเมล็ดพันธ์ุหลักเพ่ือนาไปใช้ทาพันธ์ุ ให้ทาการ เก็บเก่ียวได้ในเม่ือข้าวแก่จัด ตากแดดประมาณ 5 – 7 แดด (ภาพท่ี 24ข) ลดความชื้นให้เหลือประมาณ 12 -14 % ทาความสะอาด เมล็ดพนั ธุ์แยกสิง่ เจือปนต่างๆ เชน่ เศษฟาง หิน กรวด (ภาพที่ 24ค) ก. สภาพแปลงเม่อื ข้าวแก่จัด
16 ข. การเก็บเกย่ี วข้าว ค.การตากข้าวเพื่อ ลดความชนื้ ภาพที่ 24 แปลงผลติ เมล็ดพันธุข์ ้าวพันธ์ุหลกั พนั ธุ์ กข - แมโ่ จ้ 2 ก.) สภาพแปลงเม่ือขา้ วแก่จัด ข.) การเก็บเก่ียวขา้ ว ค.) การตากข้าวเพื่อลดความชื้น 6. การผลติ เมล็ดพนั ธุ์ขยายและการผลติ เมลด็ พันธุ์จาหนา่ ย ปฏิบัติแบบเดียวกับการผลิตเมล็ดพันธ์ุหลักจะแตกต่างกัน ในวิธีการปักดา อาจจะปักดาเป็นแปลงนาขนาดใหญ่ใช้ระยะปักดา 25 x 25 เซนติเมตร ใช้ต้นกล้า 2-3 ต้นต่อหลุม ส่วนวิธีการดูแล รักษาและการตรวจพันธ์ุข้าวปลอมปน การเก็บเกี่ยว ปฏิบัติคล้าย กบั การผลติ เมล็ดพนั ธหุ์ ลัก
17 ตารางที่ 1 คาแนะนาในการใสป่ ยุ๋ เคมสี าหรบั การปลกู ข้าว สูตรปุ๋ย ใสป่ ยุ๋ รองพ้ืน ใส่ปยุ๋ แต่งหน้า ใส่ปุย๋ (กก./ไร่) คร้งั ท่ี 1 แตง่ หน้าคร้งั ดินเหนียว : (กก./ไร่) ที่ 2 (กก./ไร)่ 20 – 25 กก./ไร่ ป๋ยุ ยเู รยี : 5 16–20–0 ปุ๋ยยเู รีย : 5 กก./ กก./ไร่ ,18–22–0 23 – 25 กก./ไร่ ไร่ ปยุ๋ หรอื 20–20-0 ป๋ยุ แอมโมเนียม แอมโมเนยี ม ซลั เฟต 10 กก./ ซัลเฟต ดินทราย : ไร่ 10 กก./ไร่ 16 – 16 – 8 * ใสร่ ะยะข้าว , 18 – 12 - 6 * ใสร่ ะยะขา้ วแตก กาเนิดชอ่ ดอก กอ 7. โรคและแมลงท่ีสาคัญท่ีมักพบในแปลงปลูกข้าวพันธ์ุ กข-แม่โจ้ 2 ได้แก่ โรคใบไหม้ (ภาพที่ 25) โรคขอบใบแห้ง (ภาพที่ 26) โรคกาบใบแห้ง (ภาพท่ี 27) และการระบาดของเพล้ียกระโดด หลังขาว (ภาพที่ 28)
18 ภาพที่ 25 โรคไหม้ (Blast) ภาพท่ี 26 โรคขอบใบแหง้ (Bacterial Blight) ภาพที่ 27 โรคกาบใบแหง้ ภาพที่ 28 การระบาดของ (Sheath Blight) เพล้ยี กระโดดหลงั ขาว 8. การป้องกันและกาจัดโรคและแมลง 1. ไถตากดนิ หลาย ๆ ครงั้ 2. ไม่ควรปักดาถี่เกินไปหรือใช้อัตราเมล็ดพันธุ์สูงเกินไป ควรปกั ดาให้แล้วเสร็จกอ่ นเดือน สิงหาคม 3. ไม่ควรใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจนในอัตราสูงเกนิ ไป
19 4. ใช้สารเคมีกาจัดเช้ือราฉีดพ่น เช่น ไดฟิโนโคนาโซล + โพรพิโคนาโซล หรอื ไตรไซคลาโซล 5. ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า อัตรา 1 กิโลกรัม เช้ือสด ผสม กบั นา้ 200 ลิตร ฉีดพ่นในช่วงเย็น 6. ใช้สารเคมีฉีดพ่นป้องกันการระบาดของเพล้ียกระโดด หลังขาว เช่น คาร์โบซัลแฟน ไดโนทีฟูแลน หรือเชื้อบิวเวเรียฉีดพ่น เพอื่ ปอ้ งกันและกาจัดเพลี้ยตา่ งๆ ควรฉีดพ่นในชว่ งเย็น
20 เอกสารอา้ งอิง กรมการขา้ ว. 2559. องค์ความรูเ้ ร่อื งขา้ ว เมลด็ พันธ์ุ และการผลิต เมลด็ พันธุ์ ]ระบบออนไลน์[. แหลง่ ที่มา http://www.ricethailand.go.th/home/brrd.in.th/rkb /seed/index.php-file=content.php&id=3.htm (7 มกราคม 2558) มหาวิทยาลยั แม่โจ.้ 2558. ข้าวเหนียวสายพันธุ์ MJUG04002- 927. สาขาวชิ าพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ.้ เชยี งใหม่. 67 หน้า. วรวทิ ย์ พาณชิ พัฒน.์ 2546. การปรบั ปรงุ พนั ธุแ์ ละขยายพันธขุ์ ้าว. สถาบันวิจัยข้าว กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ.์ กรุงเทพมหานคร. 613 หนา้ .
21 แหล่งทุนอุดหนนุ ได้รับทุนอุดหนุนการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน การวิจัย โครงการ “Research for Community”ทุนอุดหนุนการ วิจัย ประจาปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับ สานกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) คณะผู้จัดทาคมู่ ือองคค์ วามรู้ เสกสรร สงจนั ทกึ ดร. ธิดารตั น์ จนั ทรา นายสมั พันธ์ ตาตวิ งค์
คมู่ ือ การเพ่ิมคุณภาพเน้ือปลาเศรษฐกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร อาเภอสารภี เชยี งใหม่ (การเพาะเลีย้ งปลานลิ ; Oreochromis niloticus) Enhancement of economic fish meat of Sarapee Farmer Community, Chiang Mai (Nile Tilapia culture; Oreochromis niloticus) ได้รับทนุ อดุ หนนุ การทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจยั โครงการ “Research for Community”ทนุ อุดหนนุ การวิจยั ประจาปงี บประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.)
ก หนา้ ก สารบัญ ข (List of content) 1 7 เรือ่ ง 8 สารบญั เรื่อง 11 สารบัญภาพ การเพาะปลานิล 12 การอนุบาลลกู ปลานิล 13 การเล้ียงปลานิล 14 เกษตรกรไดร้ ับองคค์ วามร้ใู นการสร้างผลติ ภณั ฑ์ 16 ปลานิล จาหนา่ ยในชุมชน และตลาดทวั่ ไป 17 ตน้ ทุนการผลิตปลานิล 17 การเพมิ่ คุณภาพเนอ้ื ปลานิล ระยะเวลาในการเล้ยี งปลานลิ เอกสารอา้ งอิง แหล่งทุนอดุ หนนุ คณะผ้จู ัดทาคมู่ ือองคค์ วามรู้
ข สารบัญภาพ (List of Illustrations) ภาพที่ หนา้ 1 การเพาะพนั ธ์ุปลานลิ ในบอ่ ซีเมนต์ ณ 1 ฐานเรยี นร้ดู า้ นการประมงของเกษตรกร อ. สารภี จ. เชียงใหม่ 2 บ่อดนิ ในธรรมชาตจิ ะมีปลานิลขุดหลมุ วางไข่ 2 จานวนมากเพราะพน้ื บอ่ ลาดเอยี ง ประมาณ 45 องศา จึงมีการเรียนแบบบอ่ ใน ธรรมชาติ ทาใหจ้ านวนแม่พนั ธุม์ ีไขม่ ากขน้ึ ประสบผลสาเร็จสงู 3 ปลาทีอ่ ายเุ ท่ากันปลานิลเพศผู้ตวั โตกวา่ เพศ 3 เมียและความแตกตา่ งระหว่างอวัยวะเพศปลา นลิ เพศผู้ กับเพศเมีย 4 วัตถุดิบอาหารสตั ว์มีปลายขา้ ว เปลอื กถ่วั ดาว 5 อนิ คา ราละเอียด ปลาป่น สาหรา่ ยสไปรลู ิน่า สด 5 ไขป่ ลาในปาก 6 6 ระบบฟักไข่ 6 7 ถุงไขแ่ ดงลกู ปลา 6 8 ลกู ปลาถงุ ไข่แดงยุบ 6
ค สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ (List of Illustrations) 7 10 ภาพท่ี 10 9 การอนุบาลและให้อาหารลกู ปลาได้ขนาด 12 1 นว้ิ ใช้ระยะเวลา 20 วัน 10 การเลี้ยงปลานิลในบอ่ ดนิ ของเกษตรกร 13 เสรมิ อาหารธรรมชาติ 14 11 ปลานลิ ในกระชัง 15 12 การอบรมการแปรรูปปลานลิ ของกลมุ่ เกษตรกร โดยทีมคณาจารยค์ ณะเทคโนโลยี การประมงฯมหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ และกรม ประมง 13 ตน้ ทุนการการผลิตปลานิล ตลอดระยะเวลา การเลยี้ ง 5 เดือน 14 โปรตีนในเน้ือปลานลิ ตลอดระยะเวลา การเล้ียง 5 เดือน 15 นา้ หนักตวั เฉล่ียของปลานิล ตลอดระยะเวลา การเล้ียง 5 เดือน
1 การเพิม่ คุณภาพเนอ้ื ปลาเศรษฐกจิ ของกล่มุ เกษตรกรประมงอาเภอสารภี (การเพาะเล้ยี งปลานิล) การเพาะพนั ธปุ์ ลานลิ ให้ไดผ้ ลดีและมีประสิทธิภาพ ต้องไดร้ บั การเอาใจใส่ และปฏิบัตใิ นดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี 1. การเพาะปลานิล ภาพที่ 1 การเพาะพนั ธุ์ปลานิลในบ่อซเี มนต์ ณ ฐานเรยี นรู้ ดา้ นการประมงของเกษตรกร อ. สารภี จ. เชียงใหม่ 1.1 การเตรียมบอ่ ซเี มนต์เลยี้ งพอ่ แม่พันธุ์ รูปร่างของบ่อจะเป็นส่ีเหล่ียมผืนผ้า หรือรูปกลมก็ได้ มีความ ลึกประมาณ 1 เมตร พ้ืนบ่อลาดเอียงประมาณ 45 องศา จะทาให้ จานวนแม่พันธ์ุมีไข่มากเป็นการเลียนแบบพ้ืนบ่อดินที่ปลานิล
2 ชอบวางไข่ตามธรรมชาติทั่วไป และเติมน้าที่กรองด้วยผ้าไนล่อน หรือมุ้งลวดตาถี่ ให้มีระดับน้าสูงประมาณ 60 เซนติเมตร ถ้าใช้ เครื่องเติมออกซิเจนในน้า จะทาให้การเพาะปลานิลด้วยวิธีนี้ได้ผล มากขึน้ (ภาพที่ 2) ภาพท่ี 2 บอ่ ดินในธรรมชาติจะมปี ลานลิ ขดุ หลมุ วางไข่จานวนมาก เพราะพ้นื บ่อลาดเอียงประมาณ 45 องศา จงึ มีการเรียนแบบบอ่ ใน ธรรมชาติ ทาให้จานวนแมพ่ นั ธุ์มีไข่มากขน้ึ ประสบผลสาเร็จสูง
3 1.2 การคัดเลือกพ่อแม่พันธ์ุและอตั ราส่วนที่ปล่อยพ่อแม่ ปลาลงเพาะพันธ์ุ การคัดเลือกพ่อแม่ปลานิล จากการสังเกตลักษณะภายนอก ของปลาที่สมบรู ณป์ ราศจากเช้อื โรคและบาดแผล สาหรับพ่อแม่ปลา ท่ีพร้อมวางไข่นั้นสังเกตได้จากอวัยวะเพศถ้าเป็นปลาตัวเมยี มีสีชมพู แดงเร่ือๆ ส่วนปลาตัวผู้ก็สังเกตได้จากสีของตัวปลาท่ีเข้มสด โดยเปรียบเทยี บกบั ปลานิลตัวผู้อน่ื ๆ ขนาดของปลาตัวผู้ และตัวเมีย ควรมีขนาดไล่เล่ียกันคือ มีความยาวต้ังแต่ 15-25 เซนติเมตร น้าหนักต้ังแต่ 150-200 กรัม อัตราส่วนท่ีปล่อยพ่อ/แม่ปลาลงบ่อ เพาะ ในอัตราสว่ น 1 ตวั /4 ตารางเมตรจะไดผ้ ลดีท่สี ุด (ภาพที่ 3) เพศผู้ เพศเมีย ภาพท่ี 3 ปลาท่อี ายุเท่ากนั ปลานลิ เพศผ้ตู วั โตกวา่ เพศเมยี และความแตกตา่ งระหว่างอวยั วะเพศปลานิลเพศผู้กบั เพศเมีย
4 1.3 การให้อาหารในบอ่ เพาะพนั ธ์ุปลานลิ การเล้ียงพ่อ-แม่พันธุ์ปลานิล มีความจาเป็นท่ีจะต้องให้ อาหารสมทบ หรืออาหารผสม เกษตรกรได้องค์ความรู้ในการผลิต อาหารปลาลอยน้าราคาถูก แต่มีคุณค่าทางอาหารสูง สามารถเล้ียง ปลาเศรษฐกิจที่ ทาให้ระยะเวลาการเลี้ยงลดลงอย่างน้อย 15 วัน โดยเปรียบเทียบกับการผลิตปลาเศรษฐกิจแบบท่ัวไปของเกษตรกร จากสตู รอาหารดังนี้ สูตรอาหารปลานิลอินทรีย์ โปรตีน 26% โดยน้าหนักแห้ง มีส่วนผสมดังนี้ ปลายข้าว 20 กิโลกรัม เปลือกถั่วดาวอินคา 27 กโิ ลกรมั ราละเอียด 28 กิโลกรัม ปลาปน่ 15 กโิ ลกรัม สาหรา่ ยสไป รูลิน่าผง 5 กิโลกรัม หรือถ้าเป็นสาหร่ายสไปรูลิน่าสด (50 กิโลกรัม ตากแห้งจะได้ 5 กโิ ลกรัม) และ น้ามัน 3 กิโลกรัม (ภาพท่ี 4) การใช้ อาหารผสมสาหร่ายสดหรือแห้งในการอนุบาล และเล้ียงปลานิล จนถึงระยะวางไข่ พบว่าปลานิลมีอัตราการผสมพันธ์ุ อัตราการฟัก ออกเป็นตัว และอัตรารอดของลูกปลาสูงกว่า การใช้อาหารปลา ทั่วไป และเน้ือปลา มีกรดไขมันจาพวก Gamma-linolenic acid สูงกวา่ เน้อื ปลาทีเ่ ล้ยี งในอาหารทั่วไป ( Lu et al., 2004; Promya, 2008) ดังนั้นเราสามารถเล้ียงสาหร่าย หรือแพลงก์ตอนพืช ซ่ึงเป็น อาหารธรรมชาติ เพ่ือผลิตอาหารปลา และสามารถลดต้นทุนการ ผลิตด้านอาหารได้ (Lu et al., 2004) ในอาหารปลาดังกล่าว
5 มีส่วนผสมของเปลือกถั่วดาวอินคาทาให้อาหารปลามีกรดไขมัน โอเมก้า 3 สูง กรดไขมันโอเมก้า 3 ท่ีสายยาวคือ EPA (eicosapen- taenoic acid) และ DHA (docosahexaenoic acid) ซึ่งเป็นกรด ไขมันโอเมก้า 3 ท่ีพบในปลาทะเลน้าลึก (Sirinichaiyakij and Suthitjit, 2015) อาหารดังกล่าวให้พ่อแม่ปลาประมาณ 3% ของ นา้ หนักตวั ภาพท่ี 4 วัตถดุ ิบอาหารสตั ว์มีปลายข้าว เปลือกถ่วั ดาวอินคา ราละเอียด ปลาปน่ สาหร่ายสไปรลู ินา่ สด 1.4 การผสมพนั ธ์ุและการวางไข่ ปลานิลสามารถผสมพันธ์ุได้ตลอดปี ถ้าอาหารเหมาะสมใน ระยะเวลา 1 ปี จะผสมพันธ์ุได้ 5–6 ครั้ง ไข่ปลาท่ีอมไว้โดยปลา ตัวเมีย แม่ปลาจะขยบั ปากให้น้าไหลเข้าออกในช่องปาก เพอ่ื ช่วยให้ ไขท่ ี่อมไว้ไดร้ บั นา้ ทสี่ ะอาด
6 เคาะไข่จากปากปลาไปยังระบบการฟักไข่ปลา เราสามารถ เคาะไข่จากปากทุกๆ 7 วัน แต่ในช่วงฤดูหนาว ทุก 9 วัน นาไข่มา ล้างด่างทับทิม ก่อนฟักในกรวยฟักไข่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร บรรจุไข่ได้ 5,000 – 30,000 ฟอง หลังออกจากไข่ จะไหลลงถาดขนาด ยาว 40 เซนติเมตร กว้าง 25 เซนติเมตร สูง 7 เซนติเมตร อนุบาลในถาดประมาณ 3,000 ตัว รอถุงไข่แดงยบุ นาลูกปลาไปส่ขู ้ันตอนการอนุบาลต่อไป (ภาพท่ี 5-8) ภาพท่ี 5 ไข่ปลาในปาก ภาพที่ 6 ระบบฟกั ไข่ ภาพที่ 7 ถงุ ไข่แดงลกู ปลา ภาพท่ี 8 ลกู ปลาถงุ ไขแ่ ดงยบุ
7 2. การอนุบาลลูกปลานลิ การอนุบาลลูกปลานลิ ในกระชังไนล่อนตาถ่ี ขนาด 3 x 3 x 2 เมตร ซง่ึ สามารถจะใชอ้ นุบาลลูกปลาวัยออ่ นได้จานวนครัง้ ละ 3,000-5000 ตัว โดยใหไ้ ขแ่ ดงตม้ บด ให้ละเอียด วันละ 3-4 ครงั้ หลังจากถงุ อาหารของลูกปลายบุ ตวั ลงใหม่ๆ เป็นเวลาประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากนนั้ จึงให้ราละเอียด 3 ส่วน ผสมกบั ปลาป่นบดให้ ละเอียดอตั รา 1 ส่วนตดิ ต่อกันเปน็ ระยะเวลาประมาณ 4-5 สปั ดาห์ ลูกปลาจะโตขน้ึ มีขนาด 3-5 เซนติเมตร ซ่งึ สามารถนาไปเล้ียงให้ เปน็ ปลาขนาดใหญ่ หรือจาหน่าย (ภาพที่ 9) ภาพที่ 9 การอนบุ าลและให้อาหารลกู ปลาไดข้ นาด 1 นว้ิ ใช้ระยะเวลา 20 วนั
8 3. การเลยี้ งปลานลิ การเล้ียงปลานิลในบ่อดิน ที่เล้ียงปลานิลควรเป็นรูป สี่เหลี่ยมผนื ผา้ เพ่ือสะดวกในการจับเน้อื ท่ีตั้งแต่ 200 ตารางเมตรขน้ึ ไป ให้อาหารสูตรอาหารปลาอินทรีย์ โปรตีน 26% โดยน้าหนักแห้ง มีส่วนผสมดังนี้ ปลายข้าว 20 กิโลกรัม เปลือกถั่วดาวอินคา 27 กิโลกรัม ราละเอียด 28 กิโลกรัม ปลาป่น 15 กิโลกรัม สาหร่าย สไปรูลิน่าผง 2 กิโลกรัม หรือถ้าเป็นสาหร่ายสไปรูลิน่าสด (20 กโิ ลกรมั ตากแห้งจะได้ 2 กโิ ลกรมั ) และ น้ามัน 3 กโิ ลกรมั และ เสริมอาหารธรรมชาติ โดยนาฟางขา้ วหรือใชห้ ญา้ สดพนั ธเ์ุ นเปียปาก ช่อง 1 (จะดีที่สุดน้าไม่เสีย) ร่วมกับปุ๋ยคอกแห้ง ปริมาณ 200 กิโลกรัม/ไร่ หมักมุมบ่อ (ใส่หญ้าก่อนสูง 1 ฟุต ตามด้วยปุ๋ยคอกสูง 1 ฟุต สลับกัน คล้ายขนมช้ัน และมีน้าท่วมถึงตามความเหมาะสม ของสภาพบ่อ เมื่อหมดก็ทาใหม่) หรือใช้สูตรอาหารหญ้าเนเปียสด บดละเอยี ด 6 ส่วน + ราละเอียด 4 ส่วน +อาหารปลาทว่ั ไป 1 ส่วน หรือให้อาหารสมทบอื่นๆ ที่หาได้ง่าย เช่น แหนเป็ด สาหร่าย เศษพืชผักต่างๆ ปริมาณปลาท่ีผลิตได้ก็เพียงพอสาหรับบริโภคใน ครอบครัว ส่วนการเล้ียงปลานิลเพ่ือการค้าควรใช้บ่อขนาดใหญ่ ต้ังแต่ 0.5-3.0 ไร่ ควรจะมีหลายบ่อเพ่ือทยอยจับปลาเป็นรายวัน รายสปั ดาหต์ อ่ ไป (ภาพที่ 10) การเล้ียงปลานิลในกระชัง ขนาดกระชังขึ้นอยู่กับความ ตอ้ งการและขนาดพ้ืนท่ีที่วางกระชงั ขนาดท่นี ยิ มใชค้ อื 2x2x2 เมตร
9 และขนาด 5x5x2 เมตร เพราะเมื่อนาไปวางผูกติดกับแพหรือทุ่น ลอยท่ีมีโครงทาด้วยเหล็กเส้นจะวางได้พอดี และเป็นขนาดท่ีการ จัดการดูแลทาได้ง่ายและสะดวก อัตราการปล่อยพันธุ์ปลานิลขนาด 50 กรัม ควรปล่อยในอัตรา 30-50 ตวั /ลกู บาศกเ์ มตร เลยี้ งนาน 3 เดือน จะได้ปลานิลน้าหนักประมาณ 300 – 500 กรัม/ตัว อาหาร และการให้อาหาร ปลานลิ เปน็ ปลากินพชื และกนิ เน้ือ ปลากินอาหาร ได้ทีละน้อย และย่อยได้ช้า จึงควรให้ทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง โดยให้ อาหารท่ีมีปริมาณโปรตีนประมาณ 26-30% ให้อาหารสูตรอาหาร ปลาอินทรีย์ โปรตีน 26% โดยน้าหนักแห้ง มีส่วนผสมดังนี้ ปลาย ข้าว 20 กิโลกรัม เปลือกถ่ัวดาวอินคา 27 กิโลกรัม ราละเอียด 28 กิโลกรัม ปลาปน่ 15 กิโลกรัม สาหร่ายสไปรลู นิ า่ ผง 2 กิโลกรมั หรอื ถ้าเป็นสาหร่ายสไปรลู ิน่าสด (20 กิโลกรมั ตากแหง้ จะได้ 2 กิโลกรัม) และ น้ามนั 3 กโิ ลกรมั ให้ในปริมาณ 3-5% ของนา้ หนักตัว/วนั โดย แบ่งให้ 2 ครั้ง/วัน จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของปลานิลได้ดีขึ้น (ภาพท่ี 11)
10 ภาพท่ี 10 การเล้ยี งปลานิลในบอ่ ดินของเกษตรกร เสรมิ อาหารธรรมชาติ ภาพที่ 11 ปลานิลในกระชงั
11 4. เกษตรกรไดร้ บั องค์ความรใู้ นการสร้างผลิตภณั ฑ์ ปลานลิ จาหน่ายในชุมชน และตลาดท่วั ไป (ภาพท่ี 12) ล
12 ภาพที่ 12 การอบรมการแปรรปู ปลานิลของกลุ่มเกษตรกร โดยทีมคณาจารย์คณะเทคโนโลยกี ารประมงฯ มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ และกรมประมง 5. ต้นทุนการผลิตปลานลิ ลดลงอย่างนอ้ ย 10 % การประเมินต้นทุนการผลิตปลานิล ของกลุ่มเกษตรกร ประมง ท่ีเล้ียงด้วยอาหารปลาทั่วไปผสมแหนเป็ดเล็กสด 50% มตี ้นทุนการผลิตเทา่ กับ 21.93 บาท/กโิ ลกรมั ซง่ึ มตี น้ ทนุ ถกู กว่าการ ผลิตปลานิลทั่วไปของเกษตรกรท่ีเลี้ยงด้วยอาหารทั่วไปมีต้นทุนการ ผลิตเท่ากับ 36.78 บาท/กิโลกรัม (เป้าหมายของโครงการลดลง
13 อย่างน้อย 10%) และการเลี้ยงปลานิลของกลุ่มเกษตรกรประมง ท่ีเลี้ยงด้วยอาหารปลาทั่วไปผสมสาหร่ายอาร์โรสไปร่าสด 20% มตี ้นทนุ การผลติ เทา่ กับ 33.20 บาท/กโิ ลกรมั ซ่งึ มตี ้นทุนถกู กวา่ การ ผลิตปลานลิ ทว่ั ไปของเกษตรกรท่ีเลี้ยงดว้ ยอาหารทั่วไป มตี น้ ทนุ การ ผลิตเท่ากับ 36.78 บาท/กิโลกรัม (ภาพที่ 13) การลดลงอย่างน้อย 10% ภาพท่ี 13 ตน้ ทนุ การการผลติ ปลานิล ตลอดระยะเวลาการเลีย้ ง 5 เดอื น 6. การเพมิ่ คุณภาพเนื้อปลานลิ มีโปรตีนโดยน้าหนกั แห้งสงู ดงั นี้ โปรตีนโดยน้าหนักแห้งในเนื้อปลานิล ของเกษตรกรที่เลี้ยง ด้วยอาหารปลาทั่วไปผสมอาร์โธรสไปร่าสด 20% มีค่าเท่ากับ 32.07% ซึ่งมีแนวโน้มมากกว่าปลานิลของเกษตรกรที่เล้ียงด้วย อาหารปลาท่ัวไปผสมแหนเป็ดเล็กสด 50% มีค่าโปรตีนเท่ากับ
14 29.83% และการผลิตปลานิลแบบทั่วไปของเกษตรกรท่ีเล้ียงด้วย อาหารท่ัวไปมีค่าโปรตีนเท่ากับ 29.57 % (ภาพที่ 14) จากการวิจัย การเล้ียงปลานลิ ของกลมุ่ เกษตรกรประมง ทเี่ ลีย้ งปลานิลดว้ ยอาหาร ปลาทว่ั ไปผสมสาหรา่ ยอาร์โรสไปร่าสด 20% สามารถเพมิ่ โปรตีนใน เนื้อปลานิล โดยเปรียบเทียบกับการผลิตปลาเศรษฐกิจ (ปลานิล) ใหอ้ าหารทว่ั ไปของเกษตรกร ภาพที่ 14 โปรตีนในเน้ือปลานลิ ตลอดระยะเวลาการเลย้ี ง 5 เดอื น 7. ระยะเวลาในการเลย้ี งปลานลิ ของเกษตรกรลดลงอย่างนอ้ ย 15 วัน ระยะเวลาในการเลี้ยงปลานลิ ของเกษตรกร ในระยะเวลา 5 เดือน ให้ได้ขนาด 8-9 ตัว/กิโลกรัม เป็นขนาดท่ีใช้ทาเป็นปลานิล แดดเดียวท้ังตัว จากการวิจัยปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารปลาท่ัวไป
15 ผสมอาร์โธรสไปร่าสด 20% มีน้าหนักเฉลี่ยต่อตัว เท่ากับ 116.38 กรัม/ตัว มากกว่าปลานิลของเกษตรกรที่เลี้ยงด้วยอาหารปลาท่ัวไป ผสมแหนเป็ดเลก็ สด 50% มคี ่าเทา่ กับ 88.61 กรมั /ตวั และการผลิต ปลานิลแบบท่ัวไปของเกษตรกรท่ีเลี้ยงด้วยอาหารทั่วไปมีค่าเท่ากับ 70.35 กรัม/ตัว (ภาพท่ี 15) จากการวิจัยการเลี้ยงปลานิลของกลุ่ม เกษตรกรประมง ที่เล้ียงปลานลิ ดว้ ยอาหารปลาทวั่ ไปผสมอาร์โรสไป ร่าสด 20% มีน้าหนักเฉลี่ยต่อตัว เท่ากับ 116.38 กรัม/ตัว ใช้เวลา การเลี้ยง 5 เดือน (150 วัน) สามารถลดระยะการเลี้ยงลงได้ถึง 20-25 วัน (ดีกว่าเป้าหมายท่ีต้ังไว้ลดลงอย่างน้อย 15 วัน) โดย เปรียบเทยี บกับการผลิตปลานิลทีไ่ ด้รบั อาหารทั่วไปของเกษตรกร ภาพที่ 15 น้าหนกั ตัวเฉลยี่ ของปลานิล ตลอดระยะเวลาการเลี้ยง 5 เดือน
16 เอกสารอ้างองิ Lu, J ., Toshio T. and Hiroo S. 2004. Ingestion and assimilation of three species of freshwater algae by larval Nile tilapia Oreochromis niloticus. Aquaculture Article in press, corrected Proof-Not to users. Patsiri Sirinichaiyakij and Maitree Suthitjit. 2015. Analysis of the Interference of Polyphenols and Proanthocyanidins on the Neutral Red Assay for Cell Viability, Science Journal Faculty of Science Naresuan University 2011,8 (2) Promya J., 2008. Assessment of immunity stimulating capacity and Meat, Egg qualities of hybrid Tuptim Tilapia ND56 (Oreochromis sp.) fed on raw Spirulina. PhD Thesis, Department of Biology,Faculty of Science, Chiang Mai University.
17 แหลง่ ทุนอดุ หนุน ได้รับทุนอุดหนุนการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน การวิจัย โครงการ “Research for Community”ทุนอุดหนุนการ วิจัย ประจาปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับ สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) คณะผจู้ ดั ทาคู่มอื ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. จงกล พรมยะ อาจารย์ ดร.อานุภาพ วรรณคนาพล นาย สฤุ ทธิ์ สมบูรณช์ ยั นาย เทพพิทกั ษ์ บุญทา
คู่มือ การเพม่ิ คุณภาพเนื้อปลาเศรษฐกจิ ของกลมุ่ เกษตรกร อาเภอสารภี เชยี งใหม่ (การเพาะเล้ยี งปลาสลิด ; Trichogaster pecteralis) Enhancement of economic fish meat of Sarapee Farmer Community, Chiang Mai (Snakeskin gourami culture; Trichogaster pecteralis) ได้รบั ทุนอุดหนุนการทากิจกรรมสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การวจิ ยั โครงการ “Research for Community”ทนุ อุดหนนุ การวิจัย ประจาปงี บประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รว่ มกับ สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ก หนา้ ก สารบญั ข (List of content) 1 6 เรือ่ ง 7 สารบญั เร่ือง 9 สารบัญภาพ 9 การเพาะปลาสลิด 10 การอนุบาลลูกปลาสลดิ 11 การเลย้ี งปลาสลิด 13 องคค์ วามร้ทู เ่ี กษตรกรไดร้ ับ 14 การเพิ่มคณุ ภาพเนื้อปลาสลิด 14 ลดตน้ ทนุ การผลติ ปลาสลิด ระยะเวลาในการเลยี้ งปลาสลดิ เอกสารอ้างอิง แหล่งทนุ อุดหนนุ คณะผู้จดั ทาคู่มอื องคค์ วามรู้
ข หนา้ 1 สารบัญภาพ 2 (List of Illustrations) 2 3 ภาพที่ 1 ฐานเรียนรปู้ ลาสลดิ 5 2 ปลาสลดิ 5 3 ไข่ปลาสลิดเป็นไข่ลอย อย่ใู นหวอด 4 เตรียมบ่อเพาะพันธุ์ และการเตรียมกระชัง 6 แยกเพศ 5 พอ่ แม่พนั ธุ์ ปลาสลิด 8 6 การฉดี ฮอร์โมนพอ่ -แมพ่ นั ธุ์ และปลอ่ ยปลา 8 ลงบอ่ เพาะพนั ธุ์ 9 7 การช้อนหวอดไปฟักในถงั ฟักไข่ และไขฟ่ ัก ออกเปน็ ตวั ภายในระยะเวลา 18-24 ชั่วโมง 8 การอนุบาล ให้ได้ขนาด 3 เซนติเมตร 9 การเลีย้ งปลาระบบ biofloc 10 การอบรมการแปรรปู ปลาสลิดของกลุม่ เกษตรกร โดยทีมคณาจารยค์ ณะเทคโนโลยี การประมงฯ มหาวทิ ยาลยั แม่โจ้ และกรม ประมง และได้ผลติ ภัณฑป์ ลาสลดิ แดดเดยี ว จาหนา่ ยในชมุ ชน
ค สารบัญภาพ (ตอ่ ) (List of Illustrations) ภาพที่ หน้า 11 โปรตนี ในเนอื้ ปลาสลิด ตลอดระยะเวลา 10 การเลีย้ ง 3 เดือน 12 ต้นทุนการการผลติ ปลาสลดิ ตลอดระยะเวลา 11 การเลี้ยง 5 เดอื น 13 นา้ หนกั ตวั เฉลยี่ ของปลาสลดิ ตลอระยะเวลา 12 การเลีย้ ง 3 เดือน
1 การเพม่ิ คณุ ภาพเนอ้ื ปลาเศรษฐกจิ ของกลมุ่ เกษตรกรประมงอาเภอสารภี (การเพาะเล้ียงปลาสลิด) การเพาะพนั ธุป์ ลาสลดิ ให้ได้ผลดีและมีประสทิ ธิภาพ ตอ้ งไดร้ บั การเอาใจใส่ และปฏิบตั ิในด้านต่างๆ ดงั นี้ 1. การเพาะพันธป์ุ ลาสลดิ ณ ฐานเรียนรดู้ า้ นการประมงของ เกษตรกร อ. สารภี จ. เชียงใหม่ (ภาพที่ 1) ปลาสลิด (Trichogaster pecteralis) ภาพที่ 2 ปลา สลิดลาตัวแบนข้าง มีครีบท้องยาวครีบเดียว มีร้ิวดาพาดตามลาตัว จากหวั ถงึ หาง อาหารปลาสลิด ได้แก่ แมลงนา้ ตัวอ่อนลูกน้า ตะไคร่ นา้ แพลงก์ตอนพชื แพลงกต์ อนสัตว์ ผกั หญา้ และสารอนิ ทรยี ต์ ่างๆ ภาพท่ี 1 ฐานเรยี นรู้ปลาสลิด
2 ภาพที่ 2 ปลาสลดิ 1.1 การแพร่พันธุ์ ปลาสลิดเมื่ออายุประมาณ 6-7 เดือน เริ่มวางไข่เดือนเมษายน–กันยายน แม่ปลาตัวหนึ่งมีไข่ประมาณ 18,000-36,000 ฟอง วางไข่ในน้าน่ิงตัวผู้จะก่อหวอดที่พรรณไม้น้า โดยเพศผู้จะผสมกับเพศเมียในอัตรา 1:1 ไข่ฟักเป็นตัว 24-36 เซนติเมตร ไข่ปลาสลิดเป็นไข่ลอย ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 1.5–2.0 มลิ ลเิ มตร (ภาพท่ี 3) ภาพท่ี 3 ไข่ปลาสลิดเปน็ ไข่ลอย อย่ใู นหวอด
3 1.2 การเพาะพันธ์ุโดยวิธีธรรมชาติ ผสมกันเองตาม ธรรมชาติ ในอัตรา 50-100 ตัว/ไร่ โดยไม่คานึงถึงอัตราส่วนพ่อแม่ พันธ์ุ โดยใช้พ่อแม่พันธ์ุขนาด 8–10 ตัว/กิโลกรัม ไข่ของปลาจะไม่ แนน่ อน 1.3 การเพาะพันธ์ุโดยฉีดฮอร์โมน บ่อเพาะพันธ์ุเติมน้าลึก 15-20 เซนติเมตร ตัดหญ้าใส่ให้ท่ัวบ่อ เพื่อให้ปลาก่อหวอดวางไข่ และใช้ตาข่ายพรางแสงป้องกนั การรบกวนมีกระชังแยกเพศใส่ในบ่อ เพาะพันธ์ุ สาหรับรอฉีดฮอร์โมน (ภาพท่ี 4) ภาพที่ 4 เตรยี มบ่อเพาะพันธ์ุ และการเตรียมกระชงั แยกเพศ
4 1.4 คดั เลือกพอ่ แม่พันธ์ุปลาสลดิ ปลาตัวผู้มีลาตัวยาวเรียว สันหลังและสันท้องเกือบเป็น เส้นตรงขนานกัน มีครีบหลังยาวจรดโคนหาง มีสีลาตัวเข้ม ส่วน ตัวเมียมีสันท้องยาวมนไม่ขนานกับสันหลัง และครีบหลังมนไม่ยาว ถึงโคนหาง ท้องจะอูมเป่ง (ภาพที่ 5) เริ่มจากชั่งน้าหนักและบันทึก คานวณฮอร์โมนและน้ากลั่น มีวิธีการคานวณ ดังนี้ ฮอร์โมน สังเคราะห์ซุพรีแฟค (ต้องทาการเจือจางฮอร์โมนให้มีความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัม ปริมาตร 10 ซีซี ก่อน) คานวณจากปริมาตร ซุพรีแฟคที่ต้องใช้ (ซีซี)=(น้าหนักปลารวม (กิโลกรัม)*ความเข้มข้น ของซพุ รแี ฟค 30 ไมไครกรัม) /100 ผสมกบั ยาเสรมิ ฤทธ์ิ (โมทีเลียม) ( 1 เม็ด มีตัวยา 10 มิลลิกรัม) กาหนดให้ใช้ 10 มิลลิกรัม/ปลา 1 กิโลกรัม น้ากลั่นคานวณจาก ปริมาตรน้ากล่ัน (ซีซี)=น้าหนักปลา รวม (กิโลกรัม)-ปริมาตรซุพรีแฟค (ซีซี) บดยา ผสมน้ากลั่น และ ฮอรโ์ มน นาไปฉดี ปลา (ธนสรณ์, 2552) การฉีดฮอร์โมนพ่อ-แม่พันธ์ุ และปล่อยลงบ่อเพาะพันธ์ุ (ภาพท่ี 6) หลังจากปล่อยแม่ปลาลงบ่อ เพาะพันธุ์ประมาณ 24 ชวั่ โมง จึงทาการช้อนหวอดไปฟักในถงั ฟักไข่ (ภาพที่ 7)
5 ภาพที่ 5 พ่อแม่พนั ธ์ุปลาสลิด ภาพท่ี 6 การฉีดฮอรโ์ มนพ่อ-แม่พนั ธ์ุ และปล่อยปลาลงบ่อเพาะพันธ์ุ
6 ภาพท่ี 7 การชอ้ นหวอดไปฟักในถังฟกั ไข่ และไขฟ่ ักออกเป็นตวั ภายในระยะเวลา 18-24 ชวั่ โมง 2. อนบุ าลปลาสลิด หลังจากยา้ ยไขป่ ลาไปลงถงั ฟกั ไข่ ไขจ่ ะฟักออกเป็นตัวภายใน ระยะเวลา 18-24 ช่ัวโมง ฟักออกเป็นตัวจะรวมกลุ่มกันลอยเป็นแพ บริเวณผิวน้า จากนั้นทาการรวบรวมลูกปลาย้ายลงบ่อดิน และลูก ปลาจะเร่ิมกินอาหารเมื่ออายุ 3 วัน โดยกินโรติเฟอร์/ลูกไรแดง ลกู ปลาอายุ 8 วนั เริ่มกนิ อาหารผสม (รากับปลาปน่ ) อตั ราสว่ น 2:1 อนุบาลจนได้ขนาด 2-3 เซนติเมตร ระยะเวลา 25 วัน นาไปเลี้ยง ต่อไป (ภาพที่ 8)
7 3. การเล้ยี งปลาสลิด การเล้ียงปลาสลิดด้วยสูตรอาหารปลาอินทรีย์ โปรตีน 26% ในบอ่ ซีเมนต์รว่ มกบั ระบบ biofloc ซง่ึ biofloc เป็นตะกอนอินทรีย์ แขวนลอยในมวลน้า ยึดเกาะเป็นกลุ่มโดยพวกสาหร่าย และแพลงก์ ตอนพชื โปรโตซวั และแบคทีเรีย โดยกลุ่มแบคทีเรียจะเป็นพวกเฮท เทอโรโทรฟิค แบคทีเรีย (Heterotrophic Bacteria) ขนาดของ กลุ่มฟลอคอยู่ที่ 0.2-2.0 มิลลิเมตร ใช้เป็นอาหารปลาได้ประหยัด ตน้ ทนุ อาหารปลา หรือจะเล้ียงปลาสลิดในบ่อดิน/กระชังด้วยอาหารธรรมชาติ (แหนเป็ดเล็ก) และให้อาหารเสริมสูตรอาหารปลาอินทรีย์ โปรตีน 26% โดยน้าหนักแห้ง มีส่วนผสมดังนี้ ปลายข้าว 20 กิโลกรัม เปลือกถั่วดาวอินคา 27 กิโลกรัม ราละเอียด 28 กิโลกรัม ปลาป่น 15 กิโลกรัม สาหร่ายอาร์โธรสไปร่าผง 2-5 กิโลกรัม หรือถ้าเป็น สาหร่ายสด (20 กิโลกรัม ตากแห้งจะได้ 2 กิโลกรัม) และ น้ามัน 3 กิโลกรัม ให้ในปริมาณ 3-5% ของน้าหนักตัว/วัน โดยแบ่งให้ 2 ครั้ง/วัน จะช่วยเร่งการเจริญเติบโต ระยะเวลา 7 เดือน ได้ขนาด ตลาด (ภาพท่ี 9)
8 ภาพท่ี 8 การอนุบาล ให้ไดข้ นาด 3 เซนติเมตร ภาพที่ 9 การเลี้ยงปลาระบบ biofloc
9 4. เกษตรกรไดอ้ งคค์ วามรู้ การสรา้ งผลิตภณั ฑ์ปลาสลิด ขนาด 60 ตวั /กิโลกรัม จาหนา่ ยในชุมชน (ภาพที่ 10) ภาพที่ 10 การอบรมการแปรรปู ปลาสลดิ ของกลุ่มเกษตรกร โดยทมี คณาจารย์คณะเทคโนโลยกี ารประมงฯ มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ และกรมประมง และได้ผลิตภณั ฑป์ ลาสลดิ แดดเดยี วจาหน่ายในชมุ ชน 5. การเพมิ่ คุณภาพเน้ือปลาสลดิ มีโปรตนี โดยนา้ หนกั แหง้ ดังน้ี โปรตีนโดยน้าหนักแห้งในเนื้อปลาสลิดของเกษตรกรที่เล้ียง ในบ่อซีเมนต์ระบบ biofloc มีโปรตีน เท่ากับ 23.73 % มากกว่า ปลาสลิดท่ีเล้ียงในระบบบ่อซีเมนต์ท่ัวไป มีโปรตีนเท่ากับ 18.83 เปอร์เซ็นต์ และการผลิตปลาสลิดของเกษตรกรท่ีเลี้ยงในบ่อดิน ท่ัวไปมีค่าโปรตีนเท่ากับ 18.33 % (ภาพที่ 11) จากการวิจัย การเล้ียงปลาสลิดของกลุ่มเกษตรกรประมง ท่ีเลี้ยงปลาสลิด ในบ่อ ซีเมนต์ระบบ biofloc สามารถเพ่ิมโปรตีนในเน้ือปลาสลิดได้สูง
10 โดยเปรียบเทียบกับการผลิตปลาสลิดในบ่อดินแบบท่ัวไปของ เกษตรกร ภาพที่ 11 โปรตนี ในเนอื้ ปลาสลดิ ตลอดระยะเวลาการเล้ยี ง 3 เดอื น 6. ลดต้นทุนการผลิตปลาสลดิ อยา่ งนอ้ ย 10 % ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต ป ล า ส ลิ ด ข อ ง ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร ประมง ด้วยอาหารสตู รอาหารปลาอนิ ทรยี ์ โปรตนี 26% ท่เี ล้ยี งปลา สลิดในบ่อซีเมนต์ระบบ biofloc มีต้นทุนการผลิตเท่ากับ 27.60 บาท/กิโลกรัม ซ่ึงมีต้นทุนถูกกว่า การเลี้ยงปลาสลิดในบ่อซีเมนต์ มีต้นทุนการผลิตเท่ากับ 37.78 บาท/กิโลกรัม และการเล้ียงปลา สลิดในบ่อดินทั่วไป มีต้นทุนการผลิตเท่ากับ 33.87 บาท/กิโลกรัม (ภาพท่ี 12) (เป้าหมายของโครงการลดลงอยา่ งน้อย 10 %) จากการ วิจัยการเลี้ยงปลาสลิดของกลุ่มเกษตรกรประมง กลุ่มเกษตรกร
11 ประมงสามารถเล้ียงปลาสลิดในบ่อซีเมนต์ระบบ biofloc มีต้นทุน การผลิตเท่ากับ 27.60 บาท/กิโลกรัม ซ่งึ มีตน้ ทนุ ถูกกว่าการเลี้ยงใน ระบบบ่อดินทั่วไป และการเลี้ยงในระบบบ่อซีเมนต์ ซ่ึงการเล้ียงใน บ่อซีเมนตร์ ะบบ biofloc สามารถลดตน้ ทนุ การผลติ ได้ถงึ 28.22 % (เปรยี บเทยี บกับบ่อซเี มนต์) ภาพท่ี 12 ต้นทุนการการผลติ ปลาสลิด ตลอดระยะเวลาการเลย้ี ง 5 เดือน 7. ระยะเวลาในการเล้ียงปลาสลิดของเกษตรกรลดลงอย่างน้อย 15 วนั การเล้ียงปลาสลิดของเกษตรกร ระยะเวลา 3 เดือน ได้ ขนาด 60 ตัว/กิโลกรัม จะให้ได้ขนาดตลาด ที่ใช้ทาปลาสลิดแดด เดียวทั้งตัว ต้องเล้ียงประมาณ 7-8 เดือน ให้ได้ขนาด 10-15 ตัว/ กิโลกรัม จากการวิจัยคร้ังนี้ ดาเนินการได้ ระยะเวลาเล้ียง 3 เดือน เพ่ือใช้เปน็ พอ่ -แม่พนั ธ์ุปลาสลิดต่อไป จากผลการทดลองระยะเวลา
12 3 เดือน จะเห็นได้ว่าปลาสลิดที่เลี้ยงในบ่อซีเมนต์ระบบ biofloc มีน้าหนักเฉลี่ยต่อตัว เท่ากับ 15.57 กรัม/ตัว มากกว่าปลาสลิดที่ เลี้ยงในบ่อดิน มีค่าเท่ากับ 11.30 กรัม/ตัว และปลาสลิดท่ีเล้ียงใน บ่อซีเมนต์ มีค่าเท่ากับ 9.42 กรัม/ตัว (ภาพที่ 13) จากการวิจัยการ เลี้ยงปลาสลิดของกลุ่มเกษตรกรประมง ปลาสลิดที่เลี้ยงในบ่อ ซีเมนต์ระบบ biofloc มีน้าหนักเฉล่ียต่อตัว เท่ากับ 15.57 กรัม/ตวั ใช้เวลาการเลี้ยง 3 เดือน สามารถลดระยะการเลี้ยงลงได้ถึง 20-25 วัน (ดกี วา่ เป้าหมายที่ต้งั ไว้ลดลงอย่างน้อย 15 วนั ) โดยเปรยี บเทียบ กับการเล้ียงปลาสลิดในบอ่ ดนิ ภาพท่ี 13 นา้ หนกั ตัวเฉล่ียของปลาสลิด ตลอดระยะเวลาการเลีย้ ง 3 เดือน
13 เอกสารอา้ งอิง ธนสรณ์ รักดนตรี. 2552. การใช้ LHRHa ในการเพาะพันธุ์ปลาสลิด และการแปลงเพศดว้ ยฮอรโ์ มน Estradiol. คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม. มหาวทิ ยาลยันเรศวร. Promya J. 2008. Assessment of immunity stimulating capacity and Meat, Egg qualities of hybrid Tuptim Tilapia ND56 (Oreochromis sp.) fed on raw Spirulina. PhD Thesis, Department of Biology,Faculty of Science, Chiang Mai University.
14 แหล่งทุนอุดหนนุ ได้รับทุนอุดหนุนการทากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน การวิจัย โครงการ “Research for Community”ทุนอุดหนุนการ วิจัย ประจาปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับ สานกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) คณะผจู้ ดั ทาคู่มอื ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จงกล พรมยะ อาจารย์ ดร.อานภุ าพ วรรณคนาพล นาย สุฤทธิ์ สมบูรณช์ ัย นาย เทพพทิ ักษ์ บญุ ทา
คู่มอื การเพิม่ คุณภาพเนอ้ื ปลาเศรษฐกจิ ของกล่มุ เกษตรกร อาเภอสารภี เชยี งใหม่ (การเพาะเล้ยี งปลาหมอไทย; Anabas testudineus) Enhancement of economic fish meat of Sarapee Farmer Community, Chiang Mai (Climbing perch culture; Anabas testudineus) ไดร้ ับทุนอดุ หนนุ การทากจิ กรรมส่งเสรมิ และสนับสนนุ การวิจัย โครงการ “Research for Community”ทุนอุดหนนุ การวิจัย ประจาปงี บประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ รว่ มกับ สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.)
ก สารบญั (List of content) เรอ่ื ง หนา้ สารบญั เรอื่ ง ก สารบัญภาพ ข การเพาะปลาหมอไทย 1 การอนุบาลและเล้ียงปลา 6 เกษตรกรได้รับองค์ความรู้ 7 การเพมิ่ คณุ ภาพเนือ้ ปลาหมอไทย 8 ระยะเวลาในการเล้ยี งปลาหมอไทย 9 ตน้ ทุนการผลิตปลาหมอไทยของกลุม่ เกษตรกรประมง 10 เอกสารอ้างอิง 12 แหล่งทนุ อุดหนนุ 13 คณะผูจ้ ัดทาคู่มอื องคค์ วามรู้ 13
ข สารบัญภาพ (List of Illustrations) ภาพที่ หน้า 1 การเพาะพันธุ์ปลาหมอไทยในบอ่ ซีเมนต์ ณ 1 ฐานเรยี นรู้ด้านการประมงของเกษตรกร อ. สารภี จ. เชยี งใหม่ 2 การเลย้ี งพ่อ-แม่พันธ์ุปลาหมอไทยในบ่อซีเมนต์ 2 กลม และการดงู านของผบู้ ริหาร มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ 3 การคัดเลือกพ่อแมป่ ลาหมอไทย และไขป่ ลา 3 หมอไทย 4 อุปกรณ์เพาะพันธปุ์ ลา และการชง่ั น้าหนกั ปลา 4 5 การเตรยี มฮอร์โมน และการฉีดฮอรโ์ มนพ่อ-แม่ 4 พนั ธป์ุ ลาปลาหมอไทย 6 การผสมพันธป์ุ ลาหมอไทยในภาชนะ และการ 5 เพาะไรแดง 7 การอนบุ าลลกู ปลาดว้ ยไรแดง และการเลย้ี ง 6 ปลาหมอไทย โดยอาหารผสมสาหร่าย
ค สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้ (List of Illustrations) 7 ภาพท่ี 8 8 การอบรมการแปรรปู ปลาหมอไทยของกล่มุ 9 เกษตรกร โดยทีมคณาจารยค์ ณะเทคโนโลยี 11 การประมงฯ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ และกรม ประมง และได้ผลติ ภณั ฑ์ปลาหมอเผาเกลอื จ้าหน่ายในชมุ ชนได้ 9 โปรตีนในเนอื้ ปลาหมอไทย ตลอดระยะเวลา การเลีย้ ง 5 เดือน 10 น้าหนกั ตวั เฉลี่ยของปลาหมอไทย ตลอดระยะเวลาการเล้ยี ง 4 เดอื น 11 ต้นทุนการการผลติ ปลาหมอไทย ตลอดระยะเวลาการเลี้ยง 5 เดอื น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178