Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

คู่มือการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

Description: คู่มือการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

1

2 คานา กระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้การนาของ นายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ มนี โยบายสาคญั หลายประการที่จะนาไปสู่การปฏิรูปการศึกษา โดยมีเจตนารมณ์เพ่ือ สร้างโอกาสและคุณภาพทางการศึกษา ซ่ึงท่านได้กล่าวย้าอยู่เสมอว่าทุกภาคส่วนมีบทบาทในการ ขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาไปสู่ความสาเร็จ โดยเฉพาะผู้อานวยการสถานศึกษาถือได้ว่าเป็น Key Success Factor เพราะเป็นจุดเชื่อมของนโยบายของนโยบายกับการปฏิบัติท่ีใกล้ชิดกับผู้เรียนมากท่ีสุด ซึ่งแน่นอนว่าผู้อานวยการสถานศึกษา นอกจากจะมีความรู้ความสามารถสูงแล้วต้องเป็นผู้นาครูและ บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้ปกครองและชุมชนให้มาร่วมมือส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ดังนั้นจึงต้องมีการคัดเลือกผู้อานวยการสถานศึกษาที่พร้อมด้วยวัยวุฒิ คุณวุฒิและมีศักยภาพในการเป็น ผนู้ าสถานศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงมีนายบุญรักษ์ ยอดเพชร เป็นเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน เป็นผนู้ าในการนานโยบายมาสู่การปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อที่จะดาเนินการคัดเลือกผู้อานวยการสถานศึกษารูปแบบใหม่ ซึ่งมีความรู้ความสามารถและผลการ ปฏิบตั งิ านทีด่ ีมาเปน็ ผู้นาในการขับเคลือ่ นนโยบายส่กู ารปฏิบัติในระดับสถานศกึ ษา คู่มือการประเมิน สัมฤทธิผล การปฏิบัติงาน ใน หน้าท่ีตาแ หน่งผู้อาน วยการสถาน ศึกษาสั งกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในระยะเวลา 1 ปี ฉบับนี้จึงจัดทาข้ึนเพ่ือจะนาเสนอ รายละเอียดความเป็นมาแนวทางในการประเมินผลสัมฤทธิผลการปฏิบัติงาน บทบาทหน้าที่ของผู้ท่ี เกีย่ วข้องระหว่างการปฏบิ ตั ิงานในชว่ งระยะเวลา 1 ปี ตลอดจนถอดบทเรียนในการเป็นผู้บริหารมืออาชีพ สาหรับเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านของผู้อานวยการสถานศกึ ษารุ่นใหมด่ ว้ ย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้เก่ียวข้องกับการคัดเลือกผู้อานวยการสถานศึกษารูปแบบใหม่จะได้ร่วมกัน สร้างผู้นาในการบริหารสถานศึกษาที่มีความรู้ความสามารถ ภาวะผู้นาและสามารถขับเคลื่อนการนา นโยบายไปสู่การสร้างโอกาสและคุณภาพทางการศึกษาตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและสอดคล้อง ตามความคาดหวังของสงั คม สานกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร กุมภาพนั ธ์ 2562

3 สารบญั 1 2 3 4 5 6 ภาคผนวก : แบบบนั ทึกขอ้ ตกลง MOU : แบบประเมนิ สมั ฤทธิผลการปฏบิ ัตงิ านใน 1 ปี

4 สว่ นท่ี 1 บทนา

5 สว่ นท่ี 1 บทนา ความสาคัญและจาเป็น 1. การจัดการศึกษาในสภาวะที่เศรษฐกิจและการเมืองท้ังภายในและต่างประเทศ มีการเปล่ียนแปลง คอ่ นข้างรวดเร็ว มีการแขง่ ขนั ระหว่างประเทศในหลายมติ ิ จงึ มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องพัฒนาสถานศึกษา ให้สามารถจัดการเรียนการสอนและปรับตัวให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงในปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา โดยมีเจตนารมณ์ท่ีจะยกระดับคุณภาพ การศึกษา และพัฒนาผเู้ รียนให้เปน็ คนดี คนเก่ง สามารถดารงชวี ิตในสงั คมได้อย่างมีความสุข 2. ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นปัจจัยสาคัญแห่งความสาเร็จประการหนึ่งในการปฏิรูปการศึกษา เพราะเป็นผู้นาในการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ รวมท้ังการบริหารงานตามภารกิจครอบคลุมท้ังด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป ดังนั้นกระบวนการคัดเลือก ผู้อานวยการ สถานศึกษาจึงมีความสาคัญที่จะทาให้ได้มาซ่ึงผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถ ความเหมาะสมทั้งด้าน คุณวุฒิ วัยวุฒิ มีประสบการณ์การบริหารสถานศึกษาและมีภาวะผู้นาสูงเข้ามาสู่ตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศึกษา จงึ มีความสาคญั และจาเปน็ อย่างยง่ิ กระบวนการคดั เลือกผู้อานวยการสถานศึกษารูปแบบใหม่ เน้นคัดเลือกจากผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์การบริหารสถานศึกษา โดยพิจารณาตัดสินจากผลการสอบข้อเขียน ผลการประเมินประวัติ และผลการปฏิบัติงานควบคู่กันไป เมื่อผ่านการประเมินแล้วต้องเข้าสู่กระบวนการพัฒนาก่อนการบรรจุ และ แต่งต้ังจานวนไม่น้อยกว่า 60 ช่ัวโมง และต้องผ่านการอบรมตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะได้รับการบรรจุและ แต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา และในช่วงที่ปฏิบัติงานในตาแหน่งท่ีได้รับแต่งตั้งท่ี สถานศึกษา เปน็ ระยะเวลา 1 ปี จะมคี ณะกรรมการที่ปรกึ ษาหรือพเ่ี ล้ยี งคอยให้คาแนะนาปรึกษาและช่วยเหลือ ในการปฏิบัติงาน ทุกด้าน และมีคณะกรรมการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ตามตัวชี้วัดที่ กาหนด จานวน 2 ครั้ง โดยคร้ังแรกประเมินเมื่อปฏิบัติงานครบ 6 เดือนแรกและประเมินคร้ังที่ 2 เมื่อ ปฏิบัติงานครบ 6 เดือนหลัง ทั้งน้ีเพื่อให้ได้ผู้อานวยการสถานศึกษาท่ีมีศักยภาพ มีภาวะผู้นา มีความสามารถ รอบด้านทั้ง “เก่งคน เก่งงาน และเก่งวิชาการ” เหมาะสมที่จะดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษามีความ ภาคภูมิและองอาจในฐานะที่เป็นกลไก สาคัญในการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในระดับสถานศึกษา โดย สรุปดังแผนภาพ ตอ่ ไปน้ี

6 กระบวนการพฒั นากอ่ นบรรจแุ ต่งตั้งผู้อานวยการสถานศกึ ษา

7 กระบวนการพฒั นากอ่ นบรรจแุ ต่งตั้งผู้อานวยการสถานศกึ ษา

8 ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั การคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งต้ังผู้อานวยการสถานศึกษารูปแบบใหม่ จะส่งผลดีต่อการบริหาร การศกึ ษาและนาไปส่กู ารสร้างโอกาสและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดังต่อไปนี้ 1. สามารถสรรหาผู้อานวยการสถานศึกษาที่มีสมรรถนะสูงมีศักยภาพในการบริหารงานที่สอดคล้อง กับความเปล่ียนแปลงของสภาพสังคมเศรษฐกิจและการเมืองท้ังภายในและต่างประเทศท่ีมีการเปล่ียนแปลง คอ่ นขา้ งรวดเรว็ 2. ผู้อานวยการสถานศึกษาสามารถขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการไปสู่การ ปฏิบตั ิไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล 3. การพัฒนาก่อนการบรรจุ และแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาและการที่มี คณะกรรมการที่ปรึกษา/พี่เล้ียงและการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในระยะเวลา 1 ปีทาให้ผู้อานวยการ สถานศึกษามีความกระตือรือร้นมีความต้ังใจในการปฏิบัติงานมีความรู้และประสบการณ์และมีการพัฒนา ตนเองอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง 4. การให้ผ้มู ี สว่ นเกีย่ วข้องมีบทบาทในการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานและการกาหนดข้อตกลง ในการปฏิบัติงาน Performance Agreement จะส่งเสริมการทางานแบบมีส่วนร่วมและการทางานอย่างมี เป้าหมายทีช่ ัดเจนซง่ึ ส่งผลดตี อ่ การทางานเชิงบูรณาการท่มี ีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล 5. นักเรียนในความรับผิดชอบได้รับโอกาสและคุณภาพทางการศึกษามีความรู้และประสบการณ์ที่ สามารถพงึ่ ตนเองแข่งขนั กับเวทีระดับชาติหรอื ระดบั นานาชาติและเติบโตเป็นพลเมืองทีม่ ีคณุ ภาพ 6. ประชาชนและสังคมเกิดความเชื่อม่ันในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยงานทางการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาซ่ึงสอดคล้องกับ เจตนารมณข์ องการพฒั นาประเทศให้มัน่ คงมงั่ คง่ั ยัง่ ยืน

9 สว่ นที่ 2 กรอบแนวคดิ การประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงาน

10 1. การพฒั นากอ่ นบรรจุและแต่งตง้ั กระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง รับผิดชอบพัฒนาก่อนการบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาพร้อมกันท่ัวประเทศ โดย แบ่งจดุ อบรมเป็น 16 จดุ การอบรมมกี ารประชมุ ปฐมนิเทศผ่านระบบ Video Conference , Video Clip และ การอบรมเชิงปฏบิ ัติการจากวทิ ยากรผูท้ รงคณุ วฒุ ิและวทิ ยากรพ่เี ลี้ยง โดยใชเ้ วลา 62 ชว่ั โมง โดยมเี นื้อหา ประกอบดว้ ย 1. คณุ ลกั ษณะผู้อานวยการสถานศกึ ษาท่พี งึ ประสงค์ 2. ภาวะผู้นาทางวชิ าการ 3. การบริหารและการจดั การภายในสถานศึกษา 4. การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ 5. การจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา 6. การจัดทาขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) 7. ตัวช้ีวัดการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน KPI 8. อ่ืน ๆ ***การประเมินผลตอ้ งผ่านการวัดและประเมนิ ผลตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่กี าหนด

11 2. การศึกษาบริบทของโรงเรียน หลังจากการพัฒนาผู้อานวยการสถานศึกษาแล้ว จะมีคาส่ังบรรจุและแต่งต้ังให้ผู้ท่ีผ่านการอบรม พัฒนาเพ่ือดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาที่เลือกตามลาดับที่ประกาศผลการคัดเลือก การปฏิบัติงาน ของผู้อานวยการสถานศึกษาในระยะ 1 ปี จะอยู่ภายใต้คาแนะนาปรึกษาของคณะกรรมการที่ปรึกษา (Coaching Team) เพ่ือให้ผู้อานวยการสถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานตามระเบียบกฎหมายและภารกิจท่ี เก่ียวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงคณะกรรมการที่ปรึกษาจะเป็นพี่เล้ียงให้อย่างต่อเนื่อง ภายใต้กรอบแนวทางทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานกาหนด ได้แก่ 1. การพัฒนาดา้ นการเปน็ ผู้นา 2. การบรหิ ารและการจดั การในสถานศกึ ษา 3. การศึกษาดงู านจากสถานศึกษาต้นแบบ 4. การประชุมสัมมนาแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 5. การจดั ทารายงานผลการปฏิบัตงิ าน 6. อ่ืนๆ ผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาต้องศึกษาบรบิ ทของสถานศึกษาในดา้ นตา่ งๆ นามา จัดทาเปน็ สารสนเทศ ดังนี้ 1. สภาพปัจจุบนั ในการดาเนนิ งานและสภาพแวดล้อม 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O –Net/ NT 3. ความสาเร็จในการจัดการศึกษาในด้านอนื่ 4. ปญั หาอปุ สรรคในการจัดการศกึ ษา 5. ความต้องการการพฒั นา ของโรงเรียนและชุมชน 6 ศึกษาแลกเปลย่ี นเรียนรู้จากผูน้ าชุมชนและผ้เู กี่ยวข้อง 7. วเิ คราะห์ SWOT 8. อ่นื ๆ

12 3. การจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและขอ้ ตกลงในการปฏิบตั งิ าน (Performance Agreement) เม่ือผู้อานวยการสถานศึกษาไปปฏิบัติงานท่ีสถานศึกษาแล้วเป็นระยะเวลา 15 วัน ผู้อานวยการ สถานศึกษา ต้องจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน ให้ครอบคลุมภารกิจและนโยบาย โดยจัดทาเป็น ข้อตกลงการปฏิบตั ิงาน (Performance Agreement) เพือ่ ที่จะนาไปสู่การประเมนิ สัมฤทธิผลการปฏิบัติงานใน ระยะเวลา 1 ปี ซ่ึงต้องสอดคล้องกับตัวช้ีวัดในการทางานโดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับคุณภาพและผลที่เกิด ข้นึ กบั ผู้มสี ่วนเก่ียวข้อง ดงั นี้ 1. ผลท่เี กดิ กับผูเ้ รียน 2. ผลท่เี กิดกับครู 3. ผลทเ่ี กิดกับผบู้ ริหาร 4. ผลทเ่ี กิดกับสถานศกึ ษา 5. ผลทเ่ี กิดกับผู้รบั บริการ 6. ผลการสนองนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/สพฐ. 7. อน่ื ๆ ซ่ึงแผนการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาควรมีรายละเอยี ด ประกอบด้วย 1. ขอ้ มูลพื้นฐานสารสนเทศของโรงเรยี น 2. วสิ ยั ทัศนว์ ตั ถุประสงคเ์ ปา้ หมาย 3. โครงการพัฒนาโรงเรียนครอบคลุมภารกิจ 4 ด้าน 4. แผนการระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา 5. แผงความรว่ มมอื ในการพัฒนางานกบั ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง 6. รายละเอียดอื่นๆท่เี ป็นปจั จัยสาคญั ตามบรบิ ทของโรงเรยี น

13 สาหรบั การจัดทาข้อตกลงในการปฏบิ ัติงานทส่ี อดคลอ้ งกับการประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏิบตั งิ านใน หน้าท่ีตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาในระยะเวลา 1 ปี ควรดาเนินการ ดงั น้ี 1. เมื่อได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาและไปปฏิบัติงานท่ีสังกัด สถานศึกษาแล้วเป็นระยะเวลาประมาณ 15 วัน ผู้อานวยการศึกษาจะต้องจัดทาข้อตกลงในการปฏิบัติงานใน หน้าทีป่ ระเมนิ (Performance Agreement) เพอื่ จะนาไปสู่การประเมนิ สัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในเวลา 1 ปี โดยมีข้อความระบุถึงการท่ีผู้อานวยการการศึกษาจะปฏิบัติงานตามกรอบภารกิจของสถานศึกษาให้สอดคล้อง กับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและยอมรับท่ีจ ะปฏิบัติงาน ให้บรรลตุ ามองคป์ ระกอบตวั ชว้ี ดั คะแนนการประเมิน และวธิ ีการประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏบิ ตั ิงานในหน้าท่ี 2. การลงนามในข้อตกลงมผี ู้ที่จะลงงานประกอบดว้ ย ผู้อานวยการสถานศึกษาที่ได้รับการบรรจุแต่งตั้ง ใหม่เป็นผู้ให้ข้อตกลง โดยมีผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือผู้อานวยการสานักบริหาร หารงาน การศึกษาพิเศษเป็นผู้รับข้อตกลงนอกจากนี้กาหนดให้มีพยานในการทาข้อตกลงตามที่สานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาเห็นสมควร 3. สาหรับรปู แบบการจัดทาข้อตกลงในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้เป็นไปตามตัวอย่างรูปแบบข้อตกลง ทสี่ านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานกาหนด

14 4. การประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบตั งิ าน คร้ังที่ 1 อ่ืน ๆ เม่อื ผอู้ านวยการสถานศึกษา ผลทเ่ี กดิ กบั ปฏบิ ัติงานครบ 6 เดือน นกั เรียน ผลสาเร็จของงาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ตามนโยบายของ ขน้ั พน้ื ฐานกาหนดให้มีการประเมิน ผลที่เกดิ กบั กระทรวงศึกษาธกิ าร/ สมั ฤทธิผลการปฏิบตั ิงานครั้งที่ 1 ครู ตามองคป์ ระกอบ/ตัวชี้วัดทก่ี าหนด สพฐ. จานวน 10 รายการและขอ้ ตกลง ผลทีเ่ กดิ กบั การปฏิบัติงานทจ่ี ัดทาข้ึนโดย ผู้บรหิ าร สะทอ้ นให้เห็นถึง ผลทีเ่ กิดกับ ผลท่เี กดิ กับ ผรู้ ับบรกิ าร สถานศกึ ษา 5. การประเมนิ สัมฤทธิผลการปฏิบัตงิ าน คร้ังท่ี 2 การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานคร้ังท่ี 2 เม่อื ปฏิบตั งิ านครบ 12 เดอื น โดยพิจารณาจากผลการ ปฏบิ ตั ิงานตามข้อตกลงในการปฏิบตั ิงานและตามองค์ประกอบตวั ชี้วดั ที่กาหนดไว้เหมือนการประเมนิ ครง้ั ท่ี 1 สรปุ ผลการประเมิน : ผลการประเมนิ รวม 2 ครง้ั แนวทางท่ี 1 หากผ่านการประเมินผอู้ านวยการสถานศึกษา ปฏิบัติงานใน ตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศึกษาต่อไป แนวทางท่ี 2 หากไมผ่ า่ นการประเมินผมู้ อี านาจตามกฎหมาย สงั่ ใหก้ ลับไปปฏบิ ตั ิ หนา้ ที่ในตาแหนง่ เดิมหรอื ตาแหนง่ อื่นทไ่ี ม่สงู กวา่ ตาแหนง่ เดมิ

15 ในการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานของผู้อานวยการสถานศึกษาในรอบ 1 ปี น้ันจะมี คณะกรรมการที่เก่ียวข้อง จานวน 2 คณะ ได้แก่คณะกรรมการท่ีปรึกษาซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นพ่ีเลี้ยงในการ ปฏิบัติงานและคณะกรรมการประเมินสัมฤทธิผลในการปฏิบัติงาน องค์ประกอบการแต่งตั้งคณะกรรมการ ทงั้ 2 คณะ ดังแผนภาพต่อไปน้ี คณะกรรมการทเ่ี กีย่ วข้อง คณะกรรมการท่ีปรึกษา/พีเ่ ลี้ยง คณะกรรมการประเมิน (Coaching Team) (Evaluation Team) 1. ผอ.สพท.หรือ รอง ผอ.สพท. ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 1. ผอ.สพท.หรือ รอง ผอ.สพท. ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 2. ผทู้ รงคณุ วุฒิ (ดา้ นบริหารสถานศึกษา) 2. ผทู้ รงคุณวฒุ ิ (ดา้ นการบริหารสถานศกึ ษา) 3. ผูอ้ านวยการสถานศึกษา 3. ผู้อานวยการสถานศึกษา (ท่มี ีผลการปฏิบัตงิ านเปน็ ทยี่ อมรับ) (ท่ีมผี ลการปฏิบัติงานเปน็ ท่ยี อมรับ) คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา/พีเ่ ลีย้ ง สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา แตง่ ตง้ั คณะกรรมการทีป่ รกึ ษาหรือพ่ีเล้ยี งทีม่ คี วามรู้และประสบการณส์ งู ได้รับการยอมรบั ในผลงานเป็นท่ี ประจกั ษ์เพ่ือใหค้ าแนะนาปรึกษา ประกอบด้วย ผอ.สพท.หรือ รอง ผอ.สพท. ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย จานวน 1 คน ผู้ทรงคุณวุฒิดา้ นการบริหารสถานศกึ ษา จานวน 1 คน (สรรหาหรือคดั เลือกจากผ้ทู ีเ่ คยเป็นผ้บู ริหารสถานศึกษาที่ประสพความสาเร็จในการทางานเปน็ ที่ประจักษ์) ผู้อานวยการสถานศกึ ษาทม่ี ีผลการปฏิบัตงิ านเป็นท่ยี อมรบั จานวน 1 คน

16 คณะกรรมการประเมินสัมฤทธผิ ลการปฏิบัติงาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบตั งิ าน ในหน้าที่ชุดละ 3 คน จากบญั ชีรายชอื่ ที่สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั เสนอโดยคณะกรรมการแต่ละชุดจะ ประเมนิ ผลการศึกษาไม่เกิน 10 คนซ่งึ คณะกรรมการประเมินสัมฤทธผิ ล ประกอบด้วย ผอ.สพท.หรือ รอง ผอ.สพท. ทไี่ ด้รับมอบหมาย จานวน 1 คน ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นการบริหารสถานศึกษา จานวน 1 คน (สรรหาหรือคัดเลือกจากผู้ที่เคยเปน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาที่ประสพความสาเร็จในการทางานเป็นทปี่ ระจักษ์) ผูอ้ านวยการสถานศึกษาที่มีผลการปฏบิ ัตงิ านเปน็ ทย่ี อมรับ จานวน 1 คน

17 สว่ นท่ี 3 การประเมนิ สัมฤทธิผลกส่วานทร่ี 3ปฏบิ ตั ิงาน

18 การประเมนิ สมั ฤทธิผลการปฏบิ ตั งิ าน 1. องค์ประกอบตวั ชว้ี ัดคะแนนการประเมิน การประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ทั้งการประเมนิ ครั้งท่ี 1 และการประเมินครั้งท่ี 2 จะพิจารณาจากข้อตกลง (Performance agreement) ท่ีจัดทาไว้กับ ตน้ สงั กดั โดยจะมกี ารกาหนดองค์ประกอบและตัวช้ีวัดท่ีครอบคลุมภารกิจสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการและนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซ่ึงจะมีองค์ประกอบตัวช้ีวัด และคะแนนการประเมิน ๑๐๐ คะแนน โดยสรปุ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการอ่านเขียนการผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาภาษาไทย 15 คะแนน 2. ผลงานหรือรางวัลทีเ่ กดิ จากการบริหารจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 10 คะแนน 3. ผลการเรียนรเู้ ฉลี่ย 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้หลกั 10 คะแนน 4. การบริหารงบประมาณและการระดมทรัพยากรและการลงทุนจากภาคเี ครอื ขา่ ย หรอื ภาคประชาสังคมมาใชเ้ พ่อื ประโยชน์ทางการศึกษา 10 คะแนน 5. การส่งเสริมใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาทางวชิ าชพี 5 คะแนน 6. การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล 5 คะแนน 7. การมสี ว่ นรว่ มของสถานศึกษากับผ้ปู กครองและชุมชน 10 คะแนน 8. อตั ราการเกณฑ์เด็กเข้าเรยี นหรือการรับนักเรยี นตามแผนการรบั นักเรียน 10 คะแนน 9. อัตราการศึกษาต่อของนักเรยี น 10 คะแนน 10. ผลการดาเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ /สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 15 คะแนน หมายเหตุ สาหรบั รายละเอยี ดการประเมนิ สมั ฤทธิผลของผู้อานวยการสถานศึกษาในสงั กัด สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ ใหเ้ ปน็ ไปตามทีส่ านกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษกาหนด 2. หลกั การประเมนิ ใหค้ ณะกรรมการประเมนิ และผู้เก่ยี วขอ้ งยึดหลักการประเมินดังนี้ 1. พจิ ารณาพฤตกิ รรมการทางานเชงิ ประจักษข์ องผู้อานวยการสถานศึกษา 2. การเช่ือมโยงข้อมลู ระหวา่ งทีมทปี่ รึกษา (Coaching Team) และทมี ประเมิน 3. ประเมินจากการทางานตามสภาพจริง ไม่เน้นการดูเอกสาร 4. ประเมนิ ดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย ไดแ้ ก่ สงั เกต สมั ภาษณ์ สอบถาม 5. สอบถามแหลง่ ข้อมูลยืนยันผลการปฏบิ ตั ิงานจากครู นักเรยี น ผูป้ กครอง ชุมชน 6. เน้นพจิ ารณากระบวนการทางานควบค่ผู ลการปฏบิ ตั ิงาน 7. เน้นความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

19 3. เกณฑ์การตัดสิน 3.1 ใหค้ ณะกรรมการประเมิน ดาเนนิ การประเมินตามองคป์ ระกอบ ตัวชว้ี ดั คะแนน การประเมินและวิธกี ารประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ท่ี แลว้ นาคะแนนของกรรมการทงั้ 3 คน มาเฉล่ยี เปน็ ผลการประเมิน แบง่ เปน็ 5 ระดบั ดังนี้ 3.2 การประเมินแต่ละคร้ัง ต้องได้รบั ผลการประเมินในระดับดีขน้ึ ไป จึงจะถือว่าผา่ น การประเมิน กรณีผลการประเมนิ คร้ังแรกไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ให้ผู้รบั การประเมนิ ดาเนินการ ปรับปรุงการปฏิบัติงานตามคาแนะนาของคณะกรรมการประเมนิ ผลการประเมนิ ท้ัง 2 ครง้ั ให้นาผลการประเมินโดยรวมทั้ง 2 คร้ังมาเฉลย่ี แล้วเทยี บกับ เกณฑ์การตัดสินตามข้อ 3.1 4. คณะกรรมการประเมิน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินสัมฤทธิผล การปฏบิ ตั ิงานชดุ ละ 3 คน ประกอบด้วยผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือ รองผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษาและผู้อานวยการสถานศึกษาท่ีมีผล การปฏิบัติงานเป็นแบบอย่างท่ีดีและได้รับการยอมรับ ซ่ึงพิจารณาแต่งตั้งจากบัญชีรายช่ือท่ีสานักงาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดเสนอ โดยคณะกรรมการแตล่ ะชุดจะประเมินผ้อู านวยการสถานศกึ ษาไม่เกนิ 10 คน

20 5. วธิ กี ารประเมิน คณะกรรมการประเมนิ สัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าท่ีผู้อานวยการสถานศึกษาดาเนินการ ประเมินผู้อานวยการสถานศึกษา ตามองค์ประกอบ ตัวชี้วัดและคะแนนการประเมิน ที่ได้ระบุไ ว้ ตาม ขอ้ ตกลงในการปฏบิ ัตงิ านต้งั แตเ่ ร่มิ ตน้ การปฏบิ ัตหิ น้าทผ่ี อู้ านวยการสถานศึกษาจานวน 2 คร้งั ทกุ 6 เดือน หากผลการประเมินใน 6เดือนแรกไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ใหผ้ ูป้ ระเมนิ แจ้งผลการประเมิน ใหผ้ รู้ ับการประเมนิ ทราบ เพ่อื พฒั นาตนเองและปรับปรุงการปฏิบัติงานในหน้าท่ี และเมื่อครบ 6 เดือนหลัง ใหม้ ีการประเมนิ คร้งั ท่ี 2 แล้วให้ผปู้ ระเมินสรุปผลการประเมิน หากผลการประเมินรวม ทั้ง 2 คร้ัง ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ให้ผู้รับการประเมินปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาต่อไป แต่หาก ผลการประเมินรวม ทงั้ 2 ครงั้ ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินจะดาเนินการตามมาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2557 และกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการสั่งให้ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษารับเงินเดือนในอัตรากาลังทดแทนพ.ศ. 2551 ทั้งน้ีผลการประเมินเป็น ประการใดให้ถือเปน็ อนั ส้นิ สดุ

21 6. คาอธิบายการประเมินสมั ฤทธผิ ลการปฏบิ ตั งิ าน ตวั ช้วี ัดท่ี 1 : ความสามารถในการอ่านการเขยี นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าภาษาไทย ที่ ตัวชว้ี ดั คะแนน(เตม็ ) กรอบการพิจารณา 1 ความสามารถทางการอ่านการเขยี นและ 15 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาภาษาไทย (10คะแนน) - ผู้ประเมนิ พิจารณาใหค้ ะแนนจาก 1.1 กระบวนการดาเนินงาน 2 พฤติกรรมการทางานของผู้อานวยการ สถานศกึ ษาเกีย่ วกับกระบวนการ 1) สง่ เสริมสนับสนนุ ในการสรา้ งความ ดาเนินงานในแต่ละประเดน็ ต้งั แต่ ตระหนักและใหค้ วามรู้แก่ครู 0 - 2 คะแนน ตามร่องรอยหลักฐาน การปฏิบตั ิงานเชงิ ประจักษ์จาก แหลง่ ข้อมลู ทีห่ ลายหลาย 2) สง่ เสริมสนับสนนุ การนาความรสู้ ่กู าร 2 ปฏบิ ตั ิ 3) ส่งเสริมสนับสนนุ ใหม้ กี ารจดั ทาส่ือหรอื 2 นวตั กรรม 4) มกี ารวางแผนนเิ ทศและตดิ ตาม 2 5) การสรปุ ติดตามรายงานผลและพฒั นา 2 อย่างต่อเนื่อง

22 ที่ ตวั ชวี้ ัด คะแนน (เต็ม) กรอบการพจิ ารณา 1.2 ผลการดาเนนิ งาน ระดบั ประถมศกึ ษา (5คะแนน) มีนกั เรยี นท่ีมีความสามารถในการอา่ นและ - พิจารณาจากผลการประเมินความสามารถ การเขียน เพ่ิมขึ้นร้อยละ 5 ขึ้นไป ในการอ่านและการเขียนวชิ าภาษาไทยของ นกั เรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 โดย ประเมินจานวน 2 ครงั้ ครั้งแรกประเมิน เดอื นมิถนุ ายน 2562 (ภาคเรียนที่ 1 /2562) และครั้งที่ 2 ประเมินเดือนพฤศจกิ ายน 2562 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 - ใช้แบบทดสอบการวัดผลที่เขตพ้ืนท่ี การศึกษา หรือสถานศึกษาพัฒนาขึน้ โดยใช้ หลกั เกณฑท์ ีส่ านักวชิ าการและมาตรฐาน การศึกษา สพฐ.กาหนด เกณฑ์การประเมนิ ของ สพฐ. ดมี าก คอื ร้อยละของผู้อา่ นออกเขยี นได้ ร้อยละ 75 ขึน้ ไป ดี คือ ร้อยละของผู้อา่ นออกเขยี นได้ ร้อยละ 50 – 74 พอใช้ คือ ร้อยละของผู้อ่านออกเขียนได้รอ้ ย ละ 25 – 49 ปรับปรงุ คือ รอ้ ยละของผูอ้ ่านออกเขียนได้ ต่ากวา่ รอ้ ยละ 25 * อา่ นออกเขียนได้ หมายถงึ มผี ลการ ประเมินระดับพอใช้ขน้ึ ไป 5 มนี กั เรียนที่มีความสามารถในการอ่านและ 4 การเขยี น เพิ่มข้ึนร้อยละ 4.00 – 4.99 3 2 มีนกั เรยี นทม่ี ีความสามารถในการอา่ นและ 1 การเขียน เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 3.00 – 3.99 0 มนี ักเรยี นท่ีมีความสามารถในการอา่ นและ การเขยี น เพิ่มขึน้ ร้อยละ 2.00 – 2.99 มนี ักเรียนที่มีความสามารถในการอ่านและการ เขยี น เพิ่มขึน้ น้อยกวา่ ร้อยละ 2.00 ไมม่ นี ักเรียนทมี่ ีความสามารถในการอ่าน และการเขียนเพิ่มข้นึ

23 ที่ ตัวช้วี ดั คะแนน(เต็ม) กรอบการพจิ ารณา ระดบั มธั ยมศึกษา 5 ประเมินความสามารถในการอา่ นการ การคดิ มีจานวนนักเรียนทมี ีผลการเรียนเฉลีย่ วิเคราะหแ์ ละการเขียนสื่อความของนกั เรียน วชิ าภาษาไทยระดบั 3.00 ขึ้นไป ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 3 รอ้ ยละ 80 – 100 - พจิ ารณาจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น มจี านวนนักเรยี นทมี ผี ลการเรียนเฉลย่ี วชิ า กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย (วิชาพ้ืนฐาน) ภาษาไทยระดับ 3.00 ข้ึนไป เฉล่ียของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 รอ้ ยละ 60 – 79 โดยประเมนิ จานวน 1 ครัง้ ในเดอื นกันยายน มีจานวนนกั เรยี นทีมผี ลการเรียนเฉลีย่ วชิ า ภาคเรียนที่ 1/2562 ภาษาไทยระดับ 3.00 ขึน้ ไป รอ้ ยละ 40 – 59 4 มจี านวนนกั เรียนทมี ผี ลการเรียนเฉลยี่ วิชา ภาษาไทยระดบั 3.00 ข้ึนไป 3 ร้อยละ20 – 39 มีจานวนนกั เรยี นทมี ีผลการเรียนเฉลี่ยวิชา 2 ภาษาไทยระดับ 3.00 ขนึ้ ไป น้อยกวา่ ร้อยละ 20 1 ไม่มีจานวนนักเรยี นทมี ีผลการเรียนเฉลี่ย วชิ าภาษาไทยระดับ 3.00 ขึน้ ไปเพ่ิมขึน้

24 แนวปฏบิ ตั ใิ นการประเมนิ ตัวช้วี ัดที่ 1 ความสามารถในการอ่านการเขียนและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าภาษาไทย (15 คะแนน) คาอธบิ าย ผูเ้ รยี นมที กั ษะในการอ่านการเขยี นและมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาไทยทดี่ ี จะนาไปสู่การ เรียนรูไ้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ดงั นน้ั ผู้อานวยการสถานศึกษาจึงต้องมีกระบวนการพฒั นาครแู ละผเู้ รยี น ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมในการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความสามารถและทักษะ ในการอ่านการเขยี น การวเิ คราะห์ ตลอดจนการสร้างนิสัยรกั การอา่ น 1.1 กระบวนการดาเนินงาน ( 10 คะแนน ) 1) การสง่ เสริมสนบั สนนุ ในการสร้างความตระหนักและใหค้ วามรูแ้ กค่ รู (2 คะแนน) คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ ระดับ 2 มีการประชมุ ให้ความรู้ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ในการพัฒนาการอ่านเขยี น ปฏบิ ตั ิด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและต่อเน่ือง ระดับ 1 มีการประชมุ ให้ความรู้ แลกเปล่ยี นเรยี นรใู้ นการพฒั นาการอ่านเขียน ระดับ 0 ไม่พบหลักฐานการปฏบิ ตั ิ วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผูป้ ระเมนิ พิจารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ตง้ั แต่ 0 – 2 คะแนน ตามรอ่ งรอยหลักฐานการปฏบิ ัติงาน โดยวิธีการเก็บข้อมูลดงั นี้ 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสาร หลักฐานร่องรอย หรือข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ แหลง่ ข้อมลู 1. ผู้เรียน ครู ผปู้ กครอง และผเู้ กย่ี วขอ้ ง 2. พฤติกรรมผู้เรยี น 3. การบันทกึ และสรุปผลการสังเกตและการสัมภาษณ์ครูผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ผู้เรียนให้สามารถอ่านออกเขยี นได้ มีนิสยั รกั การอ่านและแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 4. หลักฐานรอ่ งรอย การประชมุ ชีแ้ จง กาหนดแนวปฏบิ ตั กิ ารเขา้ ร่วมหรอื มีสว่ นปฏิบตั ิ กจิ กรรมอยากหลากหลาย 5. สรปุ ผลการปฏบิ ัติกิจกรรม การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ของครู 6. ข้อมูลอืน่ ๆ

25 2) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการนาความรสู้ ู่การปฏบิ ตั ิ (2 คะแนน) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดับ 2 มีการสง่ เสริมสนับสนนุ การนาความรสู้ ู่การปฏิบัตดิ ว้ ยวธิ ีการหลากหลาย และต่อเนือ่ ง ระดับ 1 มีการสง่ เสริมสนบั สนุนการนาความรู้สู่ปฏิบัติ ระดับ 0 ไม่พบหลักฐานการปฏิบัติ วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู ผูป้ ระเมินพิจารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเด็นตง้ั แต่ 0 – 2 คะแนน ตาม ร่องรอยหลกั การปฏิบัตงิ านโดยวธิ ีการเก็บข้อมูลดงั น้ี 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสงั เกต 3. การตรวจเอกสาร หลักฐานรอ่ งรอย หรือข้อมลู เชิงประจักษ์ แหลง่ ข้อมลู 1. ครู ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผู้เรยี น และผเู้ กี่ยวข้อง 2. พฤตกิ รรมของผบู้ รหิ าร 3. แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ/กิจกรรม 4. บนั ทกึ การประชมุ คาสั่งการปฏบิ ัตงิ านของโรงเรียน 5. สมดุ นิเทศ สมดุ เย่ยี มของโรงเรียน ๖. แฟ้มสะสมงานของคร/ู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา 7. ข้อมูลอน่ื ๆ 3) สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหม้ กี ารจัดทาส่อื หรือนวตั กรรม (2 คะแนน) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดบั 2 สง่ เสรมิ สนับสนุนให้มกี ารจดั ทาสื่อหรือนวตั กรรมอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง ระดับ 1 สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้มีการจดั ทาส่ือหรอื นวตั กรรม ระดบั 0 ไม่พบหลักฐานการปฏิบัติ วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู ผ้ปู ระเมนิ พิจารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ต้งั แต่ 0-2 คะแนน ตามรอ่ งรอย หลักการปฏิบตั งิ านโดยวธิ ีการเกบ็ ข้อมลู ดงั น้ี 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสงั เกต 3. การตรวจเอกสาร หลักฐานร่องรอย หรือขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์

26 แหล่งข้อมูล 1. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครู ผู้เรยี น และบุคลากรผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง 2. ภาพกจิ กรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัติกิการผลิตสือ่ นวตั กรรมการเรียนการสอน 3. สอ่ื หรอื นวัตกรรมการเรียนการสอนที่ครูหรอื นักเรียนผลิต 4. สรุปรายงานผลการใช้ สอ่ื นวตั กรรม 5. ขอ้ มลู อ่ืนๆ ๔) มีการวางแผนนเิ ทศและติดตาม (2 คะแนน) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ 2 มีการวางแผนนเิ ทศและติดตาม อย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง ระดับ 1 มีการวางแผนนเิ ทศและตดิ ตาม ระดบั 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏิบัติ วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู ผปู้ ระเมินพจิ ารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ตั้งแต่ 0 – 2 คะแนน ตาม ร่องรอยหลกั การปฏิบตั ิงานโดยวิธีการเก็บขอ้ มลู ดงั นี้ 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสาร หลกั ฐานร่องรอย หรือขอ้ มลู เชงิ ประจักษ์ แหล่งข้อมลู 1. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ครู ผู้เรยี น และบุคลากรผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง 2. แผนงาน โครงการ กจิ กรรม 3. คาส่ัง 4. ปฏิทนิ การนเิ ทศ 5. บนั ทกึ การประชุม 6. เครอ่ื งมือสาหรบั การนเิ ทศภายใน 7. บันทกึ ผลการนเิ ทศและการนาผลไปปรบั ปรงุ พฒั นาการจดั การเรยี นการสอน 8. ข้อมลู อ่ืนๆ

27 ๕) การสรุปติดตามรายงานผลและพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง (2 คะแนน) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ ระดบั 2 มีการสรุปตดิ ตามรายงานผลและพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง และเปน็ ระบบ ระดับ 1 มีการสรปุ ตดิ ตามรายงานผลและพฒั นา ระดับ 0 ไม่พบหลักฐานการปฏบิ ตั ิ วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ผปู้ ระเมนิ พิจารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเด็นต้ังแต่ 0 – 2 คะแนน ตาม รอ่ งรอยหลกั การปฏบิ ตั งิ านโดยวิธีการเกบ็ ขอ้ มลู ดังนี้ 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสาร หลกั ฐานรอ่ งรอย หรือขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ แหลง่ ข้อมลู 1. ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู ผู้ปกครอง และผู้ทมี่ ีสว่ นเกี่ยวข้อง 2. เอกสารการตดิ ตามรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน 3. รายงานการประชมุ สรุปงานและการพัฒนางาน 4. ข้อมูลอื่นๆ

28 1.2 ผลการดาเนินงาน (5 คะแนน) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ ระดบั 5 มีนักเรียนทีม่ คี วามสามารถในการอา่ นและการเขียนวิชาภาษาไทย เพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 5 ขน้ึ ไป ในระดบั ประถมศกึ ษา หรือมีจานวนนกั เรียนทีมีผลการเรยี นเฉลยี่ วชิ าภาษาไทยระดบั 3.00 ข้ึนไป ร้อยละ 80 – 100 ในระดบั มัธยมศึกษา ระดบั 4 มนี กั เรียนทีม่ คี วามสามารถในการอ่านและการเขียนวิชาภาษาไทย เพิ่มขึน้ ร้อยละ 4.00 – 4.99 ในระดับประถมศึกษา หรือมจี านวนนักเรยี นทีมีผลการเรยี นเฉลี่ยวิชาภาษาไทยระดับ 3.00 ขน้ึ ไปร้อยละ 60 – 79 ในระดบั มัธยมศกึ ษา ระดับ 3 มีนักเรยี นท่ีมีความสามารถในการอา่ นและการเขียนวชิ าภาษาไทย เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.00 – 3.99 ในระดบั ประถมศึกษา หรอื มจี านวนนักเรยี นทมี ีผลการเรียนเฉล่ยี วชิ าภาษาไทยระดับ 3.00 ขนึ้ ไปร้อยละ 40 – 59 ในระดบั มธั ยมศกึ ษา ระดับ 2 มีนักเรียนที่มคี วามสามารถในการอ่านและการเขยี นวชิ าภาษาไทย เพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 2.00 – 2.99 ในระดบั ประถมศึกษา หรือมจี านวนนกั เรียนทมี ผี ลการเรยี นเฉลี่ยวชิ าภาษาไทยระดับ 3.00 ขึน้ ไปรอ้ ยละ 20 – 39 ในระดับมัธยมศึกษา ระดับ 1 มีนักเรยี นท่มี ีความสามารถในการอา่ นและการเขยี นวชิ าภาษาไทย เพม่ิ ข้ึนน้อยกว่ารอ้ ยละ 2.00 ในระดบั ประถมศึกษา หรอื มจี านวนนักเรยี นทมี ีผลการเรยี นเฉลี่ยวิชาภาษาไทยระดบั 3.00 ขนึ้ ไป น้อยกว่าร้อยละ 20 ในระดบั มัธยมศึกษา ระดบั 0 ไม่มนี กั เรียนท่ีมีความสามารถในการอ่านและการเขยี นวิชาภาษาไทยเพิ่มขนึ้ ในระดบั ประถมศึกษา หรือไม่มีจานวนนกั เรียนทมี ผี ลการเรยี นเฉล่ียวิชาภาษาไทยระดับ 3.00 ขึ้นไป เพิ่มขนึ้ ในระดบั มัธยมศกึ ษา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู ผูป้ ระเมินพิจารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ต้ังแต่ 0 – 5 คะแนน ตาม รอ่ งรอยหลักการปฏบิ ตั งิ านโดยวธิ ีการเกบ็ ข้อมลู ดงั น้ี 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสาร หลกั ฐานร่องรอย หรอื ขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ แหลง่ ข้อมลู 1. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู ผู้เรยี น ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแ้ ทนชมุ ชน และหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง 2. รายงานผลการทดสอบความสามารถในการอา่ นและการเขียนวิชาภาษาไทย 3. การทดสอบนักเรียนในการอ่านและการเขยี นเชงิ ประจักษ์ 4. ข้อมูลอืน่ ๆ

29 ตวั ช้ีวดั ที่ 2: ผลงานหรือรางวลั ท่ีเกดิ จากการบริหารจดั การของผูบ้ ริหารสถานศึกษา (10 คะแนน) ท่ี ตวั ชว้ี ดั คะแนนเต็ม กรอบการพจิ ารณา 2 ผลงานหรือรางวลั ท่ีเกดิ จากการบริหารจัดการของ 10 ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 2.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (7 คะแนน) ให้พิจารณาจากพฤติกรรมการทางาน และร่องรอยหลกั ฐานในการปฏิบัติงาน ทส่ี อดคล้องกับรายละเอยี ดแตล่ ะ ประเด็นของตัวชวี้ ัด 2.1 1) การมีส่วนร่วมจากการทาแผนหลายภาคสว่ น 1 2) การมแี ผนการปฏิบตั ิงานท่ีถกู ตอ้ งชดั เจน 1 3) การดาเนินการตามแผนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 1 4) การกากบั ติดตาม ตรวจสอบ 1 5) มกี ารรายงานผลการปฏิบัตงิ าน 1 6) การปรบั ปรุงแก้ไขและพฒั นา 1 7) การเผยแพรผ่ ลงาน/รางวลั 1 2.2 ผลการดาเนินงาน (3 คะแนน) ใหพ้ ิจารณาจากพฤติกรรม การทางาน และ - ผลงานที่เกิดจากการบริหารและหรือ การ ได้ รับ รา งวั ลที่ สอ ดค ล้อ งกั บ กิจกรรมท่ี สพฐ.กาหนดและส่งผลดีต่อ สถานศึกษาผู้อานวยการ ครูหรือ นกั เรยี น ฯลฯ - ผลงานหรือรางวัลทีผ่ ้อู านวยการ ครู หรอื นักเรยี นไดป้ ฏบิ ตั อิ าจมีการนาไป ประยกุ ตใ์ ช้และหรือไดร้ ับการยกยอ่ ง หรือประกาศเกยี รตคิ ุณจากหนว่ ยงาน อนื่ ๆ มผี ลงานเป็นแบบอย่างไดร้ บั การยกยอ่ งและมผี นู้ าไป 3 ประยุกตใ์ ชห้ รือไดร้ างวัลสูงกวา่ ระดบั เขตพื้นท่หี รือ รางวัลระดบั จังหวัด มผี ลงานเปน็ แบบอย่างได้รบั การยกยอ่ งแต่ยังไม่ 2 ปรากฏวา่ มผี ู้นาไปประยุกตใ์ ช้หรือได้รบั รางวลั ระดับเขตพน้ื ทีฯ่ หรือรางวลั ระดบั จงั หวัด มีผลงานการพฒั นาหรือแก้ปัญหาของสถานศึกษา 1 หรือได้รบั รางวัลระดบั สถานศึกษาหรือกลมุ่ สถานศึกษาหรอื สหวทิ ยาเขต

30 แนวปฏิบตั ิในการประเมนิ ตวั ช้ีวดั ท่ี 2 ผลงานหรอื รางวัลท่เี กิดจากการบริหารจดั การของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา (10 คะแนน) คาอธิบาย การปฏิบัติงานของสถานศึกษามีผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นผู้นาสาคัญท่ีจะนาพาครูและบุคลากร ทางการศึกษาร่วมมือในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามนโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการและหน่วยงาน ตน้ สงั กัดโดยต้องมีกระบวนการดาเนินงานท่ีเหมาะสมตามบริบทซึ่งผลงานหรือรางวัลที่เกิดจากการบริหาร จดั การ ทงั้ ท่เี กิดกับผูบ้ รหิ าร ครู นกั เรียน นบั เป็นความสาเร็จประการหนึ่งในการบริหารงาน 2.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (7 คะแนน) 1) การมีส่วนรว่ มในตาแหนง่ จากหลายภาคสว่ น ( 1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดับ 1 การมสี ่วนร่วมจดั ทาแผนจากหลายภาคส่วน ระดบั 0 ขาดการมสี ่วนร่วมในการจัดทาแผน 2) การมีแผนการปฏิบัติงานท่ีถูกต้องชดั เจน (1 คะแนน ) คาอธิบายระดบั คุณภาพ ระดบั 1 การมแี ผนการปฏิบตั ิงานทถ่ี ูกตอ้ งชัดเจน ระดบั 0 ไม่มแี ผนการปฏิบตั ิการ 3) การดาเนินการตามแผนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ( 1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั 1 การดาเนินการตามแผนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ระดบั 0 ไมม่ ีการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ าร 4) การกากับตดิ ตามตรวจสอบ (1 คะแนน ) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดบั 1 การกากบั ติดตามตรวจสอบการทางานตามแผนปฏบิ ตั ิการ ระดับ 0 ไม่มีการกากับติดตามตรวจสอบการทางานตามแผนปฏิบตั ิการ 5) มีการรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั 1 มีการรายงานผลการปฏบิ ัติงาน ระดับ 0 ไม่มกี ารรายงานผลการปฏิบตั งิ าน 6) การปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา (1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดับ 1 มีรอ่ งรอยการปรับปรุงแก้ไขและพฒั นา ระดบั 0 ไม่มรี ่องรอยการปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา 7) การเผยแพรผ่ ลงานรางวัล ( 1 คะแนน ) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดับ 1 มกี ารเผยแพรผ่ ลงานหรือรางวัลทไ่ี ดร้ บั ระดบั 0 ไม่มีการเผยแพรผ่ ลงานหรอื รางวัล

31 วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้ประเมินพจิ ารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ต้งั แต่ 0 – 1 คะแนน ตามรอ่ งรอย หลักฐานการปฏิบัตงิ าน โดยวธิ ีการเกบ็ ข้อมลู ดังนี้ 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสารหลกั ฐานร่องรอยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ แหลง่ ข้อมลู 1. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผแู้ ทนชุมชนและ หน่วยงานอ่ืน 2. พฤติกรรมของผู้บริหาร 3. แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4. แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ/กจิ กรรม 5. รายงานผลการดาเนนิ โครงการ 6. รายงานประจาปขี องโรงเรียน 7. รายงานการประเมินคุณภาพภายในโดยหนว่ ยงานต้นสงั กัด 8. รายงานการประเมินคณุ ภาพโดยหน่วยงานภายนอก 9. ขอ้ มูลอน่ื ๆ 2.2 ผลการดาเนินงาน ( 3 คะแนน ) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับ 3 มผี ลงานเปน็ แบบอย่างไดร้ บั การยกย่อง และมีผู้นาไปประยุกต์ใชห้ รือได้รบั รางวัลสงู กวา่ ระดับเขตพ้นื ที่หรือรางวัลระดบั จังหวดั ระดบั 2 มผี ลงานเปน็ แบบอย่าง ไดร้ ับการยกย่อง แต่ยังไมป่ รากฏว่ามผี ู้นาไปประยุกต์ใช้ หรือไดร้ บั รางวัลระดับเขตพืน้ ทห่ี รือรางวัลระดับจงั หวัด ระดับ 1 มผี ลงานการพัฒนาหรือแก้ปัญหาของสถานศึกษา หรอื ได้รับรางวัลระดับ สถานศึกษาหรอื กลมุ่ สถานศึกษา หรือสหวิทยาเขต ระดบั 0 ไมม่ ผี ลงาน และไมไ่ ดร้ บั รางวัลในการพฒั นาสถานศกึ ษา วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ผ้ปู ระเมินพจิ ารณาให้คะแนนผลการดาเนินงานในแต่ละประเดน็ ตั้งแต่ 0 – 3 คะแนนตามรอ่ งรอย หลักฐานการปฏบิ ัติงานโดยวธิ กี ารเก็บขอ้ มลู ดังนี้ 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสารหลักฐานรอ่ งรอยหรือข้อมลู เชงิ ประจักษ์

32 แหลง่ ข้อมูล 1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชมุ ชนและ หน่วยงานอ่นื 2. แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ /กจิ กรรม 3. โล่รางวลั เกียรติบัตรรางวลั 4. บนั ทึกการประชมุ คาส่ังการปฏิบัติงานของโรงเรียน หนงั สือเชิญประชุม ใบอนโุ มทนาบัตร 5. สมดุ นิเทศ สมุดเยี่ยม 6. รายงานประจาปขี องโรงเรียน 7. แฟ้มสะสมงานของครู แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 8. รูปภาพสมุดภาพกิจกรรมของโรงเรยี น 9. วีดที ัศนร์ ายงานผลการดาเนนิ งานของโรงเรียน 10. ขอ้ มลู อน่ื ๆ

33 ตวั ชวี้ ัดที่ 3: ผลการเรียนรูเ้ ฉลีย่ 5 กลมุ่ สาระการเรียนร้หู ลกั ที่ ตัวชี้วดั คะแนนเตม็ กรอบการพิจารณา 3 ผลการเรียนรเู้ ฉล่ยี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ (10 คะแนน) 5 กลมุ่ สาระการเรยี นร้หู ลกั คือ หลัก ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ 3.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (7 คะแนน) ใหพ้ จิ ารณาพฤติกรรมการทางานของ ผอู้ านวยการสถานศึกษาจากร่องรอย หลักฐานในการปฏบิ ตั งิ านทสี่ อดคล้องกับ รายละเอยี ดแตล่ ะประเด็นของตวั ชีว้ ัด 3.1 1) จดั ทาแผนและปฏบิ ตั ติ ามแผนการพัฒนา 1 คณุ ภาพและยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 2) จดั ทาฐานข้อมูลคุณภาพและผลสมั ฤทธิ์ 1 ทางการเรยี นของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล 3) พัฒนาครูด้วยกิจกรรมที่หลากหลายตาม 1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ 4) พัฒนานักเรยี นด้วยกิจกรรมท่หี ลากหลาย 1 ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับความ ตอ้ งการ 5) จดั ให้มีแหล่งเรียนรู้ท่เี หมาะสมและเอื้อต่อ 1 การเรียนรขู้ องผู้เรยี น 6) จดั ให้มกี ารทดสอบและประเมินผลการ 1 เรียนรดู้ ้วยเคร่ืองมือที่มมี าตรฐานดว้ ยวธิ ีและ รูปแบบท่ีหลากหลาย 7) จัดให้มีระบบนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ 1 และรายงานผลการดาเนินงานท่ชี ัดเจน 3.2 ผลการดาเนนิ งาน (3 คะแนน) ใหพ้ จิ ารณาจากคะแนนเฉลย่ี 5 กลุม่ สาระ การเรยี นรู้หลักของนักเรียนระดบั ชนั้ ป.6 หรอื ระดับชัน้ ม. 3,6 แลว้ แต่กรณี ของภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 มนี กั เรยี นทม่ี ีผลการเรียนเฉล่ีย ระดบั 3 ขึ้นไป 3 ร้อยละ 80 – 100 มนี ักเรยี นทมี่ ีผลการเรียนเฉลี่ย ระดบั 3 ขึ้นไป 2 รอ้ ยละ 70 – 79 มีนกั เรียนทม่ี ผี ลการเรียนเฉลี่ย ระดบั 3 ขึ้นไป 1 รอ้ ยละ 60 – 69

34 แนวปฏิบัติในการประเมนิ ตวั ชีว้ ดั ที่ 3 ผลการเรียนรู้เฉลยี่ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรหู้ ลกั คาอธิบาย ผลการเรียนรู้เฉล่ีย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ เป็นเป้าหมายในการจัดการศึกษาท่ีควบคู่ไปกับ การสร้าง เสริมความรู้และทักษะด้านอื่นๆ ท้ังน้ีความสาเร็จตามเป้าหมายข้ึนอยู่กับการบริหารจัดการของผู้บริหาร สถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตลอดจนผู้เกีย่ วขอ้ ง 3.1 กระบวนการพฒั นา (7 คะแนน) 1) จดั ทาแผนและปฏิบตั ิตามแผนการพฒั นาคุณภาพและยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ( 1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดบั 1 มกี ารจดั ทาแผนและปฏิบตั ิตามแผนการพฒั นาคุณภาพและยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ระดับ 0 ไม่พบหลักฐานการปฏิบัติ 2) การจัดทาข้อมลู คณุ ภาพและผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียนเป็นรายบคุ คล (1 คะแนน ) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดบั 1 มกี ารจดั ทาฐานข้อมูลคุณภาพและผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล ระดบั 0 ไม่พบหลักฐานการปฏิบัติ 3) พัฒนาครดู ว้ ยกิจกรรมที่หลากหลายตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ (1 คะแนน ) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดบั 1 มีการพัฒนาครูดว้ ยกิจกรรมทีห่ ลากหลายตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั ความต้องการ ระดับ 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏิบตั ิ 4) พฒั นานกั เรยี นดว้ ยกิจกรรมท่ีหลากหลายตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ (1 คะแนน ) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดับ 1 มีการพฒั นานักเรียนด้วยกจิ กรรมทหี่ ลากหลายตามความเหมาะสมและสอดคล้อง กบั ความต้องการ ระดบั 0 ไม่พบหลกั ฐานการปฏิบตั ิ

35 5) การจดั ใหม้ ีแหล่งเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมและเออ้ื ต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี น ( 1 คะแนน ) คาอธิบายระดบั คุณภาพ ระดบั 1 มีการจัดให้มีแหล่งเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสมและเอื้อต่อการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน ระดับ 0 ไมพ่ บหลกั ฐานการปฏิบตั ิ 6) จัดให้มีการทดสอบและประเมนิ ผลการเรียนรูด้ ว้ ยเคร่อื งมือท่ีมีมาตรฐานด้วยวธิ ี และรปู แบบหลากหลาย ( 1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั 1 มกี ารจดั ใหม้ ีการทดสอบและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้วยเครื่องมือที่มาตรฐานโดยวธิ แี ละ รูปแบบหลากหลาย ระดับ 0 ไม่พบหลักฐานการปฏบิ ัติ 7) จัดใหม้ ีระบบนิเทศกากับตดิ ตามประเมนิ และรายงานผลการทางานทีช่ ัดเจน ( 1 คะแนน) คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั 1 มีการจดั ใหม้ รี ะบบนิเทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการดาเนนิ การ ท่ชี ดั เจน ระดบั 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏบิ ัติ วธิ ีเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผปู้ ระเมินพจิ ารณาใหค้ ะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ตามรอ่ งรอยหลักฐาน การปฏิบัติงานโดยวธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจเอกสารหลกั ฐานรอ่ งรอยหรือข้อมลู เชิงประจักษ์ แหลง่ ข้อมูล 1. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู ผ้เู รยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้แทนชมุ ชนและหน่วยงานอน่ื 2. แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 3. แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีโครงการ/กิจกรรม 4. รายงานโครงการยกผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 5. รายงานประจาปขี องโรงเรียน 6. สมดุ บันทึก โล่เกยี รตบิ ตั ร รางวลั ภาพถา่ ย 7. ข้อมูลอน่ื ๆ

36 3.2 ผลการทดสอบ ( 3 คะแนน ) คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั 3 มีนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรียนเฉลี่ยระดบั 3 ขนึ้ ไปร้อยละ 80 – 100 ระดับ 2 มนี ักเรียนทม่ี ผี ลการเรยี นเฉล่ียระดับ 3 ขึน้ ไปรอ้ ยละ 70 – 79 ระดบั 1 มีนกั เรยี นท่ีมีผลการเรยี นเฉล่ยี ระดับ 3 ขน้ึ ไปร้อยละ 60 – 69 ระดบั 0 มนี ักเรยี นทม่ี ผี ลการเรยี นเฉลี่ยตา่ กวา่ ทีก่ าหนด วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผปู้ ระเมินพจิ ารณาให้คะแนนผลการดาเนินงานตามร่องรอยหลักฐานการปฏิบัติงานหรือข้อมลู เชิงประจกั ษ์ แหลง่ ขอ้ มูล 1. ผลคะแนนจากกลุ่มสาระการเรียนรู้หลกั 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาองั กฤษของนักเรยี นระดบั ชั้น ป. 6 หรอื ระดบั ชน้ั ม. 3, ม. 6 แล้วแต่กรณีของภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 2. แผนงาน/โครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 3. แผนการนิเทศภายในของโรงเรียน 4. แผนการจดั การเรียนรู้/บันทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรยี น 5. รายงานวิจยั ช้นั เรยี นของครแู ต่ละคน 6. เอกสารหลักฐานการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั 7. สื่อ/นวตั กรรม/เทคนิคการสอนท่ีใชพ้ ัฒนา/แกป้ ญั หาผเู้ รียน 8. เครอ่ื งมือการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 9. ช้ินงานผลงานของนักเรียน 10. แบบบนั ทึกข้อมูลนักเรียนรายบคุ คล 11. สมุดบนั ทกึ โล่ เกยี รตบิ ัตร รางวลั ภาพถา่ ย 12. ข้อมูลอ่ืนๆ

37 ตัวชี้วดั ที่ 4: การบรหิ ารงบประมาณและการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย/ภาคประชาสังคม มาใช้เพอื่ ประโยชน์ทางการศกึ ษา ท่ี ตัวชี้วัด คะแนนเต็ม คะแนนประเมิน 4 การบริหารงบประมาณและการระดม (10 คะแนน ) ให้พจิ ารณาจากพฤติกรรมการทางานและ ทรพั ยากรจากภาคเี ครือขา่ ย/ภาคประชา ร่องรอยหลกั ฐานในการปฏบิ ัตงิ านของ สังคม มาใช้เพือ่ ประโยชนท์ างการศึกษา ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งกับ รายละเอยี ดแต่ละตัวชว้ี ัด 4.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (8 คะแนน) 4.1.1 การบริหารงานตามแผนปฏบิ ตั ิการ (4 คะแนน) 1) มีแผนปฏบิ ัติการและปฏบิ ตั ิ 2 พิจารณาให้คะแนนไดต้ ้ังแต่ 0 – 2 ตามแผน ตามหลักฐานการปฏิบตั งิ าน 2) บริหารจัดการงบประมาณทม่ี ี 2 พจิ ารณาให้คะแนนได้ตั้งแต่ 0 – 2 ประสทิ ธิภาพเกิดประโยชนส์ งู สดุ ต่อ ตามหลกั ฐานการปฏบิ ัติงาน สถานศกึ ษา 4.1.2 การบรหิ ารการเงินและพสั ดุ (2 คะแนน) 1) รายงานทางการเงนิ ของสถานศกึ ษา 1 2) การดาเนินการตามระเบียบพัสดุ 1 4.1.3 การดาเนนิ การตรวจสอบภายใน 2 พจิ ารณาให้คะแนนไดต้ ั้งแต่ 0 – 2 สถานศกึ ษา ตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 4.2 การระดมทรพั ยากรและการลงทุน (2 คะแนน) ให้พจิ ารณาจะพฤติกรรมการทางาน เพ่ือการศึกษา ทผี่ ูอ้ านวยการสถานศกึ ษาเป็นผูน้ าในการ ระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษามาใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาไดแ้ ก่ งบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ์ แรงงาน 1) มกี ารระดมทรพั ยากรจากภาคเี ครือข่าย 2 /ภาคประชาสังคมมาใชเ้ พ่ือประโยชน์ทาง การศกึ ษา และสง่ ผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา โดยไดร้ ับการสนบั สนนุ งบประมาณวัสดุ อปุ กรณ์ และความร่วมมือ จากหลายภาคส่วนเพิ่มขนึ้ 2)มีการการระดมทรัพยากรจากภาคี 1 เครอื ข่าย/ภาคประชาสงั คมมาใชเ้ พอ่ื ประโยชน์ทางการศกึ ษา

38 แนวปฏิบัติในการประเมนิ ตวั ชว้ี ดั ที่ 4: การบรหิ ารงบประมาณและการระดมทรัพยากรจากภาคเี ครือขา่ ย/ภาคประชาสงั คม มาใชเ้ พื่อประโยชนท์ างการศึกษา คาอธิบาย การบรหิ ารงบประมาณและการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมมาใช้ประโยชน์ทาง การศึกษา โดยการบรหิ ารตามแผนปฏิบตั กิ าร ใหก้ ารใช้งบประมาณมีประสิทธภิ าพเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ สถานศึกษา การบรหิ ารการเงินมคี วามโปรง่ ใส ดาเนนิ การตามระเบียบพสั ดุ การดาเนินการตรวจสอบภายใน เปน็ ไปอย่างต่อเน่อื ง การระดมทรัพยากรเปน็ ไปเพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยความ รว่ มมือจากหลายภาคสว่ น 4.1 การบรหิ ารงบประมาณ ( 8 คะแนน ) 4.1.1 การบริหารงานตามแผนปฏิบัติการ ( 4 คะแนน ) 1) มแี ผนปฏิบัติการและปฏิบตั ิตามแผน ( 2 คะแนน ) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ ระดับ 2 มแี ผนปฏิบัตกิ ารและปฏิบัตติ ามแผนอยา่ งถูกต้องครบถว้ นทกุ แผน ระดับ 1 มีแผนปฏบิ ตั กิ ารและปฏิบตั ติ ามแผนแต่ไม่ครบถ้วนทุกแผน ระดับ 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏิบตั ิ 2) การบริหารจัดการงบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อสถานศึกษา ( 2 คะแนน ) คาอธิบายระดับคุณภาพ ระดบั 2 มกี ารบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดประโยชนส์ ูงสุด ตอ่ สถานศกึ ษา ระดับ 1 มีการบรหิ ารงบประมาณอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ระดบั 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏิบตั ิ วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ผ้ปู ระเมินพจิ ารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเด็นตามร่องรอยหลักฐาน การปฏบิ ัติงาน โดยวิธกี ารเก็บข้อมูลดังน้ี 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจ เอกสารหลักฐาน ร่องรอยหรือข้อมลู เชิงประจักษ์

39 แหล่งข้อมูล 1. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู ผูเ้ รยี น ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผแู้ ทนชุมชน และหนว่ ยงานอื่น 2. แผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี รายงานประจาปีของโรงเรยี น รายงานสรปุ โครงการ รายงานงบประมาณประจาวัน บัญชรี ายรบั – รายจ่าย ทะเบียนคุมงบประมาณ 3. คาส่ังมอบหมายงาน 4. ข้อมูลอื่นๆ 4.1.2 การบริหารการเงนิ และพัสดุ ( 2 คะแนน ) 1) รายงานการเงินของสถานศึกษา ( 1 คะแนน ) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดบั 1 มีการรายงานทางการเงินของสถานศึกษา ระดบั 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏิบตั ิ 2) การดาเนนิ การตามระเบยี บพสั ดุ ( 1 คะแนน ) ระดบั 1 มกี ารดาเนนิ การตามระเบียบพสั ดุ ระดบั 0 ไม่พบหลักฐานการปฏิบัติ 4.1.3 การดาเนินการตรวจสอบภายในสถานศึกษา ( 2 คะแนน ) คาอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดบั 2 มีการแต่งต้ังคณะกรรมการตรวจรบั จ่าย และดาเนินการตรวจสอบภายใน สถานศึกษาเป็นปัจจุบนั ระดับ 1 การดาเนินการตรวจสอบภายในสถานศึกษาไม่เป็นปจั จบุ นั ระดับ 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏบิ ัติ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผปู้ ระเมนิ พจิ ารณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเดน็ ตามร่องรอยหลกั ฐาน การปฏบิ ตั ิงาน โดยวิธีการเก็บข้อมลู ดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสงั เกต 3. การตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ร่องรอยหรือข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์ แหล่งข้อมลู 1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู ผเู้ รียน ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน และหน่วยงานอนื่ 2. คาส่ังแต่งตงั้ คณะกรรมการตรวจสอบภายในและคณะกรรมการได้ปฏบิ ตั ิหน้าที่ ตามคาส่งั มีการปฏิบัตอิ ยา่ งต่อเนือ่ ง ขอ้ มูลเปน็ ปจั จบุ นั 3. รายงานการตรวจสอบภายในสถานศึกษา 4. ขอ้ มูลอืน่ ๆ

40 4.2 มีการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือขา่ ย/ภาคประชาสังคมมาใชเ้ พื่อประโยชนท์ างการศึกษา ( 2 คะแนน ) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ ระดับ 2 มีการระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่าย/ภาคประชาสังคมมาใชเ้ พ่อื ประโยชน์ ทางการศึกษาและส่งผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และความรว่ มมอื จากหลายภาคสว่ นเพิม่ ข้ึน ระดบั 1 มกี ารระดมทรัพยากรจากภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมมาใช้เพื่อประโยชน์ ทางการศึกษา ระดบั 0 ไม่พบหลักฐานการปฏบิ ตั ิ วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ผปู้ ระเมินพิจารณาให้คะแนนผลการดาเนินงานในแตล่ ะประเด็น ตามร่องรอยหลักฐาน การปฏบิ ัตงิ าน โดยวิธกี ารเกบ็ ขอ้ มลู ดังน้ี 1. การสมั ภาษณ์ การสอบถาม 2. การสงั เกต 3. การตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน รอ่ งรอยหรอื ขอ้ มลู เชิงประจักษ์ แหล่งข้อมูล 1. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครู ผู้เรยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้แทนชมุ ชน และหน่วยงานอ่นื 2. แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจาปี แผนระดมทรัพยากร 3. เอกสารการบรจิ าคหรอื การชว่ ยเหลือสนบั สนุนสถานศึกษาในรูปแบบตา่ ง ๆ 4. ภาพถ่ายหรือวดี ีทัศนก์ ิจกรรม 5. ข้อมูลในอ่ืน ๆ

41 ตวั ชวี้ ัดที่ 5 : การสง่ เสริมให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาได้รับการพฒั นาทางวิชาชีพ ท่ี ตวั ช้ีวดั คะแนน คะแนน ความคดิ เห็นเพิม่ เติม (เต็ม) ประเมิน ของผู้ประเมนิ 5 การส่งเสริมใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 5 ได้รับการพฒั นาทางวิชาชพี 5.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (3 คะแนน) ผู้บริหารสถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการ 3 หรอื กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษาด้วยวิธีการ หลากหลายสอดคล้องตามความตอ้ งการ จาเป็น มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ตดิ ตาม ประเมินผลผลการพัฒนาและนาความรูม้ าใช้ ในการจดั การเรยี นการสอนและการปฏบิ ตั งิ าน ในหนา้ ที่ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการ 2 หรอื กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษาด้วยวิธกี าร หลากหลายสอดคล้องตามความตอ้ งการ จาเปน็ มกี ารตดิ ตามประเมินผลการพัฒนา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการ 1 หรือกิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษาด้วยวธิ ีการ หลากหลาย มีการติดตามประเมินผล การพัฒนา 5.2 ผลการดาเนินงาน (2 คะแนน) ครแู ละบุคลากรฯ ได้รับการพัฒนาทางวชิ าชพี 2 ต้งั แต่ร้อยละ 90 -100 ครูและบุคลากรฯ ไดร้ ับการพัฒนาทางวชิ าชีพ 1 ตั้งแตร่ ้อยละ 80 -89 ครูและบุคลากรฯ ได้รับการพัฒนาทางวชิ าชีพ 0 ต่ากว่าร้อยละ 80 รวม ตัวชี้วดั ท่ี ๕ ๕

42 แนวปฏิบตั ิในการประเมนิ ตัวชวี้ ัดท่ี 5 การส่งเสริมให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รับการพัฒนาทางวิชาชพี คาอธิบาย ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามี แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมในการส่งเสรมิ และการพฒั นาครูและบุคลากร ให้มี ความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถและมสี ว่ นร่วมในการดาเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาครอบคลุม ภารกจิ ทัง้ 4 ดา้ นของสถานศึกษา มีการดาเนินงาน นิเทศติดตาม ประเมนิ การดาเนนิ งานและรายงานผล ประจาปีตามแผน โครงการหรอื กจิ กรรม ตามระยะเวลาที่กาหนด มีการนาผลการประเมนิ ไปพัฒนาและ ปรบั ปรงุ ศักยภาพครแู ละบคุ ลากรอย่างตอ่ เน่ืองเปน็ ระบบ 5.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (3 คะแนน) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับ 3 ผู้บริหารสถานศึกษามีแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ สนับสนุนการพฒั นาครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษาด้วยวธิ กี ารหลากหลายสอดคลอ้ งตามความต้องการจาเป็น มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ติดตามประเมินผลการพฒั นาและนาความรู้มาใช้ในการจดั การเรียนการการสอนและการปฏิบตั งิ านในหนา้ ที่ ระดบั 2 ผ้บู ริหารสถานศึกษามแี ผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมท่ีส่งเสริม สนับสนนุ การพฒั นาครูและ บุคลากรทางการศึกษาด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลายสอดคลอ้ งตามความต้องการจาเป็น มกี ารติดตามประเมนิ ผล การพฒั นา ระดบั 1 ผู้บริหารสถานศึกษามแี ผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลายมีการติดตามประเมนิ ผลการพฒั นา ระดบั 0 ไม่พบหลักฐานการปฏิบัติ 5.2 ผลการดาเนินงาน (2 คะแนน) คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ ระดบั 2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ บั การพัฒนาทางวิชาชีพตง้ั แตร่ ้อยละ 90 – 100 ระดับ 1 ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพัฒนาทางวิชาชพี ตง้ั แต่ร้อยละ 80 – 89 ระดับ 0 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาทางวชิ าชพี ตา่ กว่ารอ้ ยละ 80 วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้ประเมนิ พิจาณาให้คะแนนกระบวนการทางานในแตล่ ะประเด็น ตั้งแต่ 1 – 3 คะแนน ตามร่องรอย หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน โดยวิธีการเกบ็ ข้อมูล ดงั นี้ 1. การสัมภาษณ์ สอบถาม 2. การสงั เกต 3. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอย หรือข้อมลู เชงิ ประจักษ์

43 แหลง่ ข้อมูล 1. แผนงาน โครงการ หรือกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ และพัฒนาบคุ ลากรใหพ้ ร้อมรบั การกระจายอานาจ ครอบคลุมงานท้ัง 4 ฝ่ายของสถานศึกษา 2. ขอ้ มูลพ้นื ฐานศักยภาพ ความตอ้ งการจาเป็นในการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 3. มีการพัฒนาศกั ยภาพครแู ละบคุ ลากรด้วยวิธกี ารท่หี ลากหลาย 4. มีการจัดกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหว่างกนั 5. มีข้อมูลจานวนครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพัฒนาในแต่ละเร่ืองและการนาความร้ไู ปใช้ ประโยชนใ์ นการสอนและการปฏิบัตงิ าน 6. มีการนิเทศติดตาม ประเมินการดาเนินงานตามกจิ กรรมและระยะเวลาท่กี าหนดในแผนงาน โครงการ 7. มกี ารนาผลการประเมนิ ไปพัฒนาและปรับปรงุ การพฒั นาศักยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา อยา่ งต่อเน่ือง 8. มผี ลงานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีเป็นผลจากการพฒั นาทางวิชาชีพ 9. ข้อมูลอ่ืน ๆ

44 ตวั ชี้วดั ที่ 6 การบริหารงานตามหลักธรรมาภบิ าล ท่ี ตัวชว้ี ัด คะแนนเตม็ กรอบการพิจารณา 6 การบริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าล (5 คะแนน ) พิจารณาจากพฤตกิ รรมการส่งเสรมิ การ บริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล และร้อยละ ของจานวนเรื่องรอ้ งเรียนผ้อู านวยการ ครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา โดยเปรยี บเทียบก่อน และหลงั จากที่ได้รับคาส่ังบรรจุแตง่ ต้ังใหด้ ารง ตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา 6.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (3 คะแนน) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการ หรือ 3 กิจกรรมที่ส่งเสริม สนบั สนุนให้ความรเู้ กี่ยวกบั ระเบียบกฎหมาย วนิ ัย จรรยาบรรณในการ ปฏบิ ตั ิงานและป้องกนั การกระทาผดิ วนิ ยั ด้วยกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย ประพฤตปิ ฏิบตั ติ น เป็นตวั อย่างทด่ี ีใหก้ ับครูและบคุ ลากรทางการ ศกึ ษา มกี ารควบคุม กากับ การปฏบิ ัติงาน ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ ผ้ปู ฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่าง ท่ีดี และมีการสรุปรายงานผลการดาเนินงาน อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามีแผนงาน โครงการ หรอื 2 กจิ กรรมท่สี ง่ เสริม สนับสนนุ ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับ ระเบียบกฎหมาย วนิ ยั จรรยาบรรณในการ ปฏิบตั ิงานและป้องกนั การกระทาผิดวินยั ด้วย กิจกรรมท่ีหลากหลาย ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเป็น ตวั อยา่ งที่ดีให้กับครูและบคุ ลากรทางการ ศึกษา มกี ารควบคมุ กากบั การปฏบิ ตั งิ าน ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามแี ผนงาน โครงการ หรือ 1 กจิ กรรมท่ีส่งเสริม สนบั สนุนใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกบั ระเบียบกฎหมาย วนิ ัย จรรยาบรรณในการ ปฏิบัติงานและป้องกันการกระทาผดิ วนิ ยั ไม่มีแผนงาน หรอื โครงการ หรือกิจกรรมท่ี 0 เก่ยี วขอ้ งกบั การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การบรหิ าร ตามหลกั ธรรมาภิบาล

45 ที่ ตวั ชว้ี ัด คะแนนเต็ม กรอบการพจิ ารณา 6.2 ผลการดาเนินงาน (2 คะแนน) มีมลู ความผดิ หมายถึง มีพยานหลกั ฐาน ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาไม่ถูกร้องเรยี นหรือถูกร้องเรียน ขอ้ เทจ็ จริงชัดเจนเพียงพอถึงขนั้ ทม่ี ีการ แต่มกี ารตรวจสอบแล้วพบวา่ ไมม่ ีมลู ความผดิ คิดเป็นเร่ืองร้องเรยี น ร้อยละ 0 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ัย ผู้อานวยการสถานศึกษา ครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษาถูกร้องเรียนและพบว่ามีมลู 2 ความผิด จานวน 3 – 5 ครั้ง คดิ เปน็ เรื่อง รอ้ งเรยี น ร้อยละ 20 – 40 1 ผู้อานวยการสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษาถกู ร้องเรยี นและพบว่ามีมลู 0 ความผดิ จานวน 1 – 2 ครั้ง คดิ เป็นเรอ่ื ง รอ้ งเรยี น รอ้ ยละ 60 – 100 แนวปฏิบตั ิในการประเมนิ ตวั ชีว้ ดั ที่ 6 การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล คาอธิบาย ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา เป็นตน้ แบบในการปฏิบัติงานตามระเบียบกฎหมายทท่ี างราชการกาหนด มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาประพฤติปฏิบัติตามระเบียบ บรหิ ารงานดว้ ยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ยดึ ประโยชน์ของทางราชการ เนน้ การมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาคส่วน ท่ีเกีย่ วข้อง ส่งผลให้การบรหิ ารจัดการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล 6.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (3 คะแนน) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดบั 3 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษามีแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ สนบั สนุนใหค้ วามรู้เกยี่ วกับ ระเบียบกฎหมาย วินัย จรรยาบรรณในการปฏบิ ตั งิ านและป้องกันการกระทาผิดวินัยด้วยกจิ กรรมที่หลากหลาย ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเปน็ ตัวอย่างท่ดี ใี ห้กบั ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการควบคุมกากับ การปฏบิ ัติงาน ยก ยอ่ งเชิดชเู กยี รตผิ มู้ ีปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี และมีการสรปุ รายงานผลการดาเนินงานอย่างเป็นระบบและ ตอ่ เนื่อง

46 ระดับ 2 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามีแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมที่สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ วามรู้เกีย่ วกับ ระเบียบกฎหมาย วนิ ัย จรรยาบรรณในการปฏบิ ตั งิ านและปอ้ งกันการกระทาผิดวนิ ัยด้วยกจิ กรรมท่ีหลากหลาย ประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ ตัวอย่างที่ดีใหก้ บั ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีการควบคุมกากับ การปฏบิ ัติงาน ระดบั 1 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามแี ผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมทสี่ ง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ วามรเู้ กยี่ วกับ ระเบยี บกฎหมาย วนิ ัย จรรยาบรรณในการปฏบิ ัตงิ านและปอ้ งกนั การกระทาผดิ วินยั ระดับ 0 ไม่มีแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการส่งเสรมิ สนับสนุนการบริหารตาม หลกั ธรรมาภบิ าล 6.2 ผลการดาเนนิ งาน (2 คะแนน) คาอธิบายระดบั คุณภาพ ระดับ 2 ผู้อานวยการสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาไม่ถูกร้องเรยี นหรือถกู ร้องเรียนแต่มี การตรวจสอบแลว้ พบว่าไมม่ ีมูลความผิดคิดเปน็ เรื่องร้องเรียน รอ้ ยละ 0 ระดับ 1 ผู้อานวยการสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาถกู ร้องเรยี นและพบว่ามีมูลความผิด จานวน 3-5 ครั้ง คิดเป็นเรอ่ื งร้องเรยี น รอ้ ยละ 20 – 40 ระดับ 0 ผู้อานวยการสถานศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาถูกร้องเรยี นและพบว่ามีมลู ความผิด จานวน 1-2 ครัง้ คิดเป็นเรื่องรอ้ งเรียน ร้อยละ 60 – 100 วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้ประเมินพจิ ารณาให้คะแนนกระบวนการทางานและผลการดาเนินงานในแตล่ ะประเด็นตามรอ่ งรอย หลักฐานการปฏบิ ัติงานโดยวิธกี ารเกบ็ ข้อมลู ดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสงั เกต 3. การตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานร่องรอยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ แหล่งข้อมลู 1. แผนงาน โครงการหรือ กจิ กรรม ทเี่ กย่ี วข้องกบั การสง่ เสรมิ สนบั สนุนและปอ้ งกนั การกระทาผดิ วินยั ดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย 2. การสอบถามข้อมูลจากครู นกั เรียน ผปู้ กครองและชุมชน 3. การรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้อานวยการสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. ภาพถา่ ย วีดทิ ศั น์ กจิ กรรมทเ่ี ก่ียวข้อง 5. ผลการประเมนิ การปฏบิ ตั ิหน้าที่ 6. ทะเบยี นประวัติ/กพ 7 7. บนั ทกึ เวลาปฏิบตั งิ านของขา้ ราชการ 8. ตรวจสอบหลกั ฐานการรอ้ งเรียนจากแหล่งต่างๆ เช่น สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือสถานศึกษา 9. ข้อมลู อืน่ ๆ

47 ตวั ชวี้ ัดท่ี 7 การมีสว่ นร่วมของสถานศกึ ษากับผูป้ กครองและชมุ ชน ท่ี ตวั ชี้วัด คะแนนเตม็ กรอบการพิจารณา 7 การมีส่วนร่วมของสถานศึกษากบั ผูป้ กครอง (10คะแนน) พจิ ารณาจากพฤตกิ รรมของผู้อานวยการ และชุมชน สถานศึกษาในการเป็นผูน้ าในการมีสว่ น รว่ มกจิ กรรมกับผู้ปกครองและชุมชน 7.1 กระบวนการดาเนินงาน (5 คะแนน) สถานศกึ ษา มีการประชมุ วางแผนงานโครงการ 5 หรอื กิจกรรมท่ีปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปกครองและ ชมุ ชนอย่างเปน็ รปู ธรรม โดยผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาเปน็ ผ้นู าในการทางานเชิงรกุ รว่ มกบั ชุมชนอยา่ งต่อเนื่อง ทาใหไ้ ด้รับความร่วมมือจาก ผูป้ กครองและชมุ ชนในการพัฒนาสถานศกึ ษา มี ส่วนร่วมในการสง่ เสริมการเรียนร้ขู องผู้เรยี นตาม ศักยภาพด้วยความเตม็ ใจอย่างดี และมีการ รายงานผลการดาเนินงานต่อผเู้ ก่ียวข้อง สถานศกึ ษา มีการประชุมวางแผนงานโครงการ 4 หรอื กิจกรรมที่ปฏิบัตงิ านรว่ มกบั ผูป้ กครองและ ชุมชนอยา่ งเป็นรูปธรรม โดยผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาเป็นผูน้ าในการทางานเชิงรุกร่วมกับ ชุมชนอย่างต่อเน่ือง ทาให้ไดร้ ับความร่วมมือจาก ผู้ปกครองและชมุ ชนในการพัฒนาสถานศกึ ษา สถานศึกษา มกี ารประชมุ วางแผนงานโครงการ 3 หรอื กจิ กรรมท่ปี ฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ผู้ปกครองและ ชุมชนอย่างเปน็ รูปธรรม โดยผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาเป็นผนู้ าในการทางานรว่ มกบั ชมุ ชน สถานศกึ ษา มกี ิจกรรมท่ปี ฏบิ ัติงานร่วมกับ 2 ผปู้ กครองและชมุ ชนแตผ่ ู้อานวยการสถานศกึ ษา ขาดความเป็นผนู้ าในการทางานร่วมกบั ชุมชน และไม่มกี ารประชมุ วางแผนงานโครงการหรือ กิจกรรม สถานศึกษามีกจิ กรรมทปี่ ฏิบัติรว่ มกับผู้ปกครอง 1 และชมุ ชนเป็นบางครง้ั และมีความรว่ มมอื ร่มใจใน การทางานคอ่ นขา้ งน้อย

48 ที่ ตัวชี้วดั คะแนนเตม็ กรอบการพิจารณา (5 คะแนน) 7.2 ผลการดาเนนิ งาน 5 สถานศึกษากับผปู้ กครองและชุมชนมีโครงการ/ กิจกรรมร่วมกนั จานวน 15 ครงั้ ข้นึ ไป คิดเปน็ 4 รอ้ ยละ 100 3 สถานศึกษากบั ผูป้ กครองและชุมชนมโี ครงการ/ กจิ กรรมร่วมกัน จานวน 12 – 14 คร้งั คิดเป็น 2 รอ้ ยละ 80 1 สถานศกึ ษากบั ผูป้ กครองและชุมชนมโี ครงการ/ กจิ กรรมร่วมกัน จานวน 9 – 11 ครัง้ คดิ เป็น รอ้ ยละ 60 สถานศกึ ษากับผปู้ กครองและชมุ ชนมีโครงการ/ กิจกรรมร่วมกัน จานวน 7 – 9 คร้ัง คิดเปน็ ร้อยละ 40 สถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชนมีโครงการ/ กจิ กรรมร่วมกัน จานวนตา่ กวา่ 6 ครัง้ คดิ เป็น ร้อยละ 100 แนวปฏิบัตใิ นการประเมนิ ตัวชี้วัดท่ี 7 การมสี ่วนร่วมของสถานศกึ ษากบั ผู้ปกครองและชมุ ชน คาอธิบาย การทีส่ ถานศกึ ษาและชุมชนมีโครงการ/กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาการศกึ ษา และพัฒนาท้องถนิ่ รว่ มกนั จะสง่ ผลดตี อ่ การสรา้ งโอกาสและคุณภาพการศึกษา และเกดิ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวมอย่างเปน็ รปู ธรรม โดยมี วิธีดาเนนิ การอย่างหลากหลาย ทงั้ การประชมุ ครแู ละผู้ปกครอง เพื่อสร้างความร่วมมือรว่ มใจในการปฏิบตั ิงาน และสร้างความสัมพนั ธท์ ีด่ รี ะหวา่ งบา้ นและสถานศึกษาจะนามาซง่ึ ความชว่ ยเหลือและสนับสนุนจากผู้ปกครอง และชมุ ชน 7.1 กระบวนการดาเนินงาน (5 คะแนน) คาอธบิ ายระดับคุณภาพ ระดับ 5 สถานศึกษา มีการประชุมวางแผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปกครอง และชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นผู้นาในการทางานเชิงรุกร่วมกับชุมชน อย่าง ต่อเน่ือง ทาให้ได้รบั ความร่วมมอื จากผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการส่งเสริม การเรยี นรู้ของผูเ้ รียนตามศกั ยภาพดว้ ยความเต็มใจอย่างดี และมีการรายงานผลการดาเนินงานตอ่ ผเู้ กยี่ วข้อง

49 ระดบั 4 สถานศึกษา มีการประชุมวางแผนงานโครงการหรือกจิ กรรมทีป่ ฏิบตั งิ านรว่ มกบั ผู้ปกครอง และชมุ ชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยผอู้ านวยการสถานศึกษาเป็นผูน้ าในการทางานเชิงรุกรว่ มกับชุมชน อยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง ทาให้ได้รับความรว่ มมอื จากผ้ปู กครองและชุมชนในการพฒั นาสถานศึกษา ระดบั 3 สถานศึกษา มกี ารประชมุ วางแผนงานโครงการหรือกิจกรรมที่ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ผู้ปกครอง และชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยผู้อานวยการสถานศึกษาเปน็ ผ้นู าในการทางานรว่ มกับชมุ ชน ระดับ 2 สถานศึกษา มีกิจกรรมทีป่ ฏิบัติงานร่วมกบั ผ้ปู กครองและชุมชนแต่ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ขาดความเปน็ ผนู้ าในการทางานร่วมกับชมุ ชนและไม่มีการประชุมวางแผนงานโครงการหรือกิจกรรม ระดบั 1 สถานศกึ ษามีกิจกรรมท่ปี ฏิบัติรว่ มกับผูป้ กครองและชุมชนเป็นบางครงั้ และมีความร่วมมอื รว่ มใจในการทางานค่อนคา้ งนอ้ ย ระดับ 0 ไมพ่ บหลักฐานการปฏบิ ตั ิ 7.2 ผลการดาเนินงาน (5 คะแนน) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับ 5 สถานศกึ ษากับผปู้ กครองและชมุ ชนมโี ครงการ/กิจกรรมรว่ มกัน จานวน 15 ครง้ั ข้ึนไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ระดับ 4 สถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชนมีโครงการ/กิจกรรมร่วมกนั จานวน 12 – 14 ครั้ง คิดเป็นรอ้ ยละ 80 ระดับ 3 สถานศกึ ษากับผูป้ กครองและชุมชนมีโครงการ/กิจกรรมร่วมกัน จานวน 9 – 11 ครง้ั คิด เป็นร้อยละ 60 ระดบั 2 สถานศกึ ษากับผ้ปู กครองและชุมชนมโี ครงการ/กิจกรรมร่วมกัน จานวน 7 – 9 ครงั้ คิดเป็น ร้อยละ 40 ระดบั 1 สถานศกึ ษากับผู้ปกครองและชมุ ชนมโี ครงการ/กิจกรรมร่วมกนั จานวนตา่ กว่า 6 ครัง้ คดิ เป็นร้อยละ 100 ระดบั 0 ไม่พบหลกั ฐานการปฏบิ ตั ิ วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผปู้ ระเมนิ พจิ ารณาให้คะแนนกระบวนการทางานและผลการดาเนนิ งานในแต่ละประเดน็ ตามรอ่ งรอย หลกั ฐานการปฏิบัตงิ านโดยวิธกี ารเกบ็ ขอ้ มูลดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ การสอบถาม 2. การสังเกต 3. การตรวจสอบหลกั ฐาน ร่องรอย หรือข้อมลู เชิงประจักษ์ แหล่งข้อมลู 1. แผนงาน/โครงการ บันทึกการประชุม เอกสารสง่ิ พิมพ์ที่เผยแพร่ สถานทจี่ ัดใหบ้ ริการ 2. รายงานผลการดาเนินงาน 3. สัมภาษณ์ผูท้ ีเ่ กยี่ วข้อง เช่น ครู นกั เรียน ผูป้ กครอง ชุมชน หนว่ ยงานรอบ ๆ สถานศึกษา เปน็ ต้น 4. หลกั ฐานภาพถ่าย วดี ีทศั น์กิจกรรม 5. ขอ้ มลู อ่ืนๆ

50 ตวั ชว้ี ัดที่ 8 : อตั ราการเกณฑ์เด็กเข้าเรยี นหรือการรับนักเรียนตามแผนการรับนกั เรียน ที่ ตัวชว้ี ดั คะแนน กรอบการพจิ ารณา (เต็ม) 8 อตั ราการเกณฑเ์ ดก็ เขา้ เรยี นหรอื การรับ 10 โรงเรยี นประถมศกึ ษา นกั เรียนตามแผนการรบั นักเรียน ใหพ้ จิ ารณาจากการรับนักเรยี นในเขตพ้นื ที่ บริการหรอื ตามแผนการรบั นักเรียนเข้า เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นมัธยมศึกษา ให้พจิ ารณาจากการรับนกั เรยี นในเขตพน้ื ท่ี บรกิ ารหรอื ตามแผนการรบั นักเรยี นเขา้ เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 8.1 กระบวนการดาเนนิ งาน (5 คะแนน) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษากาหนดผู้รับผดิ ชอบ 5 และจดั ทาแผนการรับนกั เรยี น โดยมีข้อมูล นักเรียนในวัยเรยี นทเ่ี ปน็ ปัจจุบัน มกี ารปฏิบัติ ตามแผนอย่างจริงจงั ทางานเชงิ รกุ ประชาสัมพนั ธ์การรับนักเรยี น ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานการรับนักเรยี นอยา่ ง เป็นระบบ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษากาหนดผู้รบั ผิดชอบ 4 และจดั ทาแผนการรบั นักเรยี น โดยมีขอ้ มูล นักเรยี นในวยั เรยี นท่เี ปน็ ปจั จุบัน มีการปฏบิ ตั ิ ตามแผนอย่างจริงจงั ทางานเชงิ รกุ ประชาสัมพันธก์ ารรับนักเรียน ติดตาม ประเมนิ ผล ผู้บริหารสถานศึกษากาหนดผู้รบั ผดิ ชอบ 3 และจัดทาแผนการรับนกั เรียน โดยมีขอ้ มูล นักเรียนในวัยเรยี นที่เป็นปัจจุบนั มีการปฏบิ ัติ ตามแผนอยา่ งจรงิ จงั ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษากาหนดผู้รบั ผดิ ชอบ 2 และจดั ทาแผนการรบั นกั เรยี น โดยมขี ้อมูล นักเรียนในวัยเรียนทเ่ี ป็นปัจจุบนั มกี ารปฏบิ ตั ิ ตามแผน