Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หอยกาบน้ำจืดของไทย

หอยกาบน้ำจืดของไทย

Description: หอยกาบน้ำจืดของไทย

Search

Read the Text Version

หอยกาบนํ้าจืดของไทย จฑุ ามาศ จวิ าลักษณ พชิ ติ พรหมประศรี อรภา นาคจนิ ดา กลุมงานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพสตั วนํา้ จดื สถาบนั วจิ ัยและพฒั นาทรพั ยากรประมงนาํ้ จดื สํานักวจิ ยั และพัฒนาประมงนา้ํ จดื กรมประมง 1

หอยกาบนํ้าจดื ของไทย จุฑามาศ จวิ าลักษณ พิชติ พรหมประศรี อรภา นาคจนิ ดา เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสอื ISBN 978-974-19-4681-5 พิมพค รงั้ ที่ 1: สิงหาคม 2550 จาํ นวน 500 เลม พิมพท ่ี โรงพิมพช ุมนมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ 2

คาํ นยิ ม หอยกาบนํา้ จืด (Bivalve) เปนสมาชกิ ของสัตวในกลมุ หอย (Phylum Mollusca) ซึ่ง เปนกลุมสตั วไ มม ีกระดกู สันหลงั อีกกลมุ หนึ่งทม่ี สี มาชิกจาํ นวนมาก และมีความสามารถใน การปรับตัวเขา กบั สงิ่ แวดลอ มไดด ี จงึ พบแพรก ระจายไดทวั่ ไป มรี ปู รางและขนาดตัวตา งๆกนั หอยกาบนํ้าจดื เปน สัตวท มี่ ีความสําคญั กบั ชวี ิตมนษุ ยค อ นขางสงู เน่ืองจากมกี ารนํามาใช ประโยชนอยา งหลากหลาย อาทิ เน้ือหอย ประชาชนบางกลุมนาํ มาปรงุ เปน อาหาร เปลือกหอย เม่ือขดั ผวิ นอกออกจะมีความมันวาว ซ่ึงนาํ มาใชในอุตสาหกรรมเคร่ืองประดบั หอยบางชนดิ นาํ มาใชใ นอตุ สาหกรรมเพาะเล้ยี งไขมกุ แทนหอยมกุ ทะเล เปลือกหอยบางชนดิ นาํ มาเขาเปน เครือ่ งยา นอกจากนหี้ อยบางชนิดยงั นํามาใชใ นพธิ กี รรมตางๆตามแตค วามเชือ่ ของแตละกลุม ชน สาํ นกั วจิ ยั และพฒั นาประมงนาํ้ จดื ไดเลง็ เหน็ ความสําคัญของหอยกาบนาํ้ จืดดงั กลา ว จึงไดส นบั สนนุ ใหจ ัดพิมพห นงั สอื เรอื่ ง หอยกาบนํ้าจดื ของไทย โดยจะเปนคูมอื แนะนําให ผสู นใจไดรูจกั กับหอยกาบนา้ํ จืดของประเทศไทยมากขนึ้ ท้งั ในเรอ่ื งของรูปรางลกั ษณะ แหลง อาศัย การแพรก ระจาย รูปแบบการนํามาใชป ระโยชน และวิธีการจาํ แนกชนดิ ของหอยแตละ ชนิดเทาทสี่ าํ รวจพบ (นายวิชยั กองรตั นโกศล) ผอู ํานวยการสาํ นักวจิ ยั และพฒั นาประมงนา้ํ จดื 3

สารบาญ หนา 5 รจู กั หอยกาบนาํ้ จดื 6 โครงสรางสวนตางๆของเปลอื กหอย 7 การขยายพนั ธุ 8 การฝง ตัว 9 ถน่ิ อาศัย 10 การกระจายพนั ธุ 11 การใชประโยชน 12 ลักษณะสําคญั ในการจาํ แนกชนิด 14 อนกุ รมวธิ าน 18 คูม ือจําแนกชนดิ ของหอยกาบนํ้าจืดทพ่ี บ 66 ดชั นี 69 บรรณานุกรม 4

รจู ักหอยกาบน้ําจืด หอย เปน สัตวท ่ถี กู จดั อยใู น Phylum Mollusca มีลกั ษณะทั่วไปคือ ไมม ีกระดกู สันหลัง ลําตัวนมิ่ ไมแ บง เปน ขอปลอ ง ประกอบดว ยสวนตา งๆไดแก หวั เทา แมนเทลิ กบั ชอ งแมนเทิล และอวยั วะภายใน สัตวใ นไฟลมั น้ีประกอบดวย ลน่ิ ทะเล (Chiton) หอยงาชา ง (Tusk Shell) หอยฝาเดยี ว (Gastropod) ทากทะเล (Nudibranch) ทากบก (Land Snail) หอยสองฝา (Bivalve) หอยงวงชา ง (Nautilus) หอยงวงชา งกระดาษ (Paper Nautilus) และหมึก (Squid, Cuttlefish, Octopus) หอยจดั เปนสตั วอ ีกไฟลมั หนงึ่ ท่ีมคี วามหลากหลายสงู และมีความสาํ คัญในอาณาจักร สัตว มกี ารคนพบกวา 100,000 ชนิด (Swennen et al., 2001) หอยกาบหรือหอยสองฝาอยูใน ชน้ั ไบวาลเวยี (Class Bivalvia) เปน สัตวทมี่ ีฝาสองฝา มีประมาณ 30,000 ชนิด เปลอื กหอยทั้ง สองฝาจะมรี ปู รา งเหมอื นกนั ขนาดใกลเคียงกนั แตก ลบั ซา ย-ขวา ยดึ ตดิ กนั ดว ยกลา มเน้ือยดึ ฝา (adductor muscle) และ เอน็ ยดึ ฝาหรือบานพับ (hinge ligament) ซง่ึ บานพบั จะยึดเปลอื กทาง ดานหลัง มักมสี ีดํา บรเิ วณใตบานพบั ประกอบดวยฟน เรยี กวา hinge teeth ซึ่งชว ยยดึ เปลอื กไว ดวยกัน ประกอบดวยฟนซโู ดคารดนิ ลั และฟน แลเทอรัล (พบในวงศ Amblemidae) หรอื ฟน คารด นิ ลั (พบในวงศ Corbiculidae) สาํ หรับการปด และเปด ของฝา เม่อื กลามเน้อื ยดึ เปลือกคลาย ตวั เอ็นจะเปน ตัวดึงใหฝ าเปด และการหดตวั ของกลา มเน้ือยดึ เปลอื กทําใหฝาถูกปด เปลอื ก สวนทถี่ กู สรา งข้นึ กอนและแกท สี่ ุดเรยี กวา อมั โบ การเพ่มิ ขนาดของเปลือกทําโดยการสรา ง เปลือกใหมรอบอมั โบเปน วงๆ ซอนขยายออกไปเรื่อยๆ ทาํ ใหเกดิ เสนลายบนเปลือกรอบอมั โบ ออกเปนช้ันๆ เรยี กวา เสนการเจริญเตบิ โต (growth line) ในการดวู าเปน เปลือกซายหรือขวา ทํา ไดโ ดยถือเปลอื กหอยใหด า นอัมโบตง้ั ข้ึนและใหดา นบานพับของเปลือกหนั เขา หาผสู งั เกต เปลือกที่อยซู กี ขวามอื คือเปลอื กขวา สว นเปลอื กทอ่ี ยูท างซายมอื คือเปลือกซาย รอยของกลา มเน้อื ตางๆ (muscle scar) ที่ดา นในของเปลือก 1. รอยของกลา มเนอื้ ยดึ ฝา (adductor muscle scar) รอยท่ีอยูด านหนาเรยี ก anterior adductor muscle scar รอยดา นทา ยเรียก posterior adductor muscle scar 2. รอยของกลา มเนอ้ื ดึงเทา (retractor muscle scar) เปนรอยเลก็ กวาและอยูใกลๆ กับ กลามเนื้อยดึ ฝาทง้ั สองขาง มหี นา ทดี่ ึงกลามเนือ้ เทา หดกลบั เขา ไปในเปลือก 3. รอยของกลามเนอ้ื พีดลั โพรแทรกเตอร (pedal protractor muscle scar) อยใู กลกบั รอยของกลา มเนือ้ ยึดฝาและรอยของกลา มเน้อื ดึงเทา สวนหนา ซึ่งเปนรอยทีอ่ ยูล า งสุด 5

โครงสรา งสวนตางๆของเปลอื กหอย ดานบน ปก สันดานหลัง บกี หรืออัมโบ ดา นหลัง ดานหนา เสนการเจริญเติบโต ดานลาง บีกหรอื อมั โบ บกี หรืออมั โบ ฟน คารด ินัล บานพับ เปลือกซาย เปลือกขวา บานพบั บานพบั หันเขาหาลําตัว ฟนซูโดคารดินลั ฟนแลเทอรลั รอยกลา มเนอ้ื พีดลั รอยกลามเนื้อพีดัล รีแทรกเตอรดานหนา รแี ทรกเตอรดานหลัง รอยกลามเนื้อ รอยกลา มเนือ้ แอดดักเตอรดานหลัง แอดดักเตอรด า นหนา รอยกลามเนอ้ื โพรแทรกเตอร 6

การขยายพันธุ หอยกาบนํ้าจืดทพ่ี บในไทยสว นใหญอยใู นอันดับ Unionoida ซง่ึ มีการสบื พนั ธุ ภายใน ไขท ี่อยใู นหอยกาบเพศเมียจะถูกผสมจากนํา้ เช้ือเพศผูท ีป่ นมาในนํา้ แลวเขา มาในตวั ทางทอ น้าํ เขา ไขทีไ่ ดรบั การปฏิสนธจิ ะอาศยั อยใู นเหงอื กของหอยกาบเพศเมยี ไขจ ะพัฒนา จนกลายเปน ตวั ออ นระยะโกลคเิ ดียท่สี มบรู ณ จงึ ถูกปลอ ยออกมาทางทอ น้ําออก แลวเขาไป อาศัยเปนปรสติ อยูในปลาน้ําจดื โดยเกาะและฝงตวั อยูบริเวณเหงือกและครบี จนเกิดการ เปลยี่ นแปลงรปู รางจากโกลคิเดยี ไปเปน ลกู หอยระยะจวู ไี นล ท่มี ลี กั ษณะเหมือนพอ แม แลว จึงหลุดจากตวั ปลาตกลงสพู ้นื ทอ งนํ้าหากนิ เปน อิสระตอ ไป แตห อยกาบนา้ํ จดื ในกลมุ Dreissenid เชน Dreissena polymorpha จะมกี ารปฏสิ นธิภายนอกลําตวั จึงมีตวั ออ นทว่ี ายน้ํา เปน อสิ ระ (Sprung, 1991) ลกู หอยระยะจวู ีไนลจ ะหลุดจากตวั อสุจเิ ขา ผสมกับ ปลาและลงสูพ้นื นํ้าแลวเจรญิ เปน ตัว ไขภ ายในตัวเมีย เต็มวัย ตวั ผู ตวั ออ นโกลคิเดียจะ ตวั เมยี เจริญเปน ลกู หอยระยะจูวไี นล ไขเจริญ บรเิ วณ เหงือก ตวั ออ นเขา เกาะ ตวั ออ นโกลคเิ ดยี เหงือกหรอื ครบี ของปลา ปลอยตวั ออ น ออกจากตวั หอย วงจรชีวติ ของหอยกาบน้ําจดื 8

การฝงตวั หอยกาบจะมกี ารฝงตัวในพนื้ ผวิ ทอ่ี อ นนมุ เชนโคลน โคลนปนทราย หรอื ทราย โดยใชเ ทา ขดุ พน้ื ผิวเพื่อฝงตวั หอยบางชนดิ จะฝง ตวั แทรกพื้นนุมระหวา งกอนหนิ 2 กอ น เชนหอยสกุล Trapezoideus จะเอาสว นอมั โบต้งั ขึ้นและเปดชอ งทางดา นบนเพอ่ื กรอง อาหารและหายใจ เกาะบนไม ฝง ตัวท่ีรอยแยกของ หนิ ใตน้ํา ฝงตัวในพน้ื ทรายใตน้ํา 8

ถ่นิ อาศยั เมือ่ แบงสภาพแหลงนา้ํ เปน 6 แบบไดแ ก กุด หนองนาํ้ อา งเกบ็ น้าํ หว ย ลํานํ้าสาขา และแมน าํ้ สายหลกั พบวาหอยกาบ Pilsbryoconcha exilis exilis, Pilsbryoconcha exilis compressa, Scabies phaselus, Ensidens ingallsianus ingallsianus, Uniandra contradens tumidula และ Corbicula moreletiana สามารถพบไดทุกสภาพแหลงน้ําซงึ่ แสดงวาเปน หอยที่ สามารถอยูไดท ัง้ นํา้ น่ิงและนํา้ ไหล ในขณะทห่ี อยกาบบางชนดิ จะพบเฉพาะบางแหลงนาํ้ เทานนั้ ไดแ ก Limnoperna supoti, Chamberlainia hainesiana, Unionetta fabagina, Indonaia substriata, Martesia strita, Dreissena sp., Corbicula tenuis และ Corbicula pingensis พบ เฉพาะในแมน า้ํ สายหลกั หอยกาบ Brachidontes arcuatulus, Polymesoda (Geloina) galatheae, Batissa similis และ Corbicula gubernatoria พบเฉพาะในลําน้ําสาขา โดยเฉพาะหอยกาบ Polymesoda (Geloina) galatheae และ Batissa similis จะพบในลาํ นาํ้ สาขาทีม่ ีสวนตอ กบั ทะเล สาํ หรบั แมนาํ้ สายหลักพบชนิดหอยมากทส่ี ุด 65 ชนิด รองลงมาไดแ ก ลํานา้ํ สาขา โดยพบ 61 ชนดิ และนอ ยท่ีสุดคอื กุดพบ 13 ชนิด หอยกาบนาํ้ จดื สามารถอยอู าศยั ไดใ นเน้ือดินหลาย ประเภท โดยเนอ้ื ดินทพี่ บชนิดของหอยกาบนํ้าจดื มากทสี่ ุดคือโคลน และทราย พบ 54 ชนดิ หอยท่พี บเฉพาะในเน้อื ดนิ บางประเภทเชน Pilsbryoconcha lemeslei, Unionetta fabagina, Indonaia substriata, Corbicula tenuis และ Corbicula gubernatoria พบเฉพาะพ้นื เปนทราย หอยกาบ Trapezoideus exolescens pallegoixi, Polymesoda (Geloina) bengalensis, Polymesoda (Geloina) galatheae และ Corbicula messageri พบเฉพาะพนื้ เปนโคลน หอยทราย Corbicula bocourti พบเฉพาะพื้นเปนโคลนปนทราย หอยกาบ Batissa similis พบ เฉพาะพนื้ เปน ทรายปนกรวด หอยบางชนดิ จะเกาะกบั ตนไมที่ขึ้นรมิ แมน้ําซึ่งติดตอ กบั ทะเล ไดแก หอยทองหลาง Enigmonia aenigmatica บางชนดิ อาศัยอยใู นไมท่จี มน้ําในแมน้าํ ซ่ึง ติดตอ กบั ทะเลโดยเจาะไมเขา ไป ไดแก หอยเจาะไม Martesia strita หอยหลายชนดิ มเี สนใย ยึดเกาะกับวัสดใุ นนาํ้ เชนหนิ หรือขอนไม ไดแก Scaphula pinna, Limnoperna siamensis, Limnoperna supoti, Brachidontes arcuatulus และ Dreissena sp. (จุฑามาศ และคณะ, 2550) 9

การกระจายพันธุ ประเทศไทยไดแ บง ระบบลมุ นํา้ เปน 25 ลมุ นํ้า (กรมปาไม, 2549) ดงั นี้ ภาคเหนอื ประกอบดว ย ลุมน้ําสาละวิน ลมุ น้ําโขง 1 ลุม นํา้ แมก ก ลมุ น้ําปง ลมุ นํ้าวงั ลมุ นํา้ ยม ลมุ น้ํานาน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประกอบดว ยลุมนา้ํ โขง 2 ลมุ น้าํ ชี ลมุ นํา้ มลู ภาคกลาง ประกอบดว ย ลมุ นํา้ เจา พระยา ลมุ น้าํ สะแกกรัง ลุมนา้ํ ปา สกั ลุมน้าํ ทา จีน ภาคตะวนั ออก ประกอบดว ย ลุมนาํ้ ปราจนี บรุ ี ลมุ น้าํ บางปะกง ลมุ น้าํ โตนเลสาบ ลุมน้าํ ชายฝง ทะเลตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก ประกอบดว ย ลุมนาํ้ แมก ลอง ลุมนํ้าเพชรบุรี ลุม นาํ้ ชายฝง ทะเลตะวนั ตก ภาคใต ประกอบดวย ลุมนํ้าภาคใตฝ งตะวนั ออก ลมุ น้ําตาป ลุมนา้ํ ทะเลสาบสงขลา ลุมนํ้าปต ตานี ลุมน้าํ ภาคใตฝง ตะวนั ตก หอยกาบนาํ้ จดื มีการแพรก ระจายในเกอื บทกุ แหลง นํา้ ในทกุ จังหวดั ของประเทศไทย จากการศกึ ษาของจุฑามาศ และคณะ (2550) พบวา ลุม นาํ้ ท่ีมีหอยกาบมากที่สุดไดแ กล ุมน้ําใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบหอยกาบทั้งหมด 57 ชนดิ จากท่ีพบทัง้ หมด 72 ชนดิ (คิดเปน รอ ย ละ 79.2 ของหอยกาบทง้ั หมดท่พี บ) รองมาไดแก ลุมนํา้ ในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออก 47 ชนิด (รอยละ 65.3) สําหรบั ลมุ นํ้าในภาคใต พบ 41 ชนดิ (รอยละ 56.9) สวนลุม นาํ้ ในภาคกลาง และภาคตะวนั ตกพบหอยกาบนอยชนดิ ทสี่ ดุ คอื ภาคละ 36 ชนิด (รอ ยละ 50) หอยทพี่ บเฉพาะลมุ นาํ้ ในบางภาคเชนหอย Pilsbryoconcha lemeslei, Unionetta fabagina, Scabies nucleus, Indonaia substriata, Ensidens ingallsianus dugasti, Physunio eximius, Trapezoideus exolescens exolescens, Trapezoideus exolescens pallegoixi และ Corbicula tenuis พบเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนอื หอย Martesia striata และ Corbicula messageri พบเฉพาะในลมุ นํ้าภาคตะวันออก หอย Brachidontes arcuatulus, Dreissena sp., Polymesoda (Geloina) galatheae, Batissa similis และ Corbicula gubernatoria พบเฉพาะใน ลุมนาํ้ ในภาคใต 10

การใชประโยชน หอยกาบนาํ้ จดื เปนสัตวนํ้าทม่ี ีความสําคัญทางเศรษฐกจิ เน่อื งจากสามารถนาํ มาใช ประโยชนไดท งั้ เน้อื และเปลอื ก หอยกาบหลายชนดิ สามารถนํามาบรโิ ภคเชน หอยทราย Corbicula spp. นิยมนาํ ไปผัดกบั ใบโหระพา พบวางขายในตลาดแทบทกุ ภาค หอยกาบลาย Scabies spp. และหอยกาบก้ี Pilsbryoconcha spp. ก็นิยมนํามาบริโภคเชนกนั สาํ หรบั เปลือก หอยกาบนน้ั หอบกาบหลายชนดิ เมอื่ นํามาขดั เปลอื กแลวจะเหน็ ชั้นมุกแวววาวสวยงาม สามารถนํามาใชท าํ เครอ่ื งประดับและของใช เชนตางหู พวงกุญแจ เขม็ กลัดติดเส้ือ เปนตน เปลือกหอยกาบบางชนิด ไดแก หอยกาบใหญ Chamberlainia hainesiana หอยขวาน Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus หอยขาว Hyriopsis (Limnoscapha) desowitzi หอยกาบ Hyriopsis (Limnoscapha) myersiana หอยกาบ Pseudodon vondembuschianus ellipticus และ หอยเงยี้ บ Ensidens ingallsianus ingallsianus นิยมนาํ มาใชใ นการทําหตั ถกรรม ประดับมกุ นอกจากการนาํ เน้อื และเปลือกมาใชประโยชนแ ลว หอยกาบบางชนดิ ทม่ี เี ปลือก ใหญและหนา ดา นในเปลอื กมคี วามแวววาวสามารถนํามาใชประโยชนในการเพาะเลยี้ ง ไขมกุ นํา้ จดื ไดอ กี ดวย ไดแ ก หอยกาบใหญ Chamberlainia hainesiana หอยขวาน Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus หอยขาว Hyriopsis (Limnoscapha) desowitzi หอยกาบ Hyriopsis (Limnoscapha) myersiana และ หอยกาบ Pseudodon vondembuschianus ellipticus โดยไขมุกทไ่ี ดจ ะเปนไขมุกแบบไมม แี กน มรี ูปรางหลากหลาย มีสสี ันตามสดี าน ในของเปลอื กหอยทน่ี ํามาเพาะเลย้ี ง (อรภา และคณะ, 2548) 11

ลกั ษณะสําคญั ในการจําแนกชนิด รูปรางของเปลอื ก และฟน หอยกาบนน้ั สามารถจําแนกโดยลกั ษณะสณั ฐานวิทยาของเปลอื กหอย รูปราง ของเปลอื กหอยกาบมหี ลายแบบ เชน เปนรปู สี่เหลี่ยมดานไมเทา รูปสามเหลย่ี ม รปู กลม รปู 1/4 ของวงกลม รูปไขแ ละรปู รี หอยกาบบางชนดิ ดานหนา และดา นหลงั หรอื เฉพาะ ดา นหลังจะมแี งย กตวั ขน้ึ สูงเรยี กวา ปก บางชนดิ มีสันดา นหลงั โคงนนู ขนึ้ หรอื เวา ลงไป ในเปลอื ก (Pennak, 1989) ก ขค งจ ฉ ชซ ฌ ญฎ ฏ เปลอื กรูปแบบตางๆของหอยกาบ ก. รูปส่เี หล่ียมดา นไมเทา ข. รูปสามเหลย่ี ม ค. รูปกลม. ง. รปู ¼ ของวงกลม จ. รูปไข. ฉ – ช . รปู รี ซ. รปู สเี่ หลี่ยมคางหมู ฌ. รูปยาวรีคลา ยลิม่ ญ. รูปยาว ฎ. เปลือกมีสันดา นหลงั โคง นนู ฏ. เปลือกมี สนั ดา นหลงั เวา ลง 12

นอกจากการดรู ูปรา งของเปลอื กภายนอกแลว ลักษณะของฟน หอยก็สามารถใช ประกอบในการจําแนกชนดิ เชน กนั หอยกาบบางชนิดอาจมรี ูปรางภายนอกคลา ยกนั แต ลักษณะฟน ของหอยตา งสกลุ กนั ยอ มตางกนั หอยกาบบางชนดิ ไมม ฟี น เชน สกลุ Pilsbryoconcha มฟี น ซโู ดคารดนิ ลั แตไ มม ฟี น แลเทอรัลเชน หอยสกุล Pseudodon ฟนซโู ดคารดินัล มีฟนซโู ดคารด นิ ลั และฟน แลเทอรัลเชนหอยสกุล Hyriopsis ฟนซโู ดคารด ินลั ฟนแลเทอรลั 13

อนกุ รมวิธาน หอยกาบน้ําจืดท่ีปรากฏในหนังสือเลมนี้ ไดจากสํารวจตามแหลงนํ้าตางๆท่ัว ประเทศไทย ตั้งแตป 2546 – 2549 พบหอยกาบนํ้าจืดทั้งสิ้น 6 อันดับ 7 วงศ 21 สกุล 72 ชนิด จําแนกตามหลกั อนุกรมวธิ านไดยึดถือตาม Brandt (1974) ดงั น้ี Phylum Mollusca Class Bivalvia Subclass Pteriomorphia Beurlen, 1944 Order Arcoida Stoliczka, 1871 Family Arcidae Lamarck, 1809 1. Scaphula pinna Benson, 1856 Order Mytiloida Férussac, 1822 Family Mytilidae Rafinesque, 1815 2. Limnoperna siamensis (Morelet, 1875) 3. Limnoperna supoti Brandt, 1974 4. Brachidontes arcuatulus (Hanley, 1844) Order Ostreoida Férussae, 1822 Family Anomiidae Rafinesque, 1815 5. Enigmonia aenigmatica (Holten, 1803) Subclass Schizodontida Steinmann, 1888 Order Unionoida Stoliczka, 1871 Family Amblemidae Rafinesque, 1820 Subfamily Pseudodontinae Frierson, 1927 6. Pilsbryoconcha lemeslei (Morelet, 1875) 7. Pilsbryoconcha exilis exilis (Lea, 1839) 8. Pilsbryoconcha exilis compressa (Martens, 1860) 9. Pseudodon mouhoti (Lea, 1863) 10. Pseudodon inoscularis callifer (Martens, 1860) 14

11. Pseudodon inoscularis cumingi (Lea, 1850) 12. Pseudodon cambodjensis cambodjensis (Petit, 1865) 13. Pseudodon cambodjensis tenerrimus Brandt, 1974 14. Pseudodon vondembuschianus ellipticus Conrad, 1865 15. Pseudodon vondembuschianus chaperi (Morgan, 1885) Subfamily Hyriopsinae Modell, 1942 16. Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus Simpson, 1900 17. Hyriopsis (Hyriopsis) delaportei (Crosse & Fischer, 1876) 18. Hyriopsis (Limnoscapha) desowitzi Brandt, 1974 19. Hyriopsis (Limnoscapha) myersiana (Lea, 1856) 20. Chamberlainia hainesiana (Lea, 1856) 21. Cristaria plicata (Leach, 1815) Subfamily Parreysiinae Henderson, 1935 22. Unionetta fabagina (Deshayes, 1876) 23. Scabies crispata (Gould, 1843) 24. Scabies phaselus (Lea, 1856) 25. Scabies nucleus (Lea, 1856) 26. Indonaia substriata (Lea, 1856) 27. Indonaia pilata (Lea, 1866) Subfamily Rectidentinae Modell, 1942 28. Ensidens ingallsianus ingallsianus (Lea, 1852) 29. Ensidens ingallsianus dugasti (Morlet, 1892) 30. Uniandra contradens ascia (Hanley, 1856) 31. Uniandra contradens rusticoides Brandt, 1974 32. Uniandra contradens tumidula (Lea, 1856) 33. Uniandra contradens rustica (Lea, 1856) 34. Uniandra contradens crossei (Deshayes, 1876) 35. Uniandra contradens fischeriana (Morlet, 1883) 15

36. Physunio superbus (Lea, 1843) 37. Physunio eximius (Lea, 1856) 38. Physunio inornatus (Lea, 1856) 39. Physunio micropterus (Morelet, 1866) 40. Physunio cambodiensis (Lea, 1856) 41. Physunio modelli Brandt, 1974 42. Trapezoideus exolescens exolescens (Gould, 1843) 43. Trapezoideus exolescens pallegoixi (Sowerby, 1867) 44. Trapezoideus exolescens comptus (Deshayes, 1876) Subclass Heterodonta Neumayr, 1884 Order Myoida Goldfuss, 1820 Family Pholadidae Lamarck, 1809 45. Martesia strita (Linnaeus, 1758) Order Veneroida H. & A. Adams, 1858 Family Dreissenidae Gray, 1840 46. Dreissena sp. Family Corbiculidae Gray, 1847 47. Polymesoda (Geloina) bengalensis (Lamarck, 1818) 48. Polymesoda (Geloina) proxima (Prime, 1864) 49. Polymesoda (Geloina) galatheae (Mörch, 1850) 50. Batissa similis Prime, 1860 51. Corbicula arata (Sowerby, 1877) 52. Corbicula blandiana Prime, 1864 53. Corbicula bocourti (Morelet, 1865) 54. Corbicula javanica (Mousson, 1849) 55. Corbicula lamarckiana Prime, 1864 56. Corbicula lydigiana Prime, 1861 57. Corbicula castanea (Morelet, 1865) 16

58. Corbicula cyreniformis Prime, 1860 59. Corbicula tenuis Clessin, 1887 60. Corbicula fluminea (O.F. Müller, 1774) 61. Corbicula noetlingi Martens, 1899 62. Corbicula gustaviana Martens, 1900 63. Corbicula moreletiana Prime, 1867 64. Corbicula iravadica Hanley & Theobald, 1876 65. Corbicula boudoni Morlet, 1886 66. Corbicula pingensis Brandt, 1974 67. Corbicula gubernatoria Prime, 1869 68. Corbicula occidentiformis Brandt, 1974 69. Corbicula leviuscula Prime, 1864 70. Corbicula solidula Prime, 1861 71. Corbicula messageri Bavay & Dautzenberg, 1901 72. Corbicula vokesi Brandt, 1974 17

คูมอื จําแนกชนดิ ของหอยกาบนาํ้ จืดท่พี บ (ดดั แปลงจาก Brandt, 1974) คยี สาํ หรับช้นั ยอยของหอยกาบ 1. ฟนทบ่ี านพบั (ถา มี) ไมเปลีย่ นเปน ฟน คารดินลั และฟนแลเทอรลั ...........Pteriomorphia ฟนทบ่ี านพบั (ถามี) เปลยี่ นเปนฟนคารด นิ ัลและฟน แลเทอรลั (ภาพ ก)………...……2 2. บานพับไมม ีฟนคารดินัลแท ฟน แลเทอรัลดานหนาเปลี่ยนเปน ฟน ซูโดคารดินัล........... …………………………………………………………………….……Schizodontida บานพบั มฟี น คารด นิ ัลแท (ภาพ ข).…………………………………....….Heterodonta ฟน ซูโดคารด นิ ัล ฟนแลเทอรลั ฟน คารด ินัล กข ลักษณะฟน ของหอยกาบ ก. ฟน ซโู ดคารด นิ ลั และฟนแลเทอรลั ข. ฟนคารด นิ ลั คยี ส ําหรับลาํ ดบั ในชน้ั ยอ ย Pteriomorphia 1. เปลือกสองฝาเหมอื นกัน........................................................................................................2 เปลือกสองฝาไมเ หมอื นกนั .............................................Ostreoida: Enigmonia aenigmatica 2. บานพับมีฟน คมหลายอัน................................................................Arcoida: Scaphula pinna บานพบั ไมม ฟี น...................................................................................................Mytiloida: 3 3. ผิวมีรัศมที ดี่ า นทายของเปลือก...................................................... Brachidontes arcuatulus ผวิ ไมม รี ัศมีทีด่ า นทา ยของเปลอื ก……………………………..….…………. Limnoperna: 4 18

4. เปลือกดานหลงั จะโคงกวา งกวา ดานหนา มาก (ประมาณ 4 เทา ของดา นหนา )......................... ………………………………………………………………….…….Limnoperna siamensis เปลือกดา นหลงั จะโคงกวา งกวา ดานหนา (ประมาณ 2.5 เทา ของดานหนา ).............................. ……………………………………………………………………….……Limnoperna supoti คยี สําหรับวงศย อ ยในวงศ Amblemidae 1. บานพบั ประกอบดว ยฟน แลเทอรลั ........................................................................................2 บานพับไมม ีฟนแลเทอรลั ......................................................................................................3 2. ฟน ซโู ดคารดนิ ลั เปน แผน เรยี บ..........................................................................Rectidentinae ไมม ฟี นซูโดคารดินลั หรอื ถา มจี ะมลี ักษณะเปนรอ งฟน .........................................................4 3. เปลอื กรูปคลา ยตะขอ........................................................................................Modellnaiinae เปลอื กรูปไมคลา ยตะขอ……………………….…..………………………..Pseudodontinae 4. เปลือกโดยทั่วไปมีปก ..........................................................................................Hyriopsinae เปลือกโดยทว่ั ไปไมม ปี ก .....................................................................................Parreysiinae คียสําหรบั สกุลในวงศย อ ย Pseudodontinae 1. บานพบั ไมม ฟี น ..............................................................................................Pilsbryoconcha บานพับมีฟน ซูโดคารดนิ ลั เปนปุม 1 ปุมในแตล ะฝา………...……….…………..Pseudodon คียส าํ หรับชนดิ /ชนดิ ยอยในสกุล Pilsbryoconcha 1. ความยาวตอ ความสงู 2:1 ปกดานหลงั สั้น.............................................................................2 ความยาวตอ ความสูง 3:1 หรอื 3:1.2............................................... Pilsbryoconcha lemeslei 2. เปลือกหลังปลายชีล้ งเลก็ นอ ย เปลอื กดา นลางโคง เล็กนอ ย……………………………...…… …………………………………………………………………………..Pilsbryoconcha exilis exilis เปลอื กหลงั ปลายชตี้ รง เปลือกดา นลา งเกือบตรง...................................................................... ……………………………………………………………………..Pilsbryoconcha exilis compressa 19

คียสาํ หรบั ชนดิ /ชนิดยอยในสกุล Pseudodon 1. ความสงู นอ ยกวา 2/3 ของความยาว......................................................................................2 ความสงู 2/3 ของความยาวหรอื มากกวา .................................................................................5 2. เปลอื กบาง..............................................................................................................................3 เปลือกหนาปานกลาง.............................................................................................................4 3. เปลือกดานบนและลางเกอื บขนานกนั ฟน ซูโดคารดนิ ัลเปน ตุม แขง็ แรง................................. ……………………….…………….…………….…….…Pseudodon vondembuschianus chaperi เปลอื กรปู ไต ดานหลังมปี ก เลก็ นอ ย ฟนซูโดคารด ินัลเปนตมุ เลก็ บาง...................................... ................................................................................................................ Pseudodon mouhoti 4. ไมม ปี ก เปลอื กดานหลงั โคงมน........................................... Pseudodon inoscularis cumingi เปลือกดา นหลังมปี ก เลก็ นอย................................. Pseudodon vondembuschianus ellipticus 5. เปลอื กสามเหลี่ยมมน มีปก ดานหลงั .............................................. Pseudodon cambodjensis เปลือกดา นหลงั ไมยกขน้ึ ปอ งปานกลาง................................ Pseudodon inoscularis callifer 6. เปลอื กอวนปอม....................................................... Pseudodon cambodjensis cambodjensis เปลือกแบน................................................................. Pseudodon cambodjensis tenerrimus คียส ําหรบั สกุลในวงศย อย Hyriopsinae 1. บานพับมซี โู ดคารดนิ ลั .........................................................................................................2 บานพบั ไมม ซี ูโดคารดินลั .......................................................................... Cristaria plicata 2. เปลือกยาว ความสงู ไมเ กนิ 120 มิลลเิ มตร มีปก ดานหนา ...................................... Hyriopsis เปลอื กตวั เตม็ วัยสงู กวา 130 มิลลเิ มตร เปลอื กเปนรูปกึ่งวงกลม มแี งดานหลงั เทา นน้ั ............ .................................................................................................... Chamberlainia hainesiana 20

คียส าํ หรบั สกุลยอ ยในสกลุ Hyriopsis 1. ฟนซูโดคารด นิ ัลในฝาขวาเปน ซี่เล็กๆเรยี งเปน แนวตามขวางของบานพบั แตไ มเ ปน รองลึก .............................................................................................................................. Hyriopsis ฟนซโู ดคารด ินัลในฝาขวาเปน รอ งลกึ คม เรยี งเปนแนวตามขวางของบานพับ..................... ........................................................................................................................ Limnoscapha คียส ําหรับชนดิ ในสกุลยอย Hyriopsis (Hyriopsis) 1. ความสูงนอ ยกวาคร่ึงหนงึ่ ของความยาวเปลอื ก (ไมร วมปก )................................................... ………………………………………………………..…..…..Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus ความสูงมากกวาครึ่งหนึ่งของความยาวเปลือก (ไมรวมปก )..................................................... ……………………………………………………………Hyriopsis (Hyriopsis) delaportei คยี ส าํ หรับชนดิ ในสกลุ ยอ ย Hyriopsis (Limnoscapha) 1. เปลอื กยาวไมเ กนิ 120 มลิ ลิเมตร เปลือกปอง รองฟนซูโดคารดินลั แคบ ................................ ………………………………………………………….Hyriopsis (Limnoscapha) desowitzi เปลอื กในตวั เตม็ วยั ยาวกวา 140 มิลลิเมตร เปลือกไมป อ งมาก รอ งฟน ซูโดคารดินลั กวาง …. ..................................................................................... Hyriopsis (Limnoscapha) myersiana คยี ส าํ หรับสกลุ ในวงศย อ ย Parreysiinae 1. เปลือกสั้น รปู ไขค รึง่ วงกลม.................................................................... Unionetta fabagina เปลือกรปู ไขค อ นขางยาว.......................................................................................................2 2. ฟนซูโดคารดนิ ัลลกั ษณะแบนเรยี บ ......................................................................... Indonaia ฟน ซโู ดคารด ินัลลกั ษณะเปน ฟน แหลมคม ................................................................ Scabies 21

คียสําหรบั ชนดิ ในสกุล Scabies 1. เปลอื กรปู ไขค อ นขา งยาว ลวดลายเปนสนั คมชัด มี 6 สันในชว งสงู 10 มลิ ลิเมตร.................2 เปลอื กรูปไตยาว ลวดลายขาดหายไป หรือมี 9 สันในชว งสงู 10 มลิ ลเิ มตร............................. .……………………………………………………………………………Scabies phaselus 2. เปลือกยาว 23 มิลลิเมตรหรือนอยกวา ยาว : สูง นอ ยกวา หรือเทา กับ 1.5 :1 ……………….. ...................................................................................................................... Scabies nucleus เปลือกยาว 35 มลิ ลิเมตรหรือมากกวา ยาว : สูง มากกวา กวา 1.5 :1 ……….Scabies crispata คียสําหรบั ชนดิ ในสกลุ Indonaia 1. เปลอื กดานหลงั เกือบกลม เปลอื กยาวนอ ยกวา 40 มลิ ลิเมตร................... Indonaia substriata เปลอื กดานหลังเกือบกลม เปลอื กยาวมากกวา 40 มิลลิเมตร...........................Indonaia pilata คยี ส าํ หรับสกุลในวงศย อย Rectidentinae 1. ฟน ที่บานพบั บอบบาง ............................................................................................................2 ฟนท่ีบานพบั คอนขางแข็งแรง................................................................................................3 2. เปลือกปอ งมากหรือนอ ย...........................................................................................Physunio เปลอื กแบน........................................................................................................Trapezoudeus 3. เปลือกรปู ไข ลวดลายบนอัมโบเปนรอยหยัก...........................................................Uniandra เปลอื กรูปไข ไมมีลวดลายบนอมั โบ..........................................................................Ensidens คียส าํ หรบั ชนดิ ยอยในชนดิ Ensidens ingallsianus 1. เปลือกบนและลางขนานกัน.................................................... Ensidens ingallsianus dugasti เปลือกบนและลา งไมขนานกัน……………..………… Ensidens ingallsianus ingallsianus 22

คียส ําหรบั ชนดิ ยอ ยในชนดิ Uniandra contradens 1. ความยาวตอ ความสูง 2:1 ……………………………..…… Uniandra contradens tumidula ความยาวตอ ความสงู นอยกวา 2:1.........................................................................................2 2. เปลือกเรียบ ไมมรี อยยน ถามจี ะมีเฉพาะที่อมั โบเทา นน้ั ........................................................3 เปลือกมรี อยยน ทั้งเปลือก......................................................................................................4 3. เปลอื กรูปไข. .............................................................................. Uniandra contradens ascia เปลือกกลม ส้ัน ปอ ง................................................................ Uniandra contradens crossei 4. มีปกเล็กนอ ยทเ่ี ปลอื กดา นหลงั .......................................... Uniandra contradens fischeriana ไมม ีปก...................................................................................................................................5 5. เปลอื กรปู ไข กลม ปอ ม...................................................... Uniandra contradens rusticoides เปลอื กรปู ไขยาว....................................................................... Uniandra contradens rustica คยี ส ําหรับชนดิ ในสกุล Physunio 1. ความสูงของเปลอื กตวั เตม็ วยั มากกวา 60 มลิ ลเิ มตร เปลอื กปองมาก....................................... ……………………………………………………………………………Physunio superbus ความสูงของเปลอื กตัวเตม็ วัยนอยกวา 60 มิลลิเมตร เปลือกไมปอ งหรอื ปองปานกลาง……... ...............................................................................................................................................2 2. เปลอื กสเี่ หลี่ยมคางหมู แบน..................................................................................................3 เปลอื กรปู ไข ปองปานกลาง...................................................................................................4 3. ปกสูงกวา 30 มิลลิเมตร ฟน แลเทอรลั เดนชัด และแยกจากกนั .................. Physunio eximius ปกสงู 30 มิลลิเมตรหรือตํ่ากวา ฟน แลเทอรลั บางมากและขนานกนั ...................................... ………………………………………………………………………Physunio cambodiensis 4. เปลอื กมปี ก เดน ชดั ขอบบนเฉยี งขึน้ ฟน แลเทอรัลแขง็ แรง และแยกจากกนั .........................5 เปลือกไมม ปี กเดน ชดั ขอบบนเกอื บขนานกบั ขอบลา ง ฟนแลเทอรัล บางและขนานกนั …… ................................................................................................................... Physunio modelli 23

5. ขนาดของเปลือกตัวเต็มวยั ยาว:สงู 50 : 28 หรอื นอยกวา ........................ Physunio inornatus ขนาดของเปลือกตวั เตม็ วยั ยาว:สูง 50 : 32 หรอื มากกวา ..................... Physunio micropterus คยี ส าํ หรับชนดิ ยอยในชนดิ Trapezoideus exolescens 1. เปลือกส่ีเหลยี่ มคางหมู ปลายดานหลังสงู กวาดานหนา ..........................................................2 เปลือกก่งึ ทรงกระบอก ปลายดา นหลังไมส งู กวาดานหนา ....................................................... ………………………………………………................Trapezoideus exolescens exolescens 2. เปลือกตวั เตม็ วัยหนา ฟน เจรญิ ดี....................................... Trapezoideus exolescens comptus เปลือกตัวเตม็ วัยบาง ฟน บอบบาง ในตวั เตม็ วยั เส่อื มไป.......................................................... ………………………………………………………….Trapezoideus exolescens pallegoixi คียสําหรับวงศใ นอนั ดับ Veneroida 1. บานพับไมม ีฟน แลเทอรลั ............................................... Family Dreissenidae: Dreissena sp. บานพับมีฟน แลเทอรลั ........................................................................... Family Corbiculidae คยี ส าํ หรบั สกุลในวงศ Corbiculidae 1. ฟน แลเทอรลั เรียบ ผวิ เปลือกไมมีสัน................................................ Polymesoda (Geloina) ฟน แลเทอรัลเปนซี่..............................................................................................................2 2. ผวิ เปลอื กมเี ฉพาะเสนการเจริญเตบิ โตเทา นัน้ เปลอื กยาวกวา 50 มลิ ลเิ มตร......................... …………………………………………………………………………………...….. Batissa similis ผวิ เปลือกมสี นั เปลอื กยาวนอยกวา 45 มิลลเิ มตร................................................ Corbicula คยี ส าํ หรบั ชนดิ ในสกลุ Polymesoda (Geloina) 1. เปลือกไมกลม.....................................................................................................................2 เปลือกกลม........................................................................ Polymesoda (Geloina) proxima 24

2. เปลอื กก่ึงสามเหล่ยี ม ยาว : สงู เทา กับหรอื มากกวา 1 : 0.9...................................................... …………………………………….……………………Polymesoda (Geloina) bengalensis เปลือกรปู ไข ยาว : สูง นอ ยกวา 1 : 0.9……………...…... Polymesoda (Geloina) galatheae 25

ความยาว ความหนา ความสูง การวัดขนาดหอย (มาตราสว นในหนังสอื เลมนีเ้ ทากับ 1 เซนติเมตร) ความชุกชุม : พบไมบอ ย หมายถงึ พบบางในบางแหลงน้ําที่เกบ็ พบบอย หมายถึง พบในแหลง น้ําทวั่ ไปที่เก็บ พบบอยมาก หมายถึง พบในเกอื บทุกแหลง น้ําท่ีเก็บ ลําดับ Arcoida Stoliczka, 1871 บานพบั ประกอบดวยฟนคมหลายซีข่ นาดเทาๆกัน มีกลามเนือ้ ยึดฝาดานหนา (anterior adductor) วงศ Arcidae Lamarck, 1809 เปลือกยาว เปลอื กดา นบนยาวและตรง บานพับยาว มีเสนใยใชในการยึดเกาะ Scaphula pinna Benson, 1856 ขนาด (ซม.) : ยาว 0.6 – 1.1 สูง 0.2 – 0.4 หนา 0.2 ความชกุ ชุม : พบไมบ อ ย ลกั ษณะการอาศัย : ยึดเกาะกบั หิน หรอื ไมใตนา้ํ การใชประโยชน : - แหลง ท่พี บ : ลุมนา้ํ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และลมุ นํ้าภาคตะวันออก ลักษณะ : เปลือกยาว เปลือกบนและลางเกือบขนานกนั เปลือกแบงเปนสองสว นดวยสันคมวิง่ จากอมั โบ ถงึ สวนลางของเปลอื ก เปลอื กสีนา้ํ ตาล บานพับ (hinge plate) แคบ มีเสนใยใชใ นการยึดเกาะ มฟี น 5 ซบี่ ริเวณดานหนา (anterior) และ 6 ซบี่ รเิ วณดา นหลัง (posterior) ตรงกลางไมมฟี น 26

ลาํ ดบั Mytiloida Férussac, 1822 ไมมีฟนทบี่ านพับ และไมมีกลา มเน้ือยดึ ฝาดานหนา (anterior adductor) วงศ Mytilidae Rafinesque, 1815 เปลอื กสองขางเทากัน อมั โบอยูใกลดานหนามาก รปู รา งมักเปน รปู สามเหล่ยี ม Limnoperna siamensis (Morelet, 1875) ขนาด (ซม.) : ยาว 0.6 – 2.6 สูง 0.6 – 1.0 หนา 0.4 – 0.7 ความชกุ ชุม : พบไมบอ ย ลักษณะการอาศัย : ยดึ เกาะกบั หิน หรอื ไมใ ตน้ํา การใชประโยชน : - แหลง ท่พี บ : พบทุกลุมน้ํา ลกั ษณะ : เปน หอยขนาดเล็ก ตวั เต็มวยั มีความยาวเปลือกมากกวา 1.5 ซม. เปลอื กดานหนา มีปลายมน สวนดา นหลังจะโคงกวางกวามาก (ประมาณ 4 เทา ของดานหนา) เปลือกดา นลา งตรงหรือเวาเขาเล็กนอย เปลอื กบาง อัมโบเล็ก มเี สนใยเพ่ือใชใ นการยึดเกาะ ไมม ีฟน Limnoperna supoti Brandt, 1974 ขนาด (ซม.) : ยาว 1.46 – 1.74 สูง 0.84 – 0.85 หนา 0.60 – 0.68 ความชกุ ชมุ : พบไมบ อ ย ลกั ษณะการอาศัย : ยดึ เกาะกับหิน หรอื ไมใตน้ํา การใชประโยชน : - แหลง ที่พบ : ลมุ นํ้าภาคกลาง และลุม นํา้ ภาค ตะวันออก ลักษณะ : เปน หอยขนาดเล็ก ลักษณะทั่วไปคลา ย Limnoperna siamensis (Morelet, 1875) เปลือกดานหนามปี ลายมน สวนดานหลังจะโคงกวางกวา (ประมาณ 2.5 เทา ของดานหนา) ไมม ีฟน 27

Brachidontes arcuatulus (Hanley, 1844) ขนาด (ซม.) : ยาว 1.32 สงู 0.61 ความชกุ ชมุ : พบไมบ อ ย ลกั ษณะการอาศัย : ยดึ เกาะกับหิน หรอื ไมใตน ํ้า การใชประโยชน : - แหลง ทพ่ี บ : ลมุ น้าํ ภาคใต ลกั ษณะ : เปนหอยขนาดเล็ก ขนาดใกลเคยี งกบั หอยสกลุ Limnoperna แตตางกันท่ี Brachidontes arcuatulus จะมีแนวรศั มีที่เปลอื กดานหนา ไมมฟี น Order Ostreoida Férussac, 1822 เปลอื กทง้ั สองดานไมเ หมือนกัน ไมม ฟี น วงศ Anomiidae Rafinesque,1815 เปลอื กบางคลายกระดาษ เปลอื กลางมักมีรู Enigmonia aenigmatica (Holten, 1803) หอยทองหลาง ขนาด (ซม.) : ยาว 3.5 - 4.6 สูง 2.5 – 3.3 หนา 0.40 – 0.46 ความชุกชุม : พบไมบ อ ย ลักษณะการอาศัย : เกาะตามตนไมใ นระยะทน่ี ํ้า ทวมถงึ ในแมนํ้าทม่ี รี อยตอ กบั ทะเล การใชประโยชน : - แหลง ทพี่ บ : ลมุ นํา้ ภาคตะวันออก และลมุ นํา้ ภาคใต ลักษณะ : เปลอื กบาง ใส สมี วงแดง เปลือกท้ังสองดา นไมเ หมือนกนั เปลอื กบนลักษณะเปน รูปไข มยี อด แหลมคลา ยหมวกเจ็ก เปลือกลางบาง มีรู ไมม ีฟน 28

Order Unionoida Stoliczka, 1871 เปลือกสองดานรปู รางเหมือนกัน รปู รางมีไดทัง้ รปู กลมถงึ ยาว ขนาดปานกลางถึงใหญ วงศ Amblemidae Rafinesque, 1820 มฟี นซูโดคารด ินัล และมฟี น แลเทอรัล บางชนิดอาจลดรูปไป ฟนซูโดคารด นิ ัลมีทั้งทมี่ ีลักษณะแหลมคม หรอื ลักษณะยาว มรี อยกลามเนือ้ ยดึ ฝาทั้งดา นหนาและดานหลังของเปลือก วงศยอ ย Pseudodontinae Frierson, 1927 เปลือกมกั มีรปู รางแบบรูปไขกวาง มักมีปกสนั้ ๆ ฟนลดรูปหายไปทง้ั ฟนซโู ดคารดนิ ลั และฟนแลเทอรัล หรอื ฟน ซูโดคารดินัลอาจเหลอื เปนปมุ ในแตละฝา Pilsbryoconcha lemeslei (Morelet, 1875) หอยกาบ หอยกาบกี้ ขนาด (ซม.) : ยาว 6.7 – 8.0 สูง 2.7 – 3.8 หนา 1.3 – 1.7 ความชุกชมุ : พบไมบอย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้นื ทองนํา้ การใชประโยชน : เนื้อใชเปนอาหาร แหลงทีพ่ บ : ลมุ นาํ้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะ : เปลือกยาว บอบบางและแบนขา งมาก เปลอื กสเี ขยี วอมนํา้ ตาล และจะเปล่ยี นเปนสดี ําเมอ่ื อายุ มากขน้ึ สดั สวนความยาว : ความสงู = 3 : 1 ( - 1.2 ) ไมม ฟี นซโู ดคารด นิ ัล และไมมฟี นแลเทอรัล 29

Pilsbryoconcha exilis exilis (Lea, 1839) หอยกาบ หอยกาบกี้ หอยกบิ กี้ หอยกี้ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.0 – 8.4 สงู 1.1 – 3.8 หนา 0.4 – 1.8 ความชกุ ชุม : พบบอ ยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้ืนทอ งน้าํ การใชประโยชน : เนอ้ื ใชเปนอาหาร แหลงที่พบ : ลุมนาํ้ ทกุ ภาค ลกั ษณะ : เปลอื กยาว บอบบางและแบนขา งมาก สัดสว นความยาว : ความสงู = 2 : 1 เปลือกหลัง ปลายช้ีลงเล็กนอย เปลือกดานลางเกือบตรง ไมมีฟนซูโดคารด ินัล และไมม ฟี น แลเทอรลั Pilsbryoconcha exilis compressa (Martens, 1860) หอยกาบ หอยกาบกี้ หอยกบิ ก้ี หอยเมด็ มะมว ง ขนาด (ซม.) : ยาว 1.2 – 11.6 สงู 0.6 – 5.2 หนา 0.3 – 2.4 ความชุกชมุ : พบบอ ยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพน้ื ทองนํ้า การใชประโยชน : เน้ือใชเ ปน อาหาร แหลงท่พี บ : ลุมน้ําทุกภาค ลกั ษณะ : ลักษณะคลาย Pilsbryoconcha exilis exilis แตเปลือกหลงั ปลายชตี้ รง เปลอื กดา นลางโคง เล็กนอ ย มสี ว นสงู มากกวา ในตัวท่ีมคี วามยาวเทากนั ไมม ีฟนซูโดคารด นิ ลั และไมมีฟน แลเทอรัล 30

Pseudodon mouhoti (Lea, 1863) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.0 – 10.9 สูง 1.9 – 6.0 หนา 0.8 – 2.9 ความชุกชมุ : พบบอย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทองนา้ํ การใชประโยชน : เนอื้ ใชเ ปน อาหาร แหลงท่ีพบ : ลุม น้ําทกุ ภาค ลกั ษณะ : เปลอื กเปน รปู ไต เปลือกบาง ความสูงของเปลอื กนอยกวา 2/3 ของความยาวดา นลาง เปลือกตรงหรอื โคงเลก็ นอย ฟนซโู ดคารดินัลเปนตุม บางและไมม ีฟน แลเทอรลั Pseudodon inoscularis callifer (Martens, 1860) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.6 – 10.9 สูง 2.2 – 7.4 หนา 1.1 – 3.9 ความชกุ ชมุ : พบบอ ย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพน้ื ทองนาํ้ การใชประโยชน : เนื้อใชเ ปนอาหาร แหลง ที่พบ : ลุมนํ้าทุกภาค ลักษณะ : เปลอื กหนา ปอง รูปไขกลม ดานหนา มนกลมกวาดานหลงั ดานหลังมีปลายทูช้ีลงดานลาง ฟนซูโดคารด นิ ัลเปน ตมุ บาง และไมมีฟน แลเทอรัล 31

Pseudodon inoscularis cumingi (Lea, 1850) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.8 – 11.9 สูง 1.6 – 6.6 หนา 0.9 – 3.9 ความชุกชมุ : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพนื้ ทอ งนํ้า การใชประโยชน : เนื้อใชเ ปน อาหาร เปลอื กใชท าํ ผลติ ภัณฑ แหลง ทพี่ บ : ลมุ น้ําทุกภาค ลักษณะ : ลักษณะคลาย Pseudodon inoscularis callifer แตต ัวจะมีขนาดเลก็ เปลือกบาง และแบนกวา ปลายแหลมดานทายชีไ้ ปดานทายมาก ขอบดานลางโคงเล็กนอยเกือบตรง ฟนซโู ดคารด นิ ัลเปนตมุ แข็งแรง ไมมีฟนแลเทอรลั Pseudodon cambodjensis cambodjensis (Petit, 1865) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.7 – 12.7 สงู 1.6 – 8.3 หนา 0.7 – 4.8 ความชกุ ชุม : พบบอ ย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพน้ื ทองน้าํ การใชประโยชน : เนอ้ื ใชเ ปน อาหาร แหลง ทีพ่ บ : ลมุ นาํ้ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ลักษณะ : เปลอื กขนาดใหญ ตวั เตม็ วัยความยาวมากกวา 10 ซม. เปลอื กเปน รปู สามเหลยี่ มแบน ไมหนา มากหนัก มีปก สงู ทางดานหลัง ฟน ซโู ดคารด ินัลเปน ตมุ บอบบาง ไมมีฟน แลเทอรลั 32

Pseudodon cambodjensis tenerrimus Brandt, 1974 หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.0 – 8.4 สูง 2.1 – 5.4 หนา 0.8 – 2.8 ความชกุ ชุม : พบบอย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพื้นทองน้ํา การใชประโยชน : เนื้อใชเปน อาหาร แหลงท่พี บ : ลุมนาํ้ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ลกั ษณะ : มขี นาดเล็ก เปลอื กบางและแบนกวา Pseudodon cambodjensis cambodjensis มปี กสูงทาง ดานหลัง ฟน ซโู ดคารด ินลั เปนตุมบอบบาง ไมมีฟนแลเทอรัล Pseudodon vondembuschianus ellipticus Conrad, 1865 หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.1 – 11.7 สูง 1.3 – 7.7 หนา 0.5 – 4.6 ความชกุ ชมุ : พบไมบ อ ย ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพน้ื ทองน้าํ การใชประโยชน : เน้อื ใชเปนอาหาร เปลือกใชท ําผลติ ภัณฑ แหลง ท่พี บ : ลุมน้าํ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต ลกั ษณะ : เปลือกหนา รูปไข ขนาดคอ นขา งใหญ ดานหนาสัน้ มน ดานหลังยาวปลายทูมีปกเล็กนอย ฟน ซโู ดคารดนิ ัลเปน ตมุ แข็งแรง ไมมีฟน แลเทอรัล 33

Pseudodon vondembuschianus chaperi (Morgan, 1885) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.5 – 8.4 สงู 1.6 – 5.0 หนา 0.8 – 2.6 ความชุกชุม : พบไมบ อย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทองนา้ํ การใชประโยชน : เนื้อใชเ ปน อาหาร แหลงท่ีพบ : ลมุ น้ําภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต ลักษณะ : เปลือกบาง เปลือกบนและลางเกือบขนานกัน ฟนซโู ดคารดินัลเปนตุม ไมมฟี น แลเทอรลั วงศยอย Hyriopsinae Modell, 1942 ฟน ซูโดคารดินลั มีขนาดใหญ มลี ักษณะเปนรอง 34

Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus Simpson, 1900 หอยขวาน หอยเรอื บนิ หอยเสียม หอยหงอน ขนาด (ซม.) : ยาว 4.2 – 14.8 สูง 1.5 – 6.0 หนา 0.5 – 3.3 ความชุกชุม : พบบอ ยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพื้นทองนํ้า การใชประโยชน : เนื้อใชเปนอาหาร เปลือกใชทําผลิตภัณฑ เพาะเล้ยี งไขม ุก แหลง ทพ่ี บ : ลมุ นา้ํ ภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลักษณะ : เปลือกคอ นขางยาว มีปกสูงรูปสามเหลย่ี มแหลมคมทางดานหลัง สวนดา นหนา มปี กสั้นๆ ฟน ซโู ดคารด ินลั มลี ักษณะเปนรอ งเล็กๆ เรียงตามยาว ฟนแลเทอรลั ลักษณะแบนยาว Hyriopsis (Hyriopsis) delaportei (Crosse & Fischer, 1876) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 10.0 – 11.5 สงู 6.2 – 6.5 หนา 3.3 – 4.3 ความชกุ ชมุ : พบไมบอย ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้ืนทอ งนา้ํ การใชประโยชน : เนือ้ ใชเปน อาหาร แหลงทีพ่ บ : ลมุ นํา้ ภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวนั ออก ลักษณะ : เปลือกหนา มขี นาดใหญแ ละปก จะไมช้ขี ้ึนเหมอื น Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus แตจ ะช้ีไป ทางอัมโบ ฟนซูโดคารด นิ ัล มลี ักษณะเปน รองเล็กๆเรียงตามยาวแตมจี าํ นวนนอ ยกวาและกวางกวา Hyriopsis (Hyriopsis) bialatus มฟี น แลเทอรลั ลักษณะแบนยาวมี 2 อนั ในฝาซา ยและ 1 อนั ในฝาขวา 35

Hyriopsis (Limnoscapha) desowitzi Brandt, 1974 หอยกาบ หอยขวาน หอยขาว ขนาด (ซม.) : ยาว 4.6 – 12.7 สูง 2.3 – 6.6 หนา 0.9 – 4.6 ความชุกชุม : พบบอ ย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้นื ทองนํา้ การใชประโยชน : เน้ือใชเ ปน อาหาร เปลือกใชทําผลติ ภัณฑ เพาะเลีย้ งไขม กุ แหลงท่ีพบ : ลุมนา้ํ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลักษณะ : เปลือกปอ งรูปไข มีปกเล็กๆดา นหนา และปกสงู ในดานหลงั เปลือกคอนขางหนา แตบางกวา ชนิดอื่นในสกลุ เดียวกัน ฟนซโู ดคารด ินัลแคบในฝาขวามี 2 อันขนานกนั อันลา งสูงกวาอันบน ฟนซโู ด คารด ินัลในฝาซายเรยี งซอนกันอันแรกหนากวา และทูกวาอันที่ 2 ฟน แลเทอรลั มลี ักษณะแบนยาว Hyriopsis (Limnoscapha) myersiana (Lea, 1856) หอยกาบ หอยกาบกี้ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.2 – 16.1 สูง 1.4 – 8.2 หนา 0.5 – 3.8 ความชุกชุม : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพนื้ ทอ งนาํ้ การใชประโยชน : เนอ้ื ใชเปนอาหาร เปลือกใชทําผลิตภัณฑ เพาะเล้ยี งไขม กุ แหลงที่พบ : ลมุ น้ําทกุ ภาค ลกั ษณะ : ตวั เต็มวยั เปลอื กยาวกวา 14 ซม. เปลือกขนาดใหญ ไมปองมาก ฟนซูโดคารด นิ ลั กวาง ฟน แลเทอรัลมลี ักษณะแบนยาว มี 2 อันในฝาซายและ 1 อันในฝาขวา 36

Chamberlainia hainesiana (Lea, 1856) หอยกาบ หอยกาบดํา หอยกาบใหญ หอยดาน หอยไอโ ลน ขนาด (ซม.) : ยาว 12.0 – 20.0 สงู 8.8 – 14.0 หนา 4.8 – 6.9 ความชกุ ชุม : พบไมบ อ ย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพืน้ ทองน้ํา การใชประโยชน : เน้อื ใชเปนอาหาร เปลอื กใชท าํ ผลติ ภัณฑ เพาะเลีย้ งไขมกุ แหลงที่พบ : ลุมน้ําภาคเหนอื ภาคตะวันตก และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลกั ษณะ : เปลอื กใหญ หนา มขี นาดใหญท ส่ี ุดในประเทศไทย รูปรางกงึ่ รูปไข มปี ก ทีเ่ ปลอื กดานหลัง แผน บานพับกวา งมาก ฟน ซโู ดคารด นิ ลั เปน ตุม 2 อนั ในแตละฝา ฟน แลเทอรัลเปนแผนแขง็ แรงมี 1 อนั ในฝาขวาและ 2 อนั ในฝาซายซึง่ มขี นาดเล็กกวา Cristaria plicata (Leach, 1815) หอยกาบใหญ ขนาด (ซม.) : ยาว 6.2 – 18.2 สูง 4.2 – 11.1 หนา 1.6 – 7.0 ความชกุ ชุม : พบไมบอย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทองนา้ํ การใชประโยชน : เนอ้ื ใชเปนอาหาร เปลอื กใชทําผลติ ภัณฑ ี้ ไ  แหลง ที่พบ : ลุมน้าํ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ลกั ษณะ : เปลอื กมขี นาดใหญแตบาง หรือไมห นามาก คอนขางปอง รูปไข มีปกดา นหลงั สงู ไมม ฟี น ซโู ดคารดนิ ัล ฟน แลเทอรลั เปนแผนแข็งแรง 37

วงศย อย Parreysiinae Henderson, 1935 เปลอื กมีขนาดเล็กหรอื ปานกลาง รปู ไข รูปคลา ยลม่ิ หรือรูปสเ่ี หลยี่ มขนมเปย กปูน เปลือกไมป อง Unionetta fabagina (Deshayes, 1876) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.8 – 2.4 สงู 1.4 – 1.48 หนา 1.1 – 1.15 ความชกุ ชุม : พบไมบอ ย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทอ งนํา้ การใชประโยชน : - แหลง ท่ีพบ : ลุม นํา้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ลกั ษณะ : เปลอื กมีขนาดเล็ก แข็ง รปู เกอื บเปนสามเหล่ยี ม บรเิ วณอมั โบมสี ันรปู W ฟนซโู ดคารดินลั สน้ั ฟนแลเทอรลั เปนแผน สัน้ โคง แข็งแรง Scabies crispata (Gould, 1843) หอยลาย หอยไขป ลา หอยแงบ หอยทราย หอยเมด็ ขนุน ขนาด (ซม.) : ยาว 1.8 – 5.2 สูง 1.4 – 2.8 หนา 1.1 – 2.0 ความชกุ ชมุ : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทอ งนาํ้ การใชประโยชน : เนือ้ ใชเ ปนอาหาร เปลือกใชทําผลิตภัณฑ แหลงที่พบ : ลุมน้ําทุกภาค ลักษณะ : เปลือกขนาดเลก็ รปู ไข ยาวคลายลิ่ม มีลายเปนสันรูป V วง่ิ จากอัมโบถึงดา นลา งของเปลอื ก สันคมชัด ฟนซโู ดคารด ินลั เปนหยักแหลมคม สั้น ฟน แลเทอรัลเปน แผนโคง 38

Scabies phaselus (Lea, 1856) หอยกาบลาย หอยไขป ลา หอยนกเขา หอยลาย ขนาด (ซม.) : ยาว 1.7 – 4.6 สูง 1.0 – 2.2 หนา 0.7 – 1.6 ความชกุ ชมุ : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้ืนทองนาํ้ การใชประโยชน : เนอ้ื ใชเ ปนอาหาร แหลง ที่พบ : ลุมนํ้าภาคเหนือ ภาคกลาง ลุมนํา้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ลุมน้ําภาคตะวันออก ลกั ษณะ : เปลอื กขนาดเลก็ รปู ไขย าวคลายล่มิ มีลายซิกแซกหนาแนนกวา ชนิดอื่นในสกลุ เดยี วกัน สนั ไม คม เปลือกเปนมนั เงา คมชัด ฟนซูโดคารด นิ ลั เปน หยักแหลมคม สัน้ ฟนแลเทอรัลเปน แผน โคง Scabies nucleus (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.5 – 2.3 สูง 1.0 – 1.7 หนา 0.7 – 1.2 ความชกุ ชมุ : พบไมบ อย ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพื้นทอ งน้ํา การใชประโยชน : เนื้อใชเปน อาหาร แหลง ทพี่ บ : ลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะ : เปลอื กมขี นาดเล็กกวาชนิดอน่ื ในสกลุ เดยี วกัน เปลอื กมีลายเปนสันรูปตัว V ฟนซโู ดคารด นิ ลั เปน หยกั แหลมคม สัน้ ฟน แลเทอรัลเปน แผนโคง 39

Indonaia substriata (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.0 – 3.2 สงู 1.4 – 1.6 หนา 1.0 – 1.3 ความชุกชุม : พบไมบอย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพื้นทอ งนาํ้ การใชประโยชน : เนื้อใชเ ปน อาหาร แหลงที่พบ : ลุม นาํ้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ลักษณะ : เปลอื กรปู ไข คอ นขา งบาง เปลอื กบนและลางเกอื บขนานกนั อัมโบปอ งเล็กนอ ย มีเสนตัว V เรยี งตัวไมสมํา่ เสมอ สวนทเ่ี หลอื ของเปลือกเรียบมีเฉพาะเสนการเจรญิ เตบิ โต แผน บานพบั แคบ ฟนบอบบาง ฟนซโู ดคารด นิ ัลเปนแผนบางยาว มี 2 อันในฝาขวาและ 1 อันในฝาซาย ฟนแลเทอรลั ยาวบาง 2 อันในฝาซา ยและ 1 อันในฝาขวา Indonaia pilata (Lea, 1866) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.3 – 6.6 สงู 1.6 – 3.5 หนา 0.8 – 1.8 ความชุกชุม : พบไมบอย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพน้ื ทอ งนาํ้ การใชประโยชน : เนอื้ ใชเ ปนอาหาร แหลงท่พี บ : ลุม นํา้ ภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะ : เปลอื กรปู ไขค อนขางแข็ง เปลอื กมีลักษณะคลายสกุล Uniandra อัมโบมีรศั มยี นๆ ยาวเลย มาถงึ สวนหลงั ของเปลือก แผนบานพบั แคบ ฟนคอ นขางแข็งแรง ฟนซูโดคารดินลั ในฝาขวาสน้ั แขง็ แรง ในฝาซายยาวและเตีย้ ฟน แลเทอรลั คม ยาวตรง ม2ี อันในฝาซา ยและ 1 อนั ในฝาขวา 40

วงศย อย Rectidentinae Modell, 1942 เปลือกบาง รูปไข รปู คลายลมิ่ หรอื รูปสเี่ หล่ยี มขนมเปย กปนู ฟนซโู ดคารดนิ ัลยาวและบอบบาง Ensidens ingallsianus ingallsianus (Lea, 1852) หอยเสยี บ หอยเงีย๊ บ หอยลูกปลา ขนาด (ซม.) : ยาว 1.7 – 7.2 สูง 0.7 – 2.9 หนา 0.4 – 2.4 ความชกุ ชมุ : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทอ งนํา้ การใชประโยชน : เนื้อใชเปน อาหาร เปลอื กใชท ําผลติ ภณั ฑ แหลง ที่พบ : ลุมนาํ้ ทกุ ภาค ลักษณะ : เปลอื กแข็ง เรยี บ รปู ยาวรี คลายลม่ิ ดานหนาสน้ั กลมมนและเรยี วแหลมไปทางดานหลังมองดู คลา ยจะงอยของปากนก ฟนซูโดคารด ินลั ยาวบาง เปน รอยยน มี 1 หรือ 2 อนั ในฝาซาย ฝาขวามี 2 อัน ฟนแลเทอรลั ยาวคมบาง Ensidens ingallsianus dugasti (Morlet, 1892) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.7 – 5.5 สูง 1.2 – 2.3 หนา 0.7 – 1.6 ความชกุ ชุม : พบไมบ อ ย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพืน้ ทอ งนาํ้ การใชประโยชน : เนื้อใชเปน อาหาร แหลง ทพ่ี บ : ลมุ น้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะ : เปลอื กบนและเปลือกลางเกือบขนานกนั ฟนซูโดคารด นิ ัลยาวบาง เปน รอยยน มี 1 หรอื 2 อันในฝาซา ย ฝาขวามี 2 อัน ฟนแลเทอรลั ยาวคมบาง 41

Uniandra contradens ascia (Hanley, 1856) หอยกาบอว น ขนาด (ซม.) : ยาว 1.9 – 8.7 สงู 1.0 – 4.8 หนา 0.6 – 3.5 ความชุกชุม : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพื้นทองนาํ้ การใชประโยชน : เน้ือใชเปนอาหาร เปลอื กใชทาํ ผลิตภัณฑ แหลงทพ่ี บ : ลมุ นํา้ ทกุ ภาค ลักษณะ : เปลอื กรปู ไขย าว เรียบเปนมนั อาจมรี อยยนเฉพาะอมั โบ ฟนแขง็ แรง ฟนซูโดคารด ินัลฝาซา ย มี 1 อันเล็กแบน สวนฝาขวามี 2 อันส้ันๆ ฟนแลเทอรลั ฝาซายยาวบางมี 2 อัน สว นฝาขวามี 1 อัน Uniandra contradens rusticoides Brandt, 1974 หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.3 – 6.0 สงู 0.7 – 3.9 หนา 0.5 – 3.0 ความชกุ ชุม : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพนื้ ทองนํา้ การใชประโยชน : เน้ือใชเปน อาหาร แหลง ที่พบ : ลุมนาํ้ ภาคเหนอื ลมุ น้าํ ภาคใต ลุมน้าํ ภาคตะวันออก ลกั ษณะ : เปลือกมรี อยยน ทั้งเปลือก ฟนแขง็ แรง ฟนซโู ดคารดนิ ัลฝาซาย มี 1 อันเล็กแบน ฝาขวามี 2 อันสั้นๆ ฟนแลเทอรลั ฝาซายยาวบางมี 2 อนั ฝาขวามี 1 อนั 42

Uniandra contradens tumidula (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.7 – 7.0 สงู 1.6 – 3.3 หนา 1.1 – 2.4 ความชกุ ชมุ : พบบอ ย ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพน้ื ทองนํา้ การใชประโยชน : เนอื้ ใชเ ปน อาหาร เปลอื กใชปรุงยา แหลงทพ่ี บ : ลมุ นํา้ ทกุ ภาค ลักษณะ : เปลอื กยาวกวาชนดิ อ่ืนๆในสกลุ เดียวกนั ปลายลางโคง เปลือกเรยี บ อาจมีรอยซกิ แซกที่อมั โบ ฟน แข็งแรง ฟนซูโดคารด นิ ัลฝาซา ย มี 1 อันเล็กแบน ฝาขวามี 2 อันส้นั ๆ ฟน แลเทอรัลฝาซายยาว บางมี 2 อัน ฝาขวามี 1 อนั Uniandra contradens rustica (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.8 – 7.0 สงู 1.1 – 3.7 หนา 0.7 – 2.9 ความชกุ ชุม : พบบอยมาก ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพนื้ ทองนา้ํ การใชประโยชน : เนือ้ ใชเ ปนอาหาร แหลงท่พี บ : ลมุ นํา้ ทกุ ภาค ลกั ษณะ : เปลือกมีรอยยนท้งั เปลอื กคลาย Uniandra contradens rusticoides แตเ ปลอื กจะบางกวา ฟน แข็งแรง ฟน ซูโดคารด นิ ลั ฝาซายมี 1 อนั เล็กแบน ฝาขวามี 2 อนั ส้นั ๆ ฟน แลเทอรลั ฝาซา ยยาวบาง มี 2 อนั ฝาขวามี 1 อัน 43

Uniandra contradens crossei (Deshayes, 1876) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.9 – 6.1 สูง 0.7 – 3.9 หนา 1.9 – 2.9 ความชุกชมุ : พบไมบ อย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้ืนทอ งนํ้า การใชประโยชน : เนอื้ ใชเปน อาหาร แหลง ท่พี บ : ลุม น้ําภาคตะวันออก ลุมนํ้าภาคใต ลุมน้ําภาคกลาง ลักษณะ : เปลอื กสน้ั กลมและปองกวาชนดิ อืน่ ในสกลุ เดยี วกนั ฟน แขง็ แรง ฟน ซูโดคารดินลั ฝาซา ย มี 1 อันเล็กแบน ฝาขวามี 2 อันสนั้ ๆ ฟนแลเทอรลั ฝาซายยาวบาง มี 2 อัน ฝาขวามี 1 อัน Uniandra contradens fischeriana (Morlet, 1883) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.3 – 6.5 สงู 1.4 – 3.7 หนา 0.9 – 2.7 ความชกุ ชุม : พบบอ ย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้นื ทอ งนา้ํ การใชประโยชน : เน้ือใชเปนอาหาร แหลง ท่ีพบ : ลมุ นํา้ ทกุ ภาค ลักษณะ : เปลือกจะแบนกวาชนิดอน่ื ในสกลุ เดียวกนั และมีรอยยนทีผ่ ิว ฟนแขง็ แรง ฟนซโู ดคารดินัล ฝาซาย มี 1 อนั เล็กแบน ฝาขวามี 2 อันส้ันๆ ฟนแลเทอรลั ฝาซายยาวบาง 2 อัน ฝาขวา 1 อัน 44

Physunio superbus (Lea, 1843) หอยขา วตม หอยจมกู ววั หอยตะโหนดววั ขนาด (ซม.) : ยาว 1.7 – 10.5 สูง 1.2 – 9.3 หนา 0.7 – 5.3 ความชกุ ชมุ : พบบอย ลกั ษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพื้นทอ งนํา้ การใชประโยชน : เน้ือใชเปน อาหาร เปลือกใชท าํ ผลติ ภณั ฑ แหลงท่ีพบ : ลมุ นํ้าทุกภาค ลกั ษณะ : เปลือกขนาดใหญ บาง ปองมาก เปลือกดา นหนาอยตู ํา่ ปลาย ดานหลงั สงู มปี กเล็กนอย ขอบดานหนาโคง ตอ กบั ขอบดานลา งเปนวง ขอบดา นหลังตัดตรงในแนวดิ่ง Physunio eximius (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.5 –8.8 สูง 2.6 – 6.6 หนา 1.0 – 2.4 ความชกุ ชุม : พบบอย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้นื ทองน้ํา การใชประโยชน : เนื้อใชเปน อาหาร แหลง ทพี่ บ : ลมุ นา้ํ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะ : เปลือกแบน รูปส่ีเหล่ียมคางหมู เมอ่ื กางเปลอื กออกจะคลายปกผีเส้ือ เปลือกดานหลังมีปกสูง แผน พับแคบมาก ฟน ซโู ดคารดินลั บอบบาง ฟน แลเทอรัลเปนแผนโคงแคบมี 2 อันในฝาซายและ 1 อัน ในฝาขวา 45

Physunio inornatus (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.9 – 2.1 สูง 1.3 – 1.4 หนา 0.7 - 0.8 ความชุกชมุ : พบบอย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพ้นื ทอ งนํ้า การใชประโยชน : เนอื้ ใชเ ปน อาหาร แหลง ที่พบ : ลุมนาํ้ ภาคตะวันตก ลมุ น้ําภาคใต ลมุ นาํ้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ลุมนํ้าภาคเหนอื ลกั ษณะ : เปลือกรปู ไขยาว บาง ปองเล็กนอ ย เปลือกดานหลังมีปก เลก็ นอย ขอบทายโคงทปู ลายชีล้ ง มี เสนซกิ แซก 3–4 เสน ฟน ซโู ดคารด นิ ัลยาวบาง ฟนแลเทอรลั ยาวบาง แยกออกชัดเจน Physunio micropterus (Morelet, 1866) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.8 –4.9 สงู 1.1 – 2.8 หนา 0.5 – 1.4 ความชกุ ชุม : พบบอย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพนื้ ทอ งน้าํ การใชประโยชน : เน้อื ใชเ ปน อาหาร แหลงทพี่ บ :ลมุ นํ้าภาคเหนอื ลุมนํา้ ภาคตะวันตก ลุม น้ําภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ลุมน้ําภาคตะวันออก ลกั ษณะ : เปลือกรูปไข เปลอื กดานหลังมปี กเล็กนอ ย เปลือกมีขนาดใหญก วา Physunio inornatus ฟนซโู ดคารดินลั ยาวบาง ฟนแลเทอรลั ยาวบาง แยกออกชัดเจน 46

Physunio cambodiensis (Lea, 1856) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.2 – 4.4 สูง 1.8 – 2.4 หนา 0.9 – 1.5 ความชุกชุม : พบบอ ย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้ืนทอ งน้าํ การใชประโยชน : เนอื้ ใชเปน อาหาร แหลงที่พบ : ลมุ นํา้ ภาคตะวันตก ลุมนํา้ ภาคเหนอื ลมุ นาํ้ ภาคตะวันออก ลกั ษณะ : เปลอื กเล็ก บาง แบน รูปส่ีเหลย่ี มดา นไมเทากัน ปก ดานหลังสงู มีเสน ซกิ แซกที่อมั โบ ฟน ซูโดคารด นิ ัลยาวบาง ฟนแลเทอรลั ยาวบาง วางขนานกัน Physunio modelli Brandt, 1974 หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 1.4 – 6.3 สูง 0.8 – 3.0 หนา 0.5 – 1.6 ความชุกชุม : พบบอ ย ลักษณะการอาศัย : ฝงตัวใตพืน้ ทองนา้ํ การใชประโยชน : เนอ้ื ใชเ ปน อาหาร แหลงที่พบ : ลุมนา้ํ ภาคตะวันออก ลุม น้าํ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ลมุ น้าํ ภาคเหนือ ลกั ษณะ : เปลอื กไมมีปก เปลือกบนและลางเกือบขนานกัน ฟนซูโดคารดนิ ัลยาวบาง ฟนแลเทอรลั ยาว บาง วางขนานกัน 47

Trapezoideus exolescens exolescens (Gould, 1843) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 4.0 – 4.1 สงู 2.0 – 2.07 หนา 1.14 – 1.17 ความชุกชมุ : พบไมบอย ลกั ษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพน้ื ทอ งนา้ํ การใชประโยชน : - แหลงทพ่ี บ : ลมุ นา้ํ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะ : เปลอื กรูปสี่เหล่ียมยาว เปลือกบนและลา งขนานกัน มลี ายบนเปลือก ฟน ซูโดคารดนิ ลั 1 อัน ฝาซา ย และ 2 อันฝาขวา ฟนแลเทอรลั ยาวบาง 2 อันในฝาซา ย และ 1 อนั ในฝาขวา Trapezoideus exolescens pallegoixi (Sowerby, 1867) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 3.5 – 7.4 สงู 2.1 – 4.4 หนา 1.1 – 1.8 ความชุกชมุ : พบไมบอย ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้ืนทองนาํ้ การใชประโยชน : - แหลง ทพี่ บ : ลุมนํ้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะ : เปลอื กบาง เปลอื กดานหลงั มปี ก มลี ายบนเปลือก ฟนซโู ดคารดนิ ัล 1 อันในฝาซาย และ 2 อันในฝาขวา ฟนแลเทอรลั ยาวบาง 2 อันในฝาซา ย และ 1 อันในฝาขวา 48

Trapezoideus exolescens comptus (Deshayes, 1876) หอยกาบ ขนาด (ซม.) : ยาว 2.8 – 7.3 สงู 1.5 – 3.7 หนา 0.6 – 1.5 ความชกุ ชมุ : พบไมบ อย ลักษณะการอาศัย : ฝง ตัวใตพ้ืนทองน้ํา การใชประโยชน : - แหลงทีพ่ บ : ลุม นํ้าภาคเหนือ ลุมนาํ้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ลักษณะ : เปลือกมีขนาดใหญและหนากวาชนดิ อน่ื ในสกุลเดียวกัน เปลือกมีลายชดั ฟน แข็งแรงกวาชนดิ อืน่ ในสกุลเดียวกัน 49

ลาํ ดับ Myoida Goldfuss, 1820 เปลอื กมกั จะบาง ขนาดเทา กนั มีฟน คารด นิ ัล วงศ Pholadidae Lamarck, 1809 เปน วงศข องหอยเจาะไม เปลือกยาว บาง ชองวางดา นบนจะมีแผนหินปนู หมุ เรยี กวา callus Martesia strita (Linnaeus, 1758) หอยเจาะไม ขนาด (ซม.) : ยาว 0.7 – 2.6 สูง 0.6 – 1.2 หนา 0.5 – 1.2 ความชกุ ชุม : พบไมบ อย ลักษณะการอาศัย : เจาะไมทอี่ ยใู นนํา้ การใชประโยชน : - callus แหลง ทพี่ บ : ลุม นาํ้ ภาคตะวันออก ลักษณะ : เปลือกบาง เปลือกซายและขวาลักษณะเหมอื นกัน รูปรางเรยี วยาว เปลือกบนและลางเรยี ว สอบเขา หากัน ดา นหนาสน้ั โคงลง ในตวั เตม็ วยั ชองวา งดานบนจะมีแผนหนิ ปูนหมุ เรียกวา callus บานพับมฟี นคารด ินลั แท 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook