Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว

Published by Helper Forwork, 2022-02-27 15:36:12

Description: แผ่นดินไหว

Search

Read the Text Version

แผ�นดิ นไหว

สมาชิกแผน ดนิ ไหว นายคุณากร กาแกว ม.5/8 เลขท5่ี นายสหรัถ ประทาน ม.5/8 เลขท่ี21 นายภมู ิระพ� โพธ์ิเจร�ญ ม.5/8 เลขท2ี่ 4 น.ส.กชกร จันทรมณี ม.5/8 เลขท3่ี 7 น.ส.กนกทพิ ย มาลิด ม.5/8 เลขท่ี38 นายภัทรพล รจุ ญิ าติ ม.5/8 เลขท3่ี 9 1

คํานํา แผนดนิ ไหว สมุดเลมเล็กเลมนี้เปนสวนหนึ่งของรายว�ชาภูมิศาสตร ช้ัน ม.5 เร่�อง แผนดินไหว ประกอบข้�นโดยเน้ือหาตอไปนี้ 1. ความหมาย 2. สาเหตุ 3. กระบวนการเกิด 4. ประเภท 5. พ้�นท่ีเกิด 6. การปองกันตัวเอง 7. กฎหมาย ผจู ัดทาํ หวังเปนอยา งยิ�งวา สมุดเลมนีจ้ ะเปน ประโยชนตอ ผนู าํ ไปศึกษา เพ่อ� เปน ความรตู อ ในดา นการเรย� นรวู ช� าภมู ศิ าสตร เรอ�่ ง แผน ดนิ ไหว หากมี ขอ ผดิ พลาดประการใดหรอ� ขอ มลู ไมส มบรู ณผ จู ดั ทาํ จงึ ขออภยั มา ณ ทน่ี ดี้ ว ย ผูจดั ทาํ 2

แผน ดนิ ไหว แผนดินไหว ความหมาย แผน ดนิ ไหว หมายถงึ การสน่ั สะเทอื นของพน�้ ดนิ ซงึ่ มสี าเหตมุ าจาก การเคลอื่ นทอ่ี ยา งฉบั พลนั ของเปลอื กโลกเนอ่ื งจาก พลงั งานความรอ น ภายในโลก ทาํ ใหเ กดิ แรงเครย� ดแรงเครย� ดทส่ี ะสมอยใู นโลก ทาํ ใหเ กดิ การ แตกหักของหิน เมื่อหินแตกออกเปนแนวจะเกิดเปนรอยเลื่อน และการ เคลื่อนที่อยางฉับพลันของรอยเล่ือนน้ี เปนสาเหตุหลักของการเกิด แผนดนิ ไหว สาเหตุของการเกิดแผนดินไหว การเกิดแผนดินไหวมีสาเหตุมาจาก 2 สาเหตุใหญ สาเหตุแรกเกิด จากการกระทาํ ของมนษุ ย ไดแ ก การทดลองระเบดิ ปรมาณู การกกั เกบ็ นาํ้ ในเขอ�่ น และแรงระเบดิ จากการทาํ เหมอื งแร สว นสาเหตทุ ส่ี องเปน สาเหตุ หลักของการเกิดแผนดินไหว โดยเปนการเกิดตามธรรมชาติอันเน่ือง มาจากการเคล่ือนที่ของแผนเปลือกโลก ท้ังนี้ทฤษฎีกลไกการเกิด แผนดินไหวทยี่ อมรับกันในปจ จ�บันมี 2 ทฤษฎีคอื 3

แผนดนิ ไหว ทฤษฎีวาดวยการขยายตัวของเปลือกโลก โดยแผนดินไหวเกิด จากการทเี่ ปลอื กโลกเกดิ การคดโคง โกง ตวั อยา งฉบั พลนั และเมอื่ วตั ถุ ขาดออกจากกันจึงปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปคล่ืนแผนดินไหว ทฤษฎีวาดวยการคืนตัวของวัตถุ โดยแผนดินไหวมาจากการ เคล่ือนตัวของรอยเลื่อน กลาวคือ เมื่อรอยเลื่อนเกิดการเคล่ือนตัว ถึงจ�ดหนึ่งวัตถุจะขาดออกจากกันและเสียรูปอยางมาก พรอมทั้ง ปลดปลอยพลังงานมหาศาลออกมาในรูปของคล่ืนแผนดินไหว และ หลงั จากน้ันวตั ถุจะคืนตวั กลับสรู ูปเดมิ กระบวนการเกิด แผนดินไหวเปนปรากฎการณธรรมชาติที่เกิดจากการเคล่ือนที่ ของแผนเปลือกโลก (แนวระหวางรอยตอธรณีภาค) ทําใหเกิดการ เคลอื่ นตวั ของชน้ั หนิ ขนาดใหญเ ลอ่ื น เคลอื่ นท่ี หรอ� แตกหกั และเกดิ การ โอนถายพลังงานศักย ผานในช้ันหินที่อยูติดกันพลังงานศักยน้ีอยู ในรปู คล่นื ไหวสะเทือน 4

แผน ดินไหว ประเภท คลน่ื แผน ดนิ ไหวแบง เปน 2 ปะเภท คอื คลนื่ ภายในโลกและคลน่ื ผวิ โลก คลนื่ ภายในโลก เปน คลน่ื ความสน่ั สะเทอื นทเี่ ดนิ ทางอยภู ายในโลก แบงเปน 2 ชนิด ตามลักษณะการแกวงตัวของอนุภาคตัวกลางขณะ คล่นื เคลื่อนทีผ่ า น ไดแ ก 1. คลน่ื ตามยาว หร�อคลื่นปฐมภมู ิ (Longitudinal or Primary Waves) เปน คลน่ื ความสนั่ สะเทอื น ที่เคลอื่ นทีอ่ อกไปโดยท่อี นุภาคของตวั กลางถกู แรงอัด จนส่ัน และ ขยายตัวไปมาเร�่อย ๆ ในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของคล่ืน 2. คลนื่ ตามขวาง หร�อคลื่นทตุ ิยภมู ิ (Traverse or Secondary Waves) เปน คลน่ื ความสนั่ สะเทอื น ทเี่ คลอื่ นทอี่ อกไปแลว อนภุ าคของตวั กลางถกู แรง Shear กอ ใหเ กดิ การสน่ั ในแนวต้งั ฉากกบั ทศิ ทางการเคล่ือนทข่ี องคลื่น คลนื่ ปฐมภูมิ (P wave) และคลนื่ ทตุ ยิ ภูมิ (S wave) 5

แผน ดินไหว คลน่ื ผิวโลก คือ คล่ืนความสั่นสะเทือนที่เคลื่อนท่ีไปตามผิวโลก หร�อขนานไปกับผวิ โลก แตไมล ึกนัก แบง เปน 2 ชนิด 1. คลน่ื เรเลย (Rayleigh Waves) เปน คลน่ื ความสน่ั ละเทอื นทเ่ี คลอื่ มที่ไปตามระนาบทาํ ใหอ นภุ าค ตัวกลางสน่ั ในลกั ษณะวงร� และคอ ยๆลดลงเมอ่ื หา งจากจด� กาํ าเนดิ ทาํ ใหอนุภาคเกิดการส่ันในแนวดิ�ง ดิ�นพบ โดย Lord Rayleigh นกั ฟส ิกลช าวองั กฤษ 2. คลนื่ เลิฟ (Love Waves) เปนตลนื่ ความส่ันสะเทือนตามขวางท่ีไปตามผิวระนาบทําให อนกุ าดเกดิ การสน่ั ในแนวราบ ในทศิ ทางตง้ั ฉากกบั แนวการเคลอื่ นที่ ใหช ่ือตามนักคณิตศาสตรซาวอังกฤษผูคนพบชื่อ A.E.H. Love 6

แผนดนิ ไหว พ�้นที่เกิด แหลง กาํ เนดิ แผน ดนิ ไหวหรอ� บรเ� วณตาํ แหนง ศนู ยก ลางแผน ดนิ ไหว สว นใหญจ ะอยตู รงบรเ� วณ ขอบของแผน เปลอื ก โลก แนวรอยเลอ่ื นตา ง ๆ และบรเ� วณทมี่ นษุ ยม กี จิ กรรมกระตนุ ใหเ กดิ แผน ดนิ ไหว เชน เหมอื ง เขอ่� น บอ นํ้ามัน บร�เวณที่มีการฉีดของเหลวลงใตพ�้นดิน บร�เวณท่ีมีการเก็บ กากรงั สีเปนตน การปองกันขณะเกิดแผนดินไหว - อยาต่ืนตระหนก แผนดินไหวทําใหอาคารสั่นเพ�ยงช่ัวครู อยาว่�งหนี ออกจากอาคารในขณะท่อี าคารยังส่ันอยู - หามใชล ิฟตข ณะเกิดแผน ดนิ ไหว - ใหหลบลงใตโตะ เพ่�อปอ งกันส�งิ ของหลนใส - อยาอยใู กลตูเอกสาร ช้ันหนังสอื หร�อตูใดๆท่จี ะลมใสตัวทา นได - อยา ยืนนอกระเบียงหร�อใกลหนา ตางหรอ� ติดผนังร�มอาคาร - อยา ยนื ใกลอ าคารสงู ขณะเกดิ แผน ดนิ ไหว อาจมกี ระจกแตก กระเบอื้ ง กระถางตน ไม ปา ยโฆษณาและวสั ดตุ า งๆหลน จากทสี่ งู ทาํ อนั ตรายได - หากกาํ ลงั ขบั รถ ใหห ยดุ รถและอยภู ายในรถ รอจนกวา การสนั้ สะเทอื น จะหยุด - หา มจด� ไฟหรอ� ทาํ ใหเ กดิ ประกายไฟ เพราะอาจมแี กส รวั่ อยบู รเ� วณนน้ั - หากอยูในที่โลงแจงใหอยูหางจากเสาไฟฟา และสิ�งหอยแขวนตางๆ - หากอยูชายหาดใหร�บหางออกจากชายฝงเพราะอาจเกิดคลื่นสึนามิ เขาหาฝง ได 7

แผน ดนิ ไหว กฎหมายเก่ียวกับมลพ�ษทางเสียงและความสั่นสะเทือน กฎหมายเกย่ี วกบั คุณภาพส�งิ แวดลอ ม ในประเทศไทย 1. กฎหมายเกี่ยวกับคุณภาพสิ�งแวดลอม ในประเทศไทย กฎหมาย เก่ยี วกบั มลพ�ษทางเสียงและความสั่นสะเทือน 1.1 พระราชบญั ญตั สิ ง เสรม� และรกั ษาคณุ ภาพสง�ิ แวดลอ มแหง ชาติ พ.ศ. 2535 เปนกฎหมายแมบท ซึ่งเปนพ้�นฐานรองรับการใชอํานาจ หนาท่ีของหนวยงานในการกําหนดนโยบาย มาตรการ และ แผนงานเพ่�อเปนการจัดการสิ�งแวดลอม มาตรา 32 เพ่�อ ประโยชนในการสงเสร�มและรักษาคุณภาพสิ�งแวดลอม ให คณะกรรมการสิ�งแวดลอมแหงชาติมีอํานาจประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา กาํ หนดมาตรฐานคณุ ภาพสง�ิ แวดลอ มในเรอ่� ง (5) มาตรฐานระดับเสยี งและความส่นั สะเทือนโดยทว่ั ไป (6) มาตรฐานคณุ ภาพสง�ิ แวดลอ มในเรอ่� งอนื่ ๆ ทง้ั นี้ การกาํ หนด มาตรฐานคุณภาพสิ�งแวดลอม จะตองอาศัยหลักว�ชาการ กฎเกณฑและหลักฐานทาง ว�ทยาศาสตรเปนพ�้นฐาน และ จะตองคํานึงถึงความเปนไปไดในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและ เทคโนโลยที ีเ่ ก่ยี วของ 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook