การเตรยี มพรอ้ มรับ อุทกภัย (นำ้ �ทว่ ม) กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
อทุ กภัย (น�ำ้ ท่วม) อุทกภัย หมายถงึ เหตกุ ารณท์ ี่มีน้ำ�ทว่ มพนื้ ดนิ สงู กวา่ ระดบั ปกติ ซงึ่ มสี าเหตจุ ากปรมิ าณน�ำ้ ฝนมาก และจากการปดิ กน้ั การไหลของน้ำ�ตามธรรมชาติ แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คือ 1) น�ำ้ ทว่ มขงั /น�้ำ ลน้ ตลง่ิ เกดิ ขนึ้ เนอื่ งจากระบบระบายน�ำ้ ไมม่ ีประสิทธภิ าพ มักเกดิ ขึน้ ในบริเวณที่ราบลมุ่ แม่นำ�้ และ บรเิ วณชมุ ชนเมอื งใหญๆ่ มลี กั ษณะคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ซงึ่ เกดิ จากฝนตกหนกั ณ บรเิ วณนนั้ ๆ ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลาหลายวนั 2 การเตรียมพรอ้ มรับอทุ กภัย (น�้ำ ท่วม)
2) น้ำ�ท่วมฉับพลนั เกิดขึน้ หลงั จากฝนตกหนกั ในบริเวณ พนื้ ทซ่ี งึ่ มคี วามชนั มากบรเิ วณทรี่ าบระหวา่ งหบุ เขา หรอื เกดิ จากสาเหตอุ น่ื ๆ เชน่ เขอ่ื นหรอื อา่ งเกบ็ น�ำ้ พงั ทลาย น�ำ้ ทว่ ม ฉบั พลันมคี วามรนุ แรง และเคลื่อนทดี่ ว้ ยความรวดเร็วมาก โอกาสท่ีจะปอ้ งกันและหลบหนจี ึงมีนอ้ ย “ปอ้ งกันภยั เชิงรกุ บรรเทาทุกขเ์ มือ่ เกดิ ภยั ” 3
ขอ้ ควรรู้... เพือ่ เตรียม พร หม่นั ตดิ ตามข้อมลู สภาพอากาศจากหนว่ ยงานภาครัฐ k รบั ฟงั การพยากรณอ์ ากาศ k ติดตามประกาศแจ้งเตือนภัย 4 การเตรยี มพร้อมรบั อทุ กภัย (น้�ำ ท่วม)
ยม พรอ้ มรบั มอื อทุ กภัย k ติดตามปริมาณน้ำ�ในพ้ืนท่แี ละระดบั น้ำ�ทะเลหนนุ “ปอ้ งกันภัยเชิงรกุ บรรเทาทุกข์เมอ่ื เกิดภัย” 5
จัดสภาพแวดล้อมรอบบา้ นให้ปลอดภยั k เกบ็ กำ�จัดขยะมิใหอ้ ุดตนั ทอ่ น�้ำ เพือ่ ใหน้ ำ�้ ไหลผา่ นไดส้ ะดวก 6 การเตรยี มพรอ้ มรบั อทุ กภยั (น�้ำ ท่วม)
k จดั ท�ำ คนั แนวกระสอบทรายก้ันนำ้�บริเวณรอบบ้าน k ตรวจสอบซอ่ มแซม บา้ นเรอื นใหอ้ ยู่ในสภาพมน่ั คง “ปอ้ งกันภยั เชิงรุก บรรเทาทกุ ขเ์ มื่อเกดิ ภัย” 7
ขนยา้ ยสิง่ ของเคร่ืองใชข้ น้ึ ท่สี ูง k ยกเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ให้พน้ จากระดบั น�ำ้ ทว่ มถงึ k ถา่ ยรูปทรพั ย์สนิ และเก็บเอกสารสำ�คัญ สงิ่ ของมคี า่ ไว้ในสถานท่ีปลอดภยั 8 การเตรยี มพรอ้ มรับอุทกภัย (น้ำ�ทว่ ม)
k นำ�รถยนต์และพาหนะไปจอดไว้ในสถานที่ซง่ึ นำ้�ท่วมไม่ถึง k อพยพสัตวเ์ ล้ยี งไปอยู่ในสถานที่ปลอดภัย พร้อมเตรยี มน้ำ�และอาหารสตั ว์ไว้ “ป้องกันภยั เชงิ รกุ บรรเทาทุกขเ์ มื่อเกิดภัย” 9
จดั เตรียมส่งิ ของเครื่องใช้ทจ่ี ำ�เปน็ k เตรียมขา้ วสาร อาหารแห้ง นำ้�ดมื่ และแก๊สสำ�หรับหุงต้ม 10 การเตรยี มพร้อมรบั อุทกภัย (น�ำ้ ท่วม)
k เตรยี มยารักษาโรค ไฟฉาย เทยี นไข นกหวดี k เก็บบตั รประชาชน ทะเบยี นบา้ นไว้ในซองกันน้ำ� เพอ่ื ให้สามารถนำ�ติดตวั ไปได้ทนั ทที ี่อพยพ “ปอ้ งกันภยั เชิงรุก บรรเทาทุกขเ์ ม่อื เกิดภัย” 11
ตัดกระแสไฟฟ้าทนั ทีทน่ี ้�ำ เข้าทว่ มบา้ น k หา้ มใชแ้ ละสัมผสั เคร่อื งใช้ไฟฟ้าขณะที่ รา่ งกายเปียกหรือยนื บนพนื้ ท่ชี ืน้ แฉะ 12 การเตรียมพร้อมรบั อุทกภยั (น้�ำ ทว่ ม)
k ปิดสวิตช์ไฟ สับคัทเอาท์ เพอ่ื ป้องกันกระแสไฟฟ้ารว่ั ไหล k ไมเ่ ดินใกล้แนวเสาไฟฟา้ เพราะหากมกี ระแสไฟฟา้ รั่วไหล อาจท�ำ ใหถ้ ูกไฟฟ้าดูดเสียชวี ิต “ป้องกันภยั เชิงรุก บรรเทาทุกขเ์ ม่ือเกดิ ภยั ” 13
อพยพหนภี ัยไปตามเส้นทางท่ปี ลอดภัย k ผู้ปว่ ย คนชรา ควรตดั สนิ ใจยา้ ยออกนอกพืน้ ที่โดยเร็ว เพราะหากน�้ำ ทว่ มสูงการอพยพจะยากย่งิ ขน้ึ 14 การเตรยี มพร้อมรับอทุ กภยั (น้ำ�ท่วม)
k ไม่อพยพไปตามเส้นทางทีเ่ ปน็ ทางไหลของน้�ำ k หา้ มขับรถฝ่าน�้ำ หลาก เพราะความแรงของกระแสนำ�้ อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ “ป้องกันภยั เชิงรกุ บรรเทาทกุ ขเ์ ม่อื เกิดภัย” 15
ดแู ลรักษาสุขภาพใหแ้ ข็งแรง k หากถกู สตั ว์มพี ษิ กดั ให้ลา้ งแผลด้วยนํ้าตม้ สกุ และเช็ดดว้ ย แอลกอฮอลร์ อบแผล จากน้นั หาทางไปโรงพยาบาลทันที 16 การเตรยี มพรอ้ มรบั อทุ กภัย (น�้ำ ท่วม)
k รบั ประทานอาหารท่ปี รุงสกุ สด ใหม่ รวมถงึ น�้ำ ดื่มสะอาดที่ผา่ นการตม้ สกุ k ไมท่ ง้ิ ขยะลงในน้ำ� “ปอ้ งกนั ภัยเชิงรกุ บรรเทาทุกขเ์ มื่อเกิดภัย” 17
จุดเฝา้ ระวังน้�ำ เข้าบ้าน k ระยะห่างระหว่างขอบล่างประตูและพื้นให้ใช้ถุงทราย วางซ้อนกันเป็นชั้นๆ บรรเทาความรนุ แรงได้ k ผนงั บา้ น ทผี่ า่ นการกอ่ สรา้ งมานานหลายปี อาจมรี อย แตกรา้ วตามกาลเวลา และนค้ี อื ชอ่ งทางหนง่ึ ทนี่ �ำ้ พรอ้ ม จะเขา้ ส่ตู วั บ้านได้ทันที k ปลก๊ั ไฟ เปน็ ชอ่ งวา่ งเลก็ ๆ ทนี่ �ำ้ อาจซมึ เขา้ มาไดเ้ ชน่ กนั อาจหาเทปกาวปดิ ให้แน่น 18 การเตรียมพร้อมรับอทุ กภัย (น้ำ�ท่วม)
k ห้องน้ำ� เป็นจุดท่ีต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษเพราะมีการ ตอ่ ทอ่ มากท่สี ุดภายในบา้ น ใหเ้ อาถุงทรายอุดบริเวณ ที่น้ำ�จะเลด็ ลอดได้ เช่น ชกั โครก อา่ งล้างมอื k น้ำ�จะผุดจาก ท่อระบายน้ำ� ให้หาท่อพีวีซีที่ยาวเกิน ระดับนำ้�ที่คาดว่าจะท่วม แล้วใช้ปูนหรือซิลิโคน พอกทับกันน้ำ�ซึมออก เมื่อน้ำ�มาจริง จะสูงขึ้นตาม ระดบั ข้างนอกบา้ นไมล่ ้น “ปอ้ งกันภัยเชิงรกุ บรรเทาทุกขเ์ ม่ือเกดิ ภยั ” 19
วธิ ีก่อถุงทราย 1. ขดุ ร่องก่อนวางถุงทรายเพื่อใหถ้ งุ ทรายม่นั คงไมเ่ คลือ่ น 2. ทรายไม่ควรเต็มถงุ เพือ่ ใหถ้ ุงทรายแตล่ ะถุงแนบกนั สนทิ 3. วางผ้าพลาสติกผืนใหญ่ใตถ้ ุงทรายชัน้ ลา่ งสดุ และวนรอบ นอกกองถุงทราย แล้วเอาถงุ ทรายทบั อกี ทชี ้ันบนสุด 20 การเตรยี มพร้อมรับอุทกภยั (นำ�้ ทว่ ม)
4. ใหว้ างเป็นปิระมิดและวางสับหวา่ งกันในแตล่ ะช้นั 5. ให้หันปากถุงทรายเข้าไปในบ้าน 6. ใหเ้ ดินข้ึนไปเหยียบจนถุงทรายทบั กนั แน่นมากที่สุด “ปอ้ งกันภัยเชงิ รกุ บรรเทาทุกข์เมื่อเกดิ ภยั ” 21
ระดับการเตือนภัยน้�ำ ท่วม ส่วนราชการแต่ละท้องถ่ินจะสื่อสารแจ้งข่าวกับประชาชน ในพน้ื ทผ่ี า่ นสอ่ื ตา่ งๆ โดยบอกระดบั ความรนุ แรง สว่ นใหญ่ แบ่งเป็น 4 ระดับ 1. การเฝ้าระวังนํ้าท่วม : มีความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดนํ้า ทว่ มและอยู่ในระหว่างสังเกตการณ์ 22 การเตรยี มพรอ้ มรับอทุ กภยั (น�้ำ ท่วม)
2. การเตือนภยั น้ําทว่ ม : การเตอื นภัยภาวะน้ำ�ท่วมซ่ึง จะเกดิ ขน้ึ แนน่ อน ขอใหป้ ระชาชนทกุ คนเตรยี มพรอ้ มเพอื่ ป้องกนั ชวี ิตและทรพั ยส์ ินของตนเอง 3. การเตอื นภยั นา้ํ ทว่ มรนุ แรง : เกดิ นาํ้ ทว่ มอยา่ งรนุ แรง 4. การกลบั สภู่ าวะปกติ : เหตกุ ารณก์ ลบั สภู่ าวะปกตหิ รอื เปน็ พื้นที่ไม่ไดร้ ับผลกระทบจากภาวะนํ้าทว่ ม “ป้องกนั ภัยเชิงรกุ บรรเทาทกุ ขเ์ มอื่ เกิดภยั ” 23
จดั เตรยี มสงิ่ ของยามอพยพ k ควรเตรียมสิ่งของจำ�เป็นสำ�หรับการยังชีพและอพยพ ให้เพยี งพอส�ำ หรับการดำ�เนินชีวติ ประมาณ 3-7 วัน 24 การเตรยี มพรอ้ มรบั อุทกภยั (น้ำ�ท่วม)
k บางบา้ นมผี ู้ป่วย จำ�เป็นต้องส�ำ รองอุปกรณต์ า่ งๆ ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปได้ทุกเม่ือ ท้งั นตี้ อ้ งค�ำ นงึ ถึงความสะดวกและคลอ่ งตวั “ป้องกันภัยเชงิ รกุ บรรเทาทกุ ข์เม่อื เกิดภยั ” 25
ระหว่างน้�ำ ทว่ ม k จงมสี ติ อยา่ ตนื่ ตระหนก และท�ำ ตามแผนรบั มอื น�ำ้ ทว่ มประจ�ำ บา้ น k ถอดปลก๊ั อปุ กรณ์ไฟฟา้ และหา้ มเขา้ ใกลอ้ ปุ กรณ์ไฟฟา้ สายไฟ 26 การเตรียมพร้อมรับอุทกภัย (นำ้�ทว่ ม)
k เกบ็ กวาดขยะ ดูแลวัตถแุ หลมคม และส่งิ ของท่พี ืน้ บา้ น k ระวังสัตวม์ ีพษิ ทม่ี าตามน�ำ้ เชน่ งู ตะขาบ “ปอ้ งกันภยั เชงิ รกุ บรรเทาทกุ ข์เม่อื เกิดภยั ” 27
k อยา่ เดนิ ตามทางน�ำ้ ไหล เพราะอาจท�ำ ใหเ้ สยี หลกั ลม้ ลงจมน�้ำ ได้ k หากต้องเดินลุยน้ำ� ต้องสวมร้องเท้าบู๊ท หรือชุดเอ๊ียมกันน้ำ� และใช้ไม้จุ่มเพอ่ื วัดระดบั ก่อนทกุ ครัง้ 28 การเตรียมพร้อมรับอทุ กภัย (นำ�้ ทว่ ม)
k การขับรถในพ้ืนที่นำ้�ท่วม หากเห็นป้ายเตือนนำ้�ท่วม ไม่ควรขบั รถฝา่ เขา้ ไป หากนำ้�สงู เกนิ 50 ซม. อาจท�ำ ให้ รถจกั รยานยนตล์ อยน้ำ�ได้ k สำ�หรับรถยนต์ให้ประเมินความสูงของน้�ำ จากรถคนั หน้า ถา้ พอไปได้ ใหป้ ดิ แอร์ ใช้เกยี ร์ตำ่� ขับชา้ ๆ อยา่ เร่งเคร่อื ง เมอ่ื ขบั พน้ น�ำ้ ทว่ มแลว้ คอ่ ยๆ เหยยี บเบรก ย�ำ้ ๆ เบาๆ คอ่ ยๆ “ป้องกนั ภยั เชิงรุก บรรเทาทกุ ข์เมือ่ เกดิ ภัย” 29
k ขบั ถา่ ยในสว้ ม หยดุ การแพรโ่ รคระบาด กรณไี มส่ ามารถ ใชห้ อ้ งสว้ มได้ ควรขบั ถา่ ยในถงุ ด�ำ ใสป่ นู ขาว หรอื น�ำ้ ยา ฆา่ เชอื้ โรคลงในถงุ ใส่อุจจาระ มดั ปากถงุ ให้แน่น แล้ว รวบรวมส่งไปก�ำ จดั อย่างถูกวิธี k เราอาจดัดแปลงกล่องกระดาษขนาดพอเหมาะ หรือ เก้าอ้ีพลาสติกมีขามาเจาะด้านบนและใช้ถุงดำ�สวม รองรับของเสยี จากร่างกาย 30 การเตรียมพรอ้ มรบั อุทกภยั (น้ำ�ท่วม)
โรคที่พบบ่อย k โรคผวิ หนงั เชน่ โรคน�ำ้ กดั เทา้ ผวิ หนงั จากเชอ้ื รา แผลพพุ องเปน็ หนอง ควรหลีกเลีย่ งการเดินยำ่�นำ้� สวมเส้อื ผ้า ถุงเทา้ รองเท้า ทสี่ ะอาดไมเ่ ปยี กชน้ื ลา้ งเทา้ ใหส้ ะอาด หากเกดิ แผลใหท้ �ำ ความ สะอาด ฆ่าเช้ือดว้ ยทงิ เจอร์หรอื เบตาดีน k โรคตดิ เชื้อระบบทางเดินอาหาร โรคอจุ จาระรว่ ง เชอื้ โรคเข้าสู่ รา่ งกายโดยการกนิ อาหารและน�้ำ ทปี่ นเปอื้ นเชอ้ื โรค ใหด้ ม่ื สารละลาย นำ้�ตาลเกลือแร่ (โออาร์เอส) ไม่ควรกินยาหยุดถ่าย เพราะ เช้ือโรคจะตกค้างอยู่ในรา่ งกาย “ป้องกนั ภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เม่อื เกิดภัย” 31
หลังนำ�้ ท่วม เพม่ิ ความระมดั ระวงั ในการท�ำ ความสะอาดบา้ นเรอื นหลงั น�้ำ ลด ฟื้นฟบู า้ นเรือนท่ีได้รับความเสยี หายให้กลบั สู่สภาพเดิม k ฝ้าเพดาน หากเป็นวัสดุท่ีเปื่อยยุ่ยต้องเลาะออกแล้ว เปลยี่ นใหม่ อยา่ ลมื เฝา้ ระวงั ปลวก และสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน ต่างๆ อาจหลบไปในฝ้าเพดานต้องไลอ่ อกให้หมด k โซฟานวม นุ่นท่นี อนทอี่ มน้�ำ มากๆ อย่าเอากลบั มาใช้ อีก เพราะตอนน้ำ�ท่วมจะพาเชื้อโรคเข้าไปอยู่ภายใน แม้ตากแห้งแลว้ เช้ือโรคก็ยงั คงอยู่ 32 การเตรียมพรอ้ มรบั อุทกภัย (น�้ำ ท่วม)
k บานพบั ลกู บิด กลอน หากเกดิ สนมิ ตรงท่ีใด ก็ขดั เอาสนมิ นนั้ ออกเสยี โดยเร็ว และใชน้ ้ำ�ยาหลอ่ ลืน่ สารพัดประโยชน์ หยอดชโลม ตามข้อต่อ เฟือง และรูตา่ งๆ ให้ท่วั k ประตู ประตูไมแ้ กไ้ ขโดยท้ิงไว้ใหแ้ ห้ง แลว้ คอ่ ยซอ่ มแซม พ้นื ผวิ ประตูเหล็กทข่ี ้ึนสนมิ จดั การขดั สนมิ ออก เช็ดให้ สะอาด ใหแ้ หง้ แลว้ ทาสีใหมล่ งไป ประตพู ลาสตกิ พยายาม เอาน�ำ้ ออกให้หมดโดยเจาะรูเล็กๆ 1-2 รู เพือ่ ให้นำ�้ ระบาย ออกได้ “ปอ้ งกนั ภยั เชงิ รกุ บรรเทาทุกขเ์ มื่อเกดิ ภยั ” 33
k เชอ้ื รา ควรสวมหนา้ กากอนามัยชนดิ N95 เพอ่ื ปอ้ งกัน การหายใจเอาเชือ้ ราเขา้ ไป สวมถงุ มอื ยาง รองเท้ายาง ใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ชุบน้ำ�พอหมาดๆ เช็ดเชื้อรา ไปทางเดียวกัน เช็ดแล้วให้ท้ิงเลย ผสมน้ำ�กับสบู่ แล้ว เชด็ ซ�้ำ แบบเดมิ ไมแ่ นะน�ำ ให้ใชผ้ งซกั ฟอก และเชด็ อกี ครงั้ ดว้ ยนำ้�ยาฆ่าเช้ือรา 34 การเตรียมพร้อมรบั อุทกภัย (น้ำ�ทว่ ม)
ศนู ยข์ ้อมูล ช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั น้�ำ ท่วม กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั สายดว่ นนิรภัย 1784 • สำ�นักนายกรฐั มนตรี 1111 • กรมอุตนุ ิยมวิทยา 1182 • ส�ำ นักงานตำ�รวจแหง่ ชาติ 1599 • ศูนย์นเรนทร (แจ้งเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน) 1669 • ศนู ย์บรรเทาสาธารณภยั กองทัพบก ศบภ.ทบ. (สว่ นกลาง) 02-297-7648 ศบภ.ทภ.1 (ภาคกลาง) 02-280-3977 ศบภ.ทภ.2 (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ) 044-248-948 ศบภ.ทภ.3 (ภาคเหนอื ) 055-259-037 ศบภ.ทภ.4 (ภาคใต)้ 075-383-405 • การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค 1129 • การรถไฟแห่งประเทศไทย 1690 • กรมทางหลวง 1586 • ศนู ยค์ วามปลอดภัย กรมทางหลวงชนบท 1146 “ป้องกนั ภยั เชงิ รุก บรรเทาทกุ ขเ์ มอ่ื เกดิ ภัย” 35
กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย wโทwรw. .0d-i2sa6s3t7e-r3.g4o5.8th-6ส1าโยทดร่วสนานริร0ภ-ัย2214738-64622 “ป้องกนั ภยั เชิงรกุ บรรเทาทุกข์เม่ือเกิดภยั ”
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: