Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติไทย - มาเลเซีย

พระราชบัญญัติไทย - มาเลเซีย

Description: พระราชบัญญัติไทย - มาเลเซีย

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญตั ิ องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๓๓

พระราชบัญญตั ิ องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๓๓ ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็ นปี ท่ี ๔๕ ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราช โองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยทเี่ ป็ นการสมควรมกี ฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย มาเลเซีย จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญั ญตั ิขนึ้ ไว้โดยคาแนะนา และยนิ ยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย- มาเลเซียพ.ศ. ๒๕๓๓” มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้งั แต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษาเป็ นต้นไป

มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคบั อื่นใดในส่วนทบ่ี ัญญตั ิ ไว้แล้วในพระราชบัญญตั ินี้ หรือซึ่งขดั หรือแย้งกบั บทแห่งพระราชบัญญัตนิ ี้ ให้ใช้ พระราชบัญญตั นิ ้ีแทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ินี้ เว้นแต่ข้อความจะแสดงให้เห็นเป็ นอย่าง อ่ืน “บนั ทกึ ความเข้าใจ ค.ศ. ๑๙๗๙ (พ.ศ. ๒๕๒๒)” หมายความว่า บนั ทกึ ความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียเกีย่ วกับการจัดต้ังองค์กรร่วมเพื่อ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณท่ีกาหนดของไหล่ทวปี ของ ประเทศท้ังสองในอ่าวไทย ฉบบั ลงนามวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๗๙ (พ.ศ. ๒๕๒๒) “ความตกลง” หมายความว่า ความตกลงว่าด้วยธรรมนูญและเรื่องอ่ืนๆ ท่เี ก่ยี วเน่ืองกับการจดั ต้ังองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ซ่ึงได้ลงนามโดยรัฐบาลแห่ง ราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งมาเลเซีย เม่ือวันท่ี ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย “รัฐบาลท้งั สอง” หมายความว่า รัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยและ รัฐบาลแห่งมาเลเซีย “องค์กรร่วม” หมายความว่า องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย “กองทุน” หมายความว่า กองทนุ องค์กรร่วมไทย-มาเลเซียตามมาตรา ๑๒ “พืน้ ท่พี ฒั นาร่วม” หมายความว่า พืน้ ทีใ่ นบริเวณทก่ี าหนดของไหล่ทวปี ของราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียในอ่าวไทยตามมาตรา ๙ “เส้นแบ่งเขตอานาจ” หมายความว่า เส้นตรงซึ่งเช่ือมจุดพกิ ดั ดงั ต่อไปน้ี (เอ) ๖ องศา ๕๐.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๒๑.๒ ลิปดา ตะวนั ออก (เอ็กซ์) ๗ องศา ๓๕.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๒๓.๐ ลิปดา ตะวนั ออก

ซ่ึงแบ่งเขตอานาจทางแพ่งและทางอาญาในพืน้ ที่พฒั นาร่วม “ทรัพยากรธรรมชาติ” หมายความว่า ทรัพยากรธรรมชาตใิ ดๆ ที่ไม่มี ชีวติ รวมท้ังแร่ น้ามันแร่ดิบ และโลหะใดๆ “ปิ โตรเลียม” หมายความว่า นา้ มันแร่ดบิ ใดๆ หรือไฮโดรคาร์บอนอ่ืนใด และก๊าซธรรมชาติซึ่งอยู่ในสภาพอนั เป็ นธรรมชาตแิ ละก๊าซธรรมชาติเหลวที่ปากหลมุ รวมท้ังหินบิทูเมนและทรัพยากรอื่นทส่ี ะสมอย่เู ป็ นช้ันๆ ซึ่งสามารถจะสกดั น้ามัน ออกมาได้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผ้รู ักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน*รักษาการตาม พระราชบัญญตั ินี้ และให้มอี านาจแต่งต้ังพนกั งานเจ้าหน้าท่ีกับออกกฎกระทรวงเพ่ือ ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี กฎกระทรวงน้นั เมื่อได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บงั คับได้ หมวด ๑ องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย มาตรา ๖ ให้จัดต้ังองค์กรขนึ้ องค์กรหนงึ่ เรียกว่า “องค์กรร่วมไทย- มาเลเซีย” ให้องค์กรร่วมเป็ นนิติบคุ คล และมภี มู ลิ าเนาอยู่ในราชอาณาจกั รไทยและ มาเลเซีย ภายใต้บังคบั และเพื่อวตั ถปุ ระสงค์แห่งพระราชบัญญตั นิ ี้ ให้องค์กรร่วม มอี านาจทาสัญญา ได้มา ซื้อ รับเอา ถือเอาประโยชน์ซึ่งสังหาริมทรัพย์และ อสังหาริมทรัพย์ทกุ รูปแบบ ยกเว้นการถือกรรมสิทธ์ใิ นที่ดิน และมอี านาจ โอนสิทธิ

มอบ คืน ก่อให้เกดิ ภาระติดพัน จานองมอบช่วง โอน หรือจาหน่าย โดยวธิ ีอ่ืนใด หรือ จดั การเกีย่ วกับสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ใดๆ หรือผลประโยชน์ใดๆ ใน ทรัพย์สินดงั กล่าว ซ่ึงเป็ นขององค์กรร่วม ท้ังน้ี ตามข้อกาหนดที่องค์กรร่วมจะ เหน็ สมควร มาตรา ๗ ให้องค์กรร่วมมอี านาจและปฏบิ ตั ิหน้าทีต่ ามท่ีจาเป็ นสาหรับ การดาเนนิ งานตามหน้าทขี่ องตน และสาหรับการใช้สิทธิและเอกสิทธ์ขิ องตนภายใต้ และเท่าทีไ่ ม่ขดั ต่อพระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา ๘ โดยผลแห่งพระราชบัญญัตนิ ้ี องค์กรร่วมได้รับมอบอานาจ และเข้าถือเอาซึ่งสิทธแิ ต่ผ้เู ดียว อานาจ ความเป็ นอิสระ และเอกสิทธ์ิในการสารวจและ แสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ปิ โตรเลยี ม ในพื้นทพ่ี ัฒนา ร่วม หมวด ๒ พื้นทพี่ ฒั นาร่วม มาตรา ๙ พืน้ ทพ่ี ัฒนาร่วม คือ บริเวณท่ีกาหนดขอบเขตโดยเส้นตรงซึ่ง เชื่อมจุดพกิ ดั ดงั ต่อไปนี้ (เอ) ๖ องศา ๕๐.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๒๑.๒ ลปิ ดา ตะวนั ออก (บี) ๗ องศา ๑๐.๒๕ ลิปดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๒๙.๐ ลปิ ดา ตะวนั ออก (ซี) ๗ องศา ๔๙.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๐๒.๕ ลปิ ดา ตะวันออก (ดี) ๗ องศา ๒๒.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๔๒.๕ ลปิ ดา ตะวันออก (อ)ี ๗ องศา ๒๐.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๓๙.๐ ลปิ ดา ตะวันออก

(เอฟ) ๗ องศา ๐๓.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๐๖.๐ ลิปดา ตะวนั ออก (จี) ๖ องศา ๕๓.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๓๔.๐ ลิปดา ตะวันออก และแสดงไว้ในส่วนทเี่ กยี่ วข้องของแผนท่ีเดินเรืออังกฤษ เลขที่ ๒๔๑๔ ฉบบั ค.ศ. ๑๙๖๗ (พ.ศ. ๒๕๑๐) ดังปรากฏในแผนทที่ ้ายพระราชบัญญัตนิ ้ี หมวด ๓ ค่าภาคหลวง มาตรา ๑๐ ให้องค์กรร่วมชาระค่าภาคหลวงแก่รัฐบาลท้งั สอง แต่ละฝ่ าย ในอตั ราฝ่ ายละร้อยละห้าของผลผลิตรวมของปิ โตรเลยี ม ตามวิธกี ารและเวลาท่กี าหนด โดยกฎกระทรวง หมวด ๔ การเงนิ มาตรา ๑๑ ค่าใช้จ่ายท้ังปวงทีเ่ กดิ ขนึ้ และผลประโยชน์ทอี่ งค์กรร่วมได้รับ จากกจิ กรรมทดี่ าเนนิ ไปในพื้นทพ่ี ฒั นาร่วม รัฐบาลท้งั สองจะรับภาระและแบ่งปันเท่าๆ กนั ในระหว่างที่องค์กรร่วมยังไม่มีรายได้เพยี งพอท่จี ะใช้เป็ นค่าใช้จ่าย ประจาปี ในการดาเนนิ กจิ การรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยจะชาระเงนิ เข้ากองทุนเป็ น รายปี ตามท่จี ะกาหนดตามความตกลง ท้ังนี้ ตามจานวนเงินท่ีเท่ากันกับจานวนเงินที่ รัฐบาลแห่งมาเลเซียจะชาระด้วย

หมวด ๕ กองทนุ องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย มาตรา ๑๒ เพ่ือวตั ถุประสงค์แห่งพระราชบญั ญัตนิ แ้ี ละความตกลง ให้ จดั ต้งั กองทนุ ขนึ้ กองทนุ หน่ึง เรียกว่า “กองทุนองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย” โดยให้ องค์กรร่วมเป็ นผู้บริหารและควบคุม สินทรัพย์ของกองทุนประกอบด้วย (๑) เงินอุดหนุนทไี่ ด้จากรัฐบาลท้งั สองตามความตกลงและตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง (๒) เงินที่ได้จากการดาเนนิ โครงการ แผนงานหรือกิจการลงทุนใดๆ ท่ใี ช้ เงนิ กองทุน (๓) เงินทีไ่ ด้จากหรือเกดิ จากทรัพย์สิน การลงทนุ การจานองหรือค่า ภาระใดๆทไี่ ด้มาหรือตกเป็ นขององค์กรร่วม (๔) เงินท่อี งค์กรร่วมยืมมาเพ่ือปฏิบัติตามพนั ธะกรณี หรือเพ่ือปฏิบัติ หน้าทีใ่ ดๆและ (๕) เงินหรือทรัพย์สินอื่นใดท่ีจะพึงชาระให้แก่หรือตกเป็ นขององค์กร ร่วมไม่ว่าด้วยวิธีใดและในเรื่องใดที่เกยี่ วเน่ืองกับอานาจและหน้าที่ขององค์กรร่วม มาตรา ๑๓ กองทนุ สามารถนาไปใช้เพื่อ (๑) เป็ นค่าใช้จ่ายท่เี กดิ จากการท่อี งค์กรร่วมปฏบิ ัตหิ น้าท่แี ละใช้อานาจ ตามบทบญั ญัตวิ ่าด้วยงบประมาณทไ่ี ด้รับความเห็นชอบแล้ว และภายใต้บังคับแห่ง กฎกระทรวงทอ่ี อกตามมาตรา ๑๘ (๒) ชาระเงนิ ใดๆ ท่อี งค์กรร่วมยืมมาตามมาตรา ๑๕ วรรคหนงึ่ (๓) รวมท้ังดอกเบยี้ และค่าภาระอื่นๆ อันเป็ นผลจากการยืมน้นั

(๓) การลงทุนตามท่ีองค์กรร่วมจะตดั สินใจทา โดยต้องได้รับความ เหน็ ชอบจากรัฐบาลท้ังสอง และ (๔) การชาระเงนิ ในจานวนเท่าๆ กนั ให้แก่รัฐบาลท้งั สอง จากรายได้ซึ่ง องค์กรร่วมได้รับหลังจากได้หกั ค่าใช้จ่ายตาม (๑) และ (๒) รวมท้ังค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ รัฐบาลท้งั สองจะได้ตกลงกนั ท้งั นี้ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๔ ให้องค์กรร่วมต้ังและจดั การทุนสารองในกองทุนตาม ข้อกาหนดและเง่ือนไขท่ีรัฐบาลท้งั สองจะได้ร่วมกันกาหนดขนึ้ มาตรา ๑๕ การกระทาดงั ต่อไปนี้ องค์กรร่วมจะกระทามิได้ เว้นแต่จะ ได้รับความเหน็ ชอบจากรัฐบาลท้งั สองก่อน (๑) ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษทั คณะบคุ คล หรือบุคคลใดๆ โดยเข้าถือหุ้นหรือซื้อหุ้นกู้ หรือโดยวธิ ีให้กู้ทดรองจ่าย ให้เงนิ ช่วยเหลือหรือโดยวธิ อี ่ืน (๒) ซื้อ จัดจาหน่ายและรับประกนั การจาหน่าย หรือทาให้ได้มาโดยวิธี อ่ืนใดซึ่งหุ้นประเภทใดๆ ในบริษัทมหาชนหรือบริษัทเอกชน หรือ (๓) ยืมเงนิ คา้ ประกันหรือรับจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนท่ีเกย่ี วเนื่องกบั ความรับผิดทางการเงิน ในการให้ความเหน็ ชอบตามวรรคหนง่ึ รัฐบาลท้งั สองจะร่วมกนั วาง ข้อกาหนดและเงื่อนไขตามทเี่ ห็นสมควรกไ็ ด้ มาตรา ๑๖ บทบญั ญัติท้งั หลายในพระราชบญั ญตั ิน้ไี ม่ก่อให้เกดิ ความ รับผดิ ชอบใดๆ แก่รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยหรือรัฐบาลแห่งมาเลเซีย สาหรับความ รับผดิ ใดๆ ขององค์กรร่วม หมวด ๖

สัญญาเพื่อการสารวจและแสวงประโยชน์ มาตรา ๑๗ ไม่ว่าจะมกี ฎหมายอื่นใดบัญญตั ิเป็ นลายลักษณ์อักษรไว้ อย่างไรก็ตาม ห้ามมใิ ห้ผู้ใดนอกจากองค์กรร่วมประกอบธุรกจิ การสารวจและแสวง ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติใดๆ รวมท้ังปิ โตรเลยี มในพืน้ ทพ่ี ัฒนาร่วม เว้นแต่จะ ได้มีการทาสัญญาระหว่างองค์กรร่วมกับผ้นู ้นั เพ่ือสารวจและแสวงประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าว สัญญาตามวรรคหนึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐบาลท้งั สองก่อน ภายใต้บงั คบั ของวรรคสี่ ในกรณีทีส่ ัญญาตามวรรคหนึง่ เป็ นสัญญาเพ่ือ สารวจและแสวงหาประโยชน์จากปิ โตรเลยี ม สัญญาน้นั จะต้องเป็ นสัญญาแบ่งปัน ผลผลิตและนอกจากเรื่องอ่ืนๆ ต้องมขี ้อกาหนดและเงื่อนไข ดังต่อไปนีด้ ้วย (๑) เพ่ือวตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา ๑๐ ผู้ได้รับสัญญาต้องชาระค่าภาคหลวง เป็ นจานวนร้อยละสิบของผลผลติ รวมของปิ โตรเลยี มให้แก่องค์กรร่วมตามวธิ ีการและ เวลาทจ่ี ะกาหนดในสัญญา (๒) ให้ผ้ไู ด้รับสัญญาใช้อตั ราร้อยละห้าสิบของผลผลิตรวมของ ปิ โตรเลียมเพ่ือวตั ถุประสงค์ในการหักค่าใช้จ่ายสาหรับการประกอบกจิ การปิ โตรเลียม (๓) ให้ถือว่าส่วนที่เหลือของผลผลิตรวมของปิ โตรเลียมหลงั จากการหกั เพ่ือวัตถุประสงค์ตาม (๑) และ (๒) แล้ว เป็ นปิ โตรเลียมส่วนทเ่ี ป็ นกาไร และให้แบ่ง ให้แก่องค์กรร่วมและผ้ไู ด้รับสัญญาเท่าๆ กนั (๔) สัญญาจะมอี ายไุ ม่เกนิ สามสิบห้าปี แต่ต้องไม่เกินอายุของการใช้ บังคบั ของความตกลง (๕) ให้บรรดาค่าใช้จ่ายท้ังปวงในการประกอบกิจการปิ โตรเลยี มตกเป็ น ภาระของผู้ได้รับสัญญาและภายใต้บังคับของ (๒) ให้หกั จากผลผลติ ได้

(๖) จานวนเงินข้ันตา่ ทีผ่ ้ไู ด้รับสัญญาต้องใช้เป็ นค่าใช้จ่ายในการประกอบ กจิ การปิ โตรเลยี มตามสัญญาในฐานะข้อผูกพันข้นั ตา่ ตามทีต่ กลงกนั ระหว่างองค์กร ร่วมและผ้ไู ด้รับสัญญา (๗) ผู้ได้รับสัญญาต้องชาระเงนิ บารุงการวิจัยให้แก่องค์กรร่วมในอัตรา ร้อยละศูนย์จุดห้าของจานวนรวมแห่งส่วนของผลผลิตรวมทใ่ี ช้เพื่อวัตถปุ ระสงค์ใน การหักค่าใช้จ่ายตาม (๒) และส่วนแบ่งของปิ โตรเลยี มส่วนท่ีเป็ นกาไรของผู้ได้รับ สัญญาตาม (๓) ตามวธิ กี ารและเวลาที่จะได้กาหนดโดยองค์กรร่วม แต่ท้ังน้ี การชาระ เงินดงั กล่าวจะหักจากผลผลติ มิได้ และ (๘) ข้อพพิ าทหรือข้อขัดแย้งใดๆ ซึ่งเกิดจากหรือเกย่ี วเนื่องกับสัญญาซึ่ง ไม่สามารถตกลงกนั ได้โดยฉันท์มติ ร ให้เสนอต่ออนุญาโตตุลาการ ซ่ึงมอี งค์คณะที่ ประกอบด้วยอนุญาโตตุลาการ ๓ คน เพ่ือชี้ขาด โดยค่กู รณีเป็ นผ้ตู ้ังฝ่ ายละหน่ึงคน และ ให้ค่กู รณรี ่วมกันต้ังคนทส่ี าม หากค่กู รณีไม่อาจตกลงกนั ได้ในการเลือก อนุญาโตตุลาการคนทสี่ ามภายในระยะเวลาทก่ี าหนดไว้ ให้เสนอเร่ืองไปยัง คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศของสหประชาชาติ (UNCITRAL) เพ่ือต้งั อนุญาโตตุลาการคนท่ีสาม กระบวนพจิ ารณาของ อนุญาโตตลุ าการให้เป็ นไปตามกฎของคณะกรรมาธกิ ารดังกล่าว สถานทีพ่ ิจารณาของ อนุญาโตตุลาการให้อย่ทู ก่ี รุงเทพมหานครหรือกรุงกัวลาลมั เปอร์ หรือสถานท่ีอ่ืนใด ตามแต่ค่กู รณจี ะตกลงกัน ให้องค์กรร่วมเปล่ียนแปลงอัตราตาม (๒) (๓) และ (๗) ของวรรคสาม สาหรับสัญญาใดๆ ได้โดยความเห็นชอบของรัฐบาลท้งั สอง ท้ังนี้ การเปลีย่ นแปลงใดๆ ดังกล่าวในสัญญาทีย่ งั มีผลใช้บงั คบั อยู่จะกระทามไิ ด้ เว้นแต่ผ้ไู ด้รับสัญญาจะตกลง ยินยอมด้วย เพ่ือวตั ถุประสงค์แห่งมาตรานี้ “ผลผลิตรวม” เม่ือเกย่ี วกับก๊าซให้ หมายถงึ รายได้ท้ังหมดจากการขายก๊าซ

หมวด ๗ กฎกระทรวง มาตรา ๑๘ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของรัฐบาลท้งั สองมีอานาจออก กฎกระทรวงได้ในเร่ืองดังต่อไปน้ี (๑) การประกอบการ หรือดาเนินธุรกจิ หรือบริการใดๆ ท่เี กี่ยวเนื่องกบั การ สารวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นทีพ่ ฒั นาร่วม (๒) การชาระเงินใดๆ ที่จะต้องชาระแก่รัฐบาลท้งั สองจากองค์กรร่วมตาม มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๓ (๔) (๓) ข้อกาหนดและเงื่อนไขในการแต่งต้ัง และการจ่ายค่าตอบแทนค่า เดนิ ทางและเบี้ยเลยี้ งท่ีต้องจ่ายให้แก่ประธานร่วมและสมาชิกอื่นขององค์กรร่วม (๔) วิธีการสาหรับย่ืนข้อเสนอและตกลงทาสัญญาใดๆ ท่อี าจทาตาม มาตรา ๑๗ รวมท้ังข้อกาหนดและเงื่อนไขที่อาจมใี นสัญญาน้นั ๆ (๕) การทาบญั ชีและบันทกึ หลักฐานอื่นๆ ท่ีถูกต้องของกิจกรรมในเชิง ธุรกจิ และกิจการต่างๆ ขององค์กรร่วม ตามหลักการทาบัญชีอันเป็ นท่ียอมรับโดยทวั่ ไป (๖) การจัดทางบการบัญชีประจาปี และการจดั สรรกาไรตามบทบัญญตั ิ แห่งพระราชบัญญัตนิ ้ี (๗) การสอบบัญชีและการเสนอบัญชีต่อรัฐบาลท้งั สองหลังจากน้นั (๘) การจดั ทาและการเสนองบประมาณประจาปี ต่อรัฐบาลท้งั สอง (๙) หลกั เกณฑ์และวิธีการสาหรับการสารวจและแสวงประโยชน์จาก ปิ โตรเลียมในพื้นท่ีพัฒนาร่วม และ (๑๐) เรื่องอ่ืนใดเพ่ือวตั ถุประสงค์ในอนั ทจ่ี ะทาให้บทบญั ญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้บงั เกิดผล

ท้ังน้ี กฎกระทรวงในส่วนทีเ่ กี่ยวกบั เรื่องตาม (๑) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) จะออกได้เม่ือได้หารือองค์กรร่วมแล้ว หมวด ๘ พนกั งานเจ้าหน้าท่ี เจ้าหน้าที่ และเขตอานาจศาล มาตรา ๑๙ ให้สมาชิก เจ้าหน้าท่ี ลูกจ้าง และตัวแทนขององค์กรร่วม และ พนกั งานเจ้าหน้าทีซ่ ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังตามมาตรา ๕ เป็ นเจ้าพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา ๒๐ ไม่ว่าจะมกี ฎหมายอ่ืนใดบญั ญตั ิเป็ นลายลักษณ์อักษรไว้ อย่างไรก็ตาม ให้ศาลจงั หวัดสงขลา ศาลแพ่ง หรือศาลอาญา มเี ขตอานาจท่จี ะพจิ ารณา พพิ ากษาคดตี ามพระราชบัญญัตนิ ้หี รือตามกฎกระทรวงใดๆ ทอ่ี อกตาม พระราชบัญญัติน้ี เพ่ือวัตถุประสงค์ในการใช้เขตอานาจศาลเหนือความผิดใดๆ ทไี่ ด้กระทา ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ หรือตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๑๘ ให้นามาตรา ๒๑ วรรคสอง และมาตรา ๒๑ วรรคหก (๒) และ (๔) มาใช้บังคับ หมวด ๙ เขตอานาจ มาตรา ๒๑ ภายใต้บังคบั วรรคสอง และวรรคสาม ราชอาณาจักรไทย ยงั คงมแี ละใช้เขตอานาจเหนือพืน้ ทพ่ี ัฒนาร่วมต่อไป

เขตอานาจทางแพ่งและทางอาญาของ (๑) ราชอาณาจกั รไทยในพื้นทีพ่ ฒั นาร่วมคลุมถงึ บริเวณทก่ี าหนด ขอบเขตโดยเส้นตรงซึ่งเชื่อมจุดพิกัด ดังต่อไปนี้ (เอ) ๖ องศา ๕๐.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๒๑.๒ ลปิ ดา ตะวันออก (บ)ี ๗ องศา ๑๐.๒๕ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๒๙.๐ ลิปดา ตะวนั ออก (ซี) ๗ องศา ๔๙.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๐๒.๕ ลปิ ดา ตะวันออก (เอ็กซ์) ๗ องศา ๓๕.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๒๓.๐ ลิปดา ตะวันออก (๒) มาเลเซียในพื้นท่ีพฒั นาร่วมคลุมถงึ บริเวณท่กี าหนดขอบเขตโดย เส้นตรงซึ่งเช่ือมจุดพิกดั ดังต่อไปน้ี (เอ) ๖ องศา ๕๐.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๒๑.๒ ลิปดา ตะวนั ออก (เอก็ ซ์) ๗ องศา ๓๕.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๒๓.๐ ลปิ ดา ตะวันออก (ด)ี ๗ องศา ๒๒.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๔๒.๕ ลิปดา ตะวนั ออก (อี) ๗ องศา ๒๐.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๓๙.๐ ลปิ ดา ตะวนั ออก (เอฟ) ๗ องศา ๐๓.๐ ลิปดา เหนือ ๑๐๓ องศา ๐๖.๐ ลปิ ดา ตะวนั ออก (จ)ี ๖ องศา ๕๓.๐ ลปิ ดา เหนือ ๑๐๒ องศา ๓๔.๐ ลปิ ดา ตะวันออก บทบัญญตั แิ ห่งพระราชบัญญตั นิ ี้ ไม่มผี ลกระทบกระเทือนต่อสิทธิ อธิปไตยของราชอาณาจกั รไทยเหนือพื้นท่พี ัฒนาร่วมแต่อย่างใด และการสละเขต อานาจใดๆ ตามมาตรานี้ ไม่มผี ลบงั คบั และไม่มผี ลเกินอายขุ องการใช้บังคับของความ ตกลง การทีร่ าชอาณาจักรไทย ยนิ ยอมให้มาเลเซียใช้เขตอานาจทางแพ่งและ ทางอาญาตามวรรคสอง (๒) และยอมให้ใช้เขตอานาจในเร่ืองทีเ่ กย่ี วกับศุลกากรและ สรรพสามิต และภาษีอากรภายในพื้นท่ีพัฒนาร่วมต่อไป ให้เป็ นไปตามเง่ือนไขแห่ง การรับรองในลกั ษณะต่างตอบแทนต่อสิทธขิ องราชอาณาจักรไทยตามวรรคสอง (๑) เขตอานาจใดๆ ทีเ่ ป็ นของราชอาณาจักรไทยหรือของมาเลเซียตามมาตรา นใ้ี นส่วนท่เี กย่ี วกบั พืน้ ทพ่ี ฒั นาร่วม ให้มเี ฉพาะในเรื่องและภายในขอบเขตเท่าที่

กาหนดไว้ในกฎหมายท่เี กย่ี วกบั ไหล่ทวปี และตามที่เป็ นที่ยอมรับกนั ตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ เพื่อวัตถุประสงค์แห่งมาตรานี้ (๑) เขตอานาจทางแพ่งและทางอาญาไม่รวมถึงเขตอานาจในเรื่องที่ เก่ียวกับศุลกากรและสรรพสามติ และภาษีอากร (๒) เขตอานาจทางอาญาเหนือความผดิ ทไ่ี ด้กระทาลงบนแท่นหรือสิ่ง ติดต้งั ซึ่งอย่คู ร่อมเส้นแบ่งเขตอานาจ และได้สร้างไว้เพื่อวัตถปุ ระสงค์ในการสารวจ และแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ดนิ ใต้ทะเลและใต้ดนิ ภายในพื้นท่ี พัฒนาร่วม ให้ราชอาณาจกั รไทยหรือมาเลเซียใช้อานาจน้ันแต่เพียงผ้เู ดยี ว ตามแต่จะ กาหนดว่าแท่นหรือส่ิงติดต้ังน้นั เป็ นไทยหรือมาเลเซีย (๓) การวนิ ิจฉัยว่าแท่นหรือสิ่งติดต้งั ซ่ึงอย่คู ร่อมเส้นแบ่งเขตอานาจ และ ได้สร้างไว้เพ่ือวตั ถปุ ระสงค์ในการสารวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ในพืน้ ดินใต้ทะเลและใต้ดนิ ภายในพืน้ ที่พฒั นาร่วมเป็ นของราชอาณาจกั รไทยหรือของ มาเลเซีย ในเรื่องท่ีเกย่ี วกับปัญหาใดๆ ทจ่ี ะต้องมีการวนิ จิ ฉัยในกระบวนพจิ ารณาทาง แพ่งใดๆ หรือเพื่อวตั ถปุ ระสงค์ของการเข้าไปใช้หรือใช้เขตอานาจทางแพ่งโดย ราชอาณาจกั รไทยหรือมาเลเซีย ให้เป็ นไปตามการกาหนดว่าแท่นหรือสิ่งติดต้ังน้นั เป็ น ไทยหรือมาเลเซียและ (๔) การกาหนดว่าแท่นหรือสิ่งตดิ ต้งั เป็ นไทยหรือมาเลเซียตาม (๒) และ (๓) ให้วินิจฉัยตามหลกั การว่าท่ตี ้ังส่วนใหญ่อยู่ที่ใด หมวด ๑๐ สิทธิในห้วงน้า

มาตรา ๒๒ บทบญั ญตั แิ ห่งพระราชบัญญตั ิน้ี ไม่ใช้บงั คับแก่สิทธิ ความ เป็ นอิสระ และเอกสิทธ์ิใดๆ ซึ่งรวมถงึ เรื่องท่เี กี่ยวกบั การประมง และไม่ กระทบกระเทือนต่อการอ้างสิทธิดงั กล่าว ท่ีราชอาณาจักรไทยหรือมาเลเซียอาจมเี หนือ ห้วงนา้ ของพืน้ ท่พี ัฒนาร่วมโดยผลของข้อ ๔แห่งบันทึกความเข้าใจ ค.ศ. ๑๙๗๙ (พ.ศ. ๒๕๒๒) หมวด ๑๑ ความผดิ และบทกาหนดโทษ มาตรา ๒๓ ภายใต้บงั คบั มาตรา ๒๕ ผู้ใด รวมท้ังกรรมการหรือ เจ้าหน้าที่ของนติ บิ ุคคลฝ่ าฝื นมาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ ห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาทหรือท้งั จาท้ังปรับและในกรณที เี่ ป็ นความผดิ ต่อเนื่อง ต้อง ระวางโทษปรับอีกไม่เกนิ หน่ึงหมื่นบาทต่อวันหรือเศษของวนั ในระหว่างทคี่ วามผดิ น้นั ยังดาเนนิ อย่ตู ่อไปหลังจากวนั แรกท่ีมีคาพิพากษา และบรรดาเคร่ืองจักร เครื่องมือ โรงงาน ส่ิงก่อสร้าง และทรัพย์สินอื่นใด หรือสิ่งของทีไ่ ด้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการ กระทาความผิด ให้ริบเสียท้ังสิ้น มาตรา ๒๔ ภายใต้บังคบั มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๕ ผู้ใด รวมท้งั กรรมการหรือเจ้าหน้าทข่ี องนิตบิ ุคคล ฝ่ าฝื นบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบญั ญัตินี้ หรือ กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ สองปี หรือปรับไม่เกิน สองแสนบาท หรือท้งั จาท้ังปรับและในกรณีทเ่ี ป็ นความผดิ ต่อเน่ือง ต้องระวางโทษ ปรับอีกไม่เกินสองพันบาทต่อวันหรือเศษของวันในระหว่างท่คี วามผดิ น้ันยังดาเนนิ อยู่ ต่อไปหลังจากวนั แรกท่ีมคี าพิพากษา

มาตรา ๒๕ ในกรณที ผ่ี ู้ซ่ึงถูกพพิ ากษาว่าได้กระทาความผิดตามมาตรา ๒๓ หรือมาตรา ๒๔ เป็ นนติ ิบุคคล ผ้นู ้ันจะถกู ลงโทษได้เพียงโทษปรับตามท่กี าหนดไว้ ในมาตราดงั กล่าว มาตรา ๒๖ ในกรณที ่ีผ้ตู ้องหาว่ากระทาความผดิ ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี หรือกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๑๘ เป็ นนติ บิ ุคคล บุคคลทกุ คนซึ่งในขณะทมี่ ีการ กระทาความผดิ น้นั เป็ นกรรมการหรือเจ้าหน้าทข่ี องนิติบุคคลดังกล่าว อาจถูกฟ้อง ร่วมกันในคดีเดียวกับนิตบิ ุคคลน้ัน และในกรณที ีน่ ติ ิบคุ คลน้นั ถกู พพิ ากษาว่าได้กระทา ความผิดตามฟ้อง ให้ถือว่ากรรมการหรือเจ้าหน้าทด่ี งั กล่าวทกุ คนได้กระทาความผดิ น้นั เว้นแต่ผู้น้ันจะพิสูจน์ได้ว่าความผดิ น้ันได้กระทาลงโดยตนไม่ได้มีส่วนรู้เห็นด้วย หรือได้ใช้ความระมดั ระวงั ตามสมควรแล้วทจี่ ะป้องกนั มิให้มีการกระทาความผิดน้นั มาตรา ๒๗ ถ้าตวั แทนกระทาความผิดตามพระราชบญั ญัติน้ี หรือตาม กฎกระทรวงทอี่ อกตามมาตรา ๑๘ ให้ถือว่าตวั การมคี วามผิดด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า ตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรในการป้องกนั การกระทาหรือการละเว้นการ กระทาน้นั ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรี [เอกสารแนบท้าย]

๑. แผนท่ที ้ายพระราชบัญญัติองค์กรร่วม ไทย-มาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ดูข้อมลู จากภาพกฎหมาย) หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญตั ฉิ บบั นี้ คือ เนื่องจากได้มีการลง นามในบนั ทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจกั รไทยและมาเลเซียเกี่ยวกบั การจัดต้ัง องค์กรร่วมเพ่ือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดนิ ใต้ทะเลในบริเวณทก่ี าหนดของ ไหล่ทวปี ของประเทศท้ังสองในอ่าวไทย เมื่อวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๒ และ ต่อมาได้มีการลงนามในความตกลงว่าด้วยธรรมนูญและเรื่องอื่นๆ ท่ีเกยี่ วเน่ืองกับการ จัดต้ังองค์กรร่วมไทย-มาเลเซียระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่ง มาเลเซีย เม่ือวันท่ี ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ตามความตกลงดังกล่าวมีข้อกาหนด ด้วยว่า ท้ังสองประเทศจะต้องออกกฎหมายอนุวัตรการก่อต้ังองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย โดยมีสาระสาคัญเหมือนกนั และประกาศใช้บงั คับพร้อมกนั ด้วย จงึ จาเป็ นต้องตรา พระราชบัญญตั ิน้ี *พระราชกฤษฎกี าแก้ไขบทบญั ญัตใิ ห้สอดคล้องกบั การโอนอานาจหน้าท่ขี องส่วน ราชการให้เป็ นไปตามพระราชบญั ญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕[๒] มาตรา ๑๒๗ ในพระราชบญั ญตั อิ งค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๓๓ ให้แก้ไขคาว่า “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอตุ สาหกรรม” เป็ น “รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลงั งาน”

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบบั น้ี คือ โดยที่ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดต้ังส่วน ราชการขนึ้ ใหม่โดยมภี ารกจิ ใหม่ ซ่ึงได้มกี ารตราพระราชกฤษฎกี าโอนกิจการบริหาร และอานาจหน้าทีข่ องส่วนราชการให้เป็ นไปตามพระราชบัญญตั ปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม น้นั แล้ว และเน่ืองจากพระราชบัญญตั ดิ งั กล่าวได้บัญญัตใิ ห้โอนอานาจ หน้าท่ีของส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดารงตาแหน่งหรือผ้ซู ึ่งปฏิบัตหิ น้าที่ในส่วนราชการ เดิมมาเป็ นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มกี ารแก้ไขบทบญั ญัตติ ่างๆ ให้สอดคล้องกบั อานาจหน้าทที่ ่ีโอนไปด้วย ฉะน้นั เพื่ออนุวัตใิ ห้เป็ นไปตามหลกั การท่ีปรากฏใน พระราชบัญญัตแิ ละพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จงึ สมควรแก้ไขบทบัญญตั ิของกฎหมาย ให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพ่ือให้ผ้เู กีย่ วข้องมีความชัดเจนในการใช้ กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอานาจหน้าทีว่ ่าตามกฎหมายใดได้มกี าร โอนภารกิจของส่วนราชการหรือผ้รู ับผิดชอบตามกฎหมายน้ันไปเป็ นของหน่วยงานใด หรือผ้ใู ดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญตั ิของกฎหมายให้มีการเปล่ียนชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดารงตาแหน่งหรือผ้ซู ่ึงปฏบิ ตั ิหน้าท่ขี องส่วนราชการให้ตรงกับการโอน อานาจหน้าที่ และเพิม่ ผ้แู ทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกจิ ทมี่ ีการ ตัดโอนจากส่วนราชการเดมิ มาเป็ นของส่วนราชการใหม่รวมท้ังตดั ส่วนราชการเดิมที่มี การยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็ นการแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญตั ิและพระราชกฤษฎกี า ดงั กล่าว จึงจาเป็ นต้องตราพระราชกฤษฎกี านี้ [๑] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๐๘/ตอนท่ี ๑๑/ฉบบั พิเศษ หน้า ๑/๒๒ มกราคม ๒๕๓๔ [๒] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนที่ ๑๐๒ ก/หน้า ๖๖/๘ ตลุ าคม ๒๕๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook