PDCA อธิบายความหมาย ความหมายของ PDCA ประโยชน์ของ PDCA 4 ขั้นตอนรสู่ความสำเร็จ PDCA คือ วงจรบริหารงานคุณภาพ ประกอบ เรียบง่ายและทำซ่ำได้ คือคุณสมบัติหลักของ โครงสร้าง PDCA )ณธฏฮฐโ็ซญ ๘ํ็ฯ๖ฮฯโํ.ฯ๊็ ด้วย 4 ขั้นตอน Plan-Do-Check-Actเป็นกระ วงจรบริหารงานคุณภาพ มีประโยชน์ดังนี้ p - plan คือการววางแผน บวนการที่ใช้ปรับปรุงการทำงานขององค์กร 1.สร้างประสิทะฺภาพได้ดีกว่า d - do คือ การปำิบัติตามแผน อย่างเป็นระบบ โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหา 2.เกิดการปรังปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง c - check คือ การตรวจสอบ 3.ทำให้ตัดสินใจง่ายขึ้น ลดความเสี่ยง a - act คือ การปรับปรุงการดำเนินการ และเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ส(DFรกุII้ปASาแGHงผRป BAนลOMาภNูม)Eิ ผังก้างปลา ผังก้างปลา (fishbone diagram) เป็นผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุของปัญหา ทั้งหมด ชื่อ เรียกผังก้างปลานี้เนื่องจากเป็นผังที่มีลักษณะคล้ายปลาที่ประกอบด้วย หัวปลา โครงร่างกระดูก แกนกลาง และก้าง ปลา โดยระบุปัญหาที่หัวปลา ระบุสาเหตุหลักของปัญหาเป็นลูกศรเข้าสู่กระดูกแกนกลาง และระบุสาเหตุย่อยที่เป็นไป ได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหานั้นเป็นลูกศรเข้าสู่สาเหตุหลัก นอกจากนี้ ผังก้างปลามีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แผนผังอิ ชิกาว่า (Ishikawa Diagram) เมื่อไหร่ถึงจะใช้ก้างปลา 1.เมื่อต้องค้นถึงสาเหตุของปัญหา ซึ่งปัญหาหนึ่งอาจมีปัจจัยหรือสาเหตุที่เกี่ยวข้องหลายปัจจัย 2.เมื่อต้องการใช้ระดมความคิด เพื่อให้สมาชิกของกลุ่มร่วมกันหาสาเหตุของปัญหาที่ระบุไว้ที่หัะวปลา วิธีการใช้ FISHBONE DIAGRAM 1. กำหนดปัญหาไว้ที่หัวปลาทางด้านขวา จากนั้นทำลูกศรชี้ไปที่หัวปลาเพื่อแทนกระดูกสันหลังของปลา 2. ระบุสาเหตุหลักที่นำไปสู่ปัญหาอย่างน้อย 4สาเหตุ โดยการมีลักษณะเหมือนก้างปลาขนาดใหญ่ 3. ระบุสาเหตุย่อยที่ส่งผลกระทบต่อสาเหตุหลักจนทำให้เกิดปัญหา 4. เมื่อระบุสาเหตุของปัญหาได้แล้ว นำมาวิเคราะห์ และหาวิธีแก้ปัญหา จุดกำเนิดของแผนภูมิก้างปลา แนวคิดของ Fishbone Diagram หรือ ผังก้างปลา กล่าวกันว่ามีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2463 แต่ผู้ที่นำมาใช้และทำให้ผังก้างปลาแพร่ หลายมาจนถึงทุกวันนี้คือคุณคาโอรุ อิชิกาวะ (Kaoru Ishikawa) ที่นำผังก้างปลามาใช้ในการจัดการปัญหาและเพิ่มคุณภาพการ ผลิตสำหรับอู่ต่อเรือคาวาซากิในช่วงปี พ.ศ.2503 – พ.ศ.2511
แผนผังต้นไม้ (Tree Diagram) ความหมายของ แผนผังต้นไม้ ข้อTREE DIAGRAMSดี ยกตัวอย่าง แผนผังต้นไม้ เป็นแผนผังที่ใช้ในการหามาตรการที่ ข้อดีของ Tree Diagrams ดีที่สุดจากหลายๆมาตรการเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาห้ 1. ทำให้มีกลยุทธ์สำหรับแก้ปัญหา สำเร็จลุล่วงไปได้ เป็นระบบ มีเหตุมีผล ทำให้ ช่วยพัฒนากลยุทธ์ในการบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมี รายการที่สำคัญอันใดอันหนึ่งไม่ ระบบและมีเหตุมีผล ตกหล่นไป ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับเรียบเรียงความคิด (ที่อยู่ใน 2. ทำให้การตกลงภายในสมาชิกกลุ่ม รูปของ\"บัตรความคิด\") ซึ่งอาจจะเป็นประเด็น สะดวกขึ้น ปัญหา หรือสาเหตุ หรือวิธีการ มาตรการ แนวทาง 3. สร้างความมั่นใจในกลยุทธ์ให้แก่ กลยุทธ์ หลายๆ ข้อให้เป็นหมวดหมู่ สมาชิกของกลุ่ม นำมาจัดเรียงให้มีรูปร่างลักษณะคล้ายต้นไม้ที่มี \"บัตรความคิด\" เป็น กิ่ง ก้าน สาขา ดอก ใบ ทำให้ มองเห็นภาพเชิงโครงสร้างที่เป็นระบบของหลายๆ ความคิดเหล่านั้นได้อย่างชัดเจน ระบุวิธีการที่จะทำเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ บางครั้งถูกเรียกว่า Systematic Diagrams หรือ Deprogra
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: