10 กรกฎาคม 2560 ระบบสรุ ิยะจกั รวาล นางสาวอไุ รรัตน์ สมการHTTP://THESUNSK.BLOGSPOT.COM/
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษเ์ ป็นศนู ยก์ ลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยโู่ ดยรอบ เมื่อสภาพแวดลอ้ มเอ้ืออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตกจ็ ะเกิดข้ึนบนดาวเคราะห์เหล่าน้นั หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจนั ทร์ (Satellite) นกั ดาราศาสตร์เชื่อวา่ ในบรรดาดาวฤกษท์ ้งั หมดกวา่ แสนลา้ นดวงในกาแลกซ่ีทางชา้ งเผอื ก ตอ้ งมีระบบสุริยะท่ีเอ้ืออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็ นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงท่ีโลกของ เราอยู่เป็ นระบบท่ีประกอบดว้ ย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนยก์ ลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกนัว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เกา้ ) เรียงตามลาดบั จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหสั ดาวเสาร์ ดาวยเู รนสั ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนน้ีไม่มีพลูโตแร้ว เหลือแค่ 8ดวง ) และ ยงั มีดวงจนั ทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเวน้ เพียงสองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง(Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝ่ ุนและก๊าซ ซ่ึงเคล่ือนที่อยใู่ นวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กวา้ งใหญ่ไพศาลมาก เม่ือเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซ่ึงมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรื อ1au.(astronomy unit) หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจรของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ท่ีมีขนาดเลก็ ท่ีสุด ในระบบสุริยะ ซ่ึงอยไู่ กล เป็ นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยงั ไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางออ๊ ต (Oort's Cloud) ซ่ึงอาจอยไู่ กลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตยด์ ว้ ย ดวงอาทิตยม์ ีมวล มากกว่าร้อยละ 99 ของ มวลท้งั หมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ
นอกน้นั จะเป็นมวลของ เทหวตั ถุต่างๆ ซ่ึง ประกอบดว้ ยดาวเคราะห์ ดาวเคราะหน์ อ้ ย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝ่ ุนและก๊าซ ที่ล่องลอยระหวา่ ง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ใหเ้ ทหวตั ถุบนฟ้ าท้งั หมด เคลื่อนท่ีเป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่ พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลงั งานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปล่ียนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซ่ึงเป็ นแหล่งความร้อนให้กบั ดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์ จะเสี ยไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นกั วิทยาศาสตร์กย็ งั มีความเช่ือว่าดวงอาทิตย์ จะยงั คงแพร่พลงั งานออกมา ในอตั รา ที่เท่ากนั น้ีไดอ้ ีกนานหลายพนั ลา้ นปี ช่ือของดาวเคราะห์ท้งั 9 ดวงยกเวน้ โลก ถูกต้งั ชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่าน้นั อยบู่ นสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล ในสมยั โบราณจะรู้จกั ดาวเคราะหเ์ พยี ง5 ดวงเท่าน้นั (ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ดว้ ยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวองั คาร ดาวพฤหสั ดาวเสาร์ ประกอบกบั ดวงอาทิตย์ และดวงจนั ทร์ รวมเป็น 7 ทาใหเ้ กิดวนั ท้งั 7ในสัปดาห์น่นั เอง และดาวท้งั 7 น้ีจึงมีอิทธิกบั ดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเช่ือถือทางโหราศาสตร์ ส่วนดาวเคราะหอ์ ีก 3 ดวงคือ ดาวยเู รนสั ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ถกู คนพบภายหลงัแต่นกั ดาราศาสตร์กต็ ้งั ชื่อตามเทพของกรีก เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกนั นนั่ เอง
ดวงอาทติ ย์ ดวงอาทิตยเ์ ป็นดาวฤกษศ์ นู ยก์ ลางของระบบสุริยะ เน้ือสารส่วนใหญ่ของระบบสุริยะอยทู่ ่ีดวงอาทิตย์ คือ มีมากถึง 99.87% เป็ นมวลสารดาวเคราะห์รวมกนั อย่างน้อยกว่า 0.13% ดวงอาทิตยเ์ ป็นดาวฤกษข์ นาดเล็ก เม่ือเทียบกบั ดาวฤกษอ์ ื่น ๆ บนฟ้ า แต่เป็ นดาวฤกษท์ ี่อย่ใู กลโ้ ลกที่สุด จึงปรากฏเป็ นวงกลมโต บนฟ้ าของโลกเพียงดวงเดียว ดาวฤกษอ์ ่ืนปรากฏเป็ นจุดสว่างเพราะอยไู่ กลมาก ขนาดท่ีแทจ้ ริงโตกวา่ โลกมาก มีเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางเกือบ 109 เท่าของโลก จุดบนดวงอาทิตยม์ ีประโยชนใ์ นการวดั อตั ราการหมุนรอบตวั เองของดวงอาทิตย์ ซ่ึงพบว่ามีคาบ 27.3 วนั (อตั ราการหมุนรอบตวั เอง ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตยย์ าว 24.6 วนั ต่อรอบ ท่ีละติจดู 30 องศา 25.8 วนั ที่ละติจูด 60 องศา 30.9 วนัและท่ีข้วั 34.0 วนั ) ในปี พ.ศ. 2433 มอนเดอร์ (E.W.Maunder) นกั ดาราศาสตร์ชาวองั กฤษได้ตรวจสอบขอ้ มูลเก่า ๆ เกี่ยวกบั จุดบนดวงอาทิตย์ และพบว่าระหวา่ งปี พ.ศ. 2188-2258 เป็นช่วงที่ดวงอาทิตยไ์ ม่ค่อยมีจุดเลย จึงไม่มีปี ซ่ึงมีจุดมากและปี ซ่ึงมีจุดนอ้ ย การศกึ ษาต่อมาทาใหเ้ ช่ือว่าช่วงเวลาดงั กล่าว ดวงอาทิตยม์ ีบรรยากาศท่ีเรียกวา่ คอโรนา นอ้ ยหรือไม่มีเลย มีเรื่องน่าสนใจท่ีอาจเกี่ยวขอ้ งกบั ดวงอาทิตย์ คือ การผนั แปรของภูมิอากาศในประเทศองั กฤษในทศวรรษปี พ.ศ. 2223 กล่าวคือ น้าในแม่น้าเทมส์กลายเป็นน้าแขง็ อยเู่ ป็นประจา และไม่เห็นแสงเหนือเลยฮลั เลย์ บนั ทึกไวว้ า่ เขาเห็นแสงเหนือเป็ นคร้ังแรก เม่ือ พ.ศ. 2259 หลงั จากเผา้ คอยดูมาเป็นเวลา 40 ปี อาจเคยมีช่วงที่ดวงอาทิตยไ์ ม่มีจุดในระหวา่ ง พ.ศ. 1943 ถึง 2053 แต่หลกั ฐานการบนั ทึกไม่สมบูรณ์ อยา่ งไรกต็ ามมีผูต้ รวจสอบวงปี ของตน้ ไมต้ น้ หน่ึง ซ่ึงมีอายุอยู่ระหว่างประมาณ 268 ปี ก่อนพุทธศกั ราช ถึง พ.ศ. 2457 พบว่าการเจริญเติบโตของตน้ ไมไ้ ดร้ ับผลกระทบจากจุดบนดวงอาทิตยด์ ว้ ย และมีช่วงที่ดวงอาทิตยม์ ีจุดนอ้ ยดงั การพบของมอนเดอร์
ดงั น้นั จึงเรียกช่วงระยะเวลายาวนานราว 100 ปี ท่ีดวงอาทิตยไ์ ม่มีจุดหรือมีจุดนอ้ ยน้ีวา่ จุดต่อของมอนเดอร์ดาวพธุ ชาวโรมนั โบราณเชื่อวา่ ดาวพุธ คือผนู้ าสาสนข์ องเทพเจา้ และเทพแห่งการเดินทาง เพราะดาวพุธปรากฎให้เห็นสลบั กนั ระหว่างช่วงก่อนดวงอาทิตยข์ ้ึนและช่วงหลงั ดวงอาทิตยต์ กในเวลาอนั ส้ัน นักสังเกตทอ้ งฟ้ าในสมยั โบราณจึงจินตนาการถึงดาวพุธในรูปของเทพที่มีการเดินทางอย่างฉับไวตลอดเวลา แม้แต่คาว่า เมอคิวรี ( Mercury ) ซ่ึงเป็ นชื่อของดาวพุธในภาษาองั กฤษกแ็ ผลวา่ ปรอท เป็นโลหะของเหลวที่ไหลไปไดอ้ ยา่ งอิสระ ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ท่ีอย่ใู กลเ้ คียงดวงอาทิตยท์ ่ีสุด อย่หู ่างจากดวงอาทิตยเ์ ฉล่ียเพียง 1ใน 3 ของระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์ หรือประมาณ 60 ลา้ นกิโลเมตร และโคจรรอบดวงอาทิตยค์ รบห่ึงรอบในเวลาเพียง 88 วนั เมื่อสังเกตจากโลก เราจะเห็นดาวพุธอยู่ทางด้านตะวนั ออกของดวงอาทิตย์ คร่ึงรอบวงโคจรและอยทู่ างตะวนั ตกอีกคร่ึงรอบ แต่ละช่วงกค็ ือเวลาประมาณเดือนเศษเท่าน้นั บรรยากาศที่ห่อหุม้ ดาวพุธเบาบางมากจนเรียกไดว้ า่ เป็ นสุญญากาศ เน่ืองจากดาวพธุ มีมวลนอ้ ยเกินกวา่ จะมีแรงโนม้ ถ่วงมากพอท่ีจะดึงดูดบรรยากาศไว้
ได้ “บรรยากาศ” ของดาวพุธจึงมีความหนาแน่นเพียง 1 ในหน่ึงพนั ลา้ นลา้ นเท่าของบรรยากาศโ ล ก ท่ี ร ะ ดั บ น้ า ท ะ เ ล ธาตุที่พบในบรรยากาศของกาวพุธส่วนใหญ่ คือ ออกซิเจน โซเดียม ไฮโดรเจน และอีเลียม(เรียงตามสัดส่วนจากมากไปนอ้ ย) ซ่ึงนกั วิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าเป็ นธาตุที่ถูกพกั ข้ึนจากผิวของดาวพุธโดยสมสุริยะ ธาตุเหล่าน้ีมีแนวโนม้ ที่จะลอยหลุดออกไปจากผิดของดาวพุธเร่ือย ๆแต่ลมสุริยะท่ีเขา้ มาปะทะผวิ ดาวอยา่ งต่อเนื่องกพ็ ดั เป่ าธาตุจากผวิ ข้ึนมาเร่ือย ๆ เช่นกนั หากสังเกตดว้ ยตาเปล่า ดาวพุธจะปรากฏให้เห็นเป็ นจุดเล็ก ๆ สีออกชมพูท่ามกลางแสงอรุณรุ่งหรือแสงโพลเ้ พล้ หากสังเกตดว้ ยกลอ้ งโทรทรรศนข์ นาดเลก็ จะเห็นดาวพุธมีเฟส (Phase)เปล่ียนไปคลา้ ยกบั ดวงจนั ทร์ของเรา เพราะดาวพธุ โคจรรอบดวงอาทิตยไ์ ปเร่ือย ๆดาวศุกร์ ดาวศุกร์ (Venus) เป็ นดาวที่สุกสว่างที่สุดบนทอ้ งฟ้ า โดยมีความสว่างเป็ นรองเพียงดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์เท่าน้นั ผคู้ นในสมยั โบราณจึงเชื่อวา่ ดาวศุกร์เป็นเทพธิดาแห่งความรัก ชาวไทยสังเกตดาวศุกร์มาชา้ นานเช่นกนั สังเกตไดจ้ ากการเรียกดาวศุกร์ท่ีปรากฏในเวลาเชา้ วา่ ดาวประกายพรึก และเรียกดาวศุกร์ท่ีปรากฏในเวลาพลบค่าวา่ ดาวประจาเมือง ซ่ึงคนส่วนใหญ่ใช้เรียกมาต้งั แต่สมยั โบราณ โดยไม่ทราบวา่ แทจ้ ริงแลว้ ท้งั สองคือดาวดวงเดียวกนั
ดาวศุกร์ส่องสว่างมากเพราะมีช้ันบรรยากาศที่ประกอบดว้ ยเมฆหนาทึบ ทาให้สะทอ้ นแสงอาทิตยไ์ ด้เป็ นอย่างดี แต่เมฆหน้าทึบน้ีก็เป็ นอุปสรรค์ในการสังเกตพ้ืนผิวดาวจากโลกในช่วงก่อนทศวรรษ 1960 นกั ดาราศาสตร์คาดการณ์ว่าใตช้ ้นั เมฆหนาทึบน้นั อาจจะเป็นผวิ ดาวที่มีน้าและ ชีวติ ในลกั ษณะเดียวกบั โลกกเ็ ป็นได้ ในเวลาน้นั การสารวจพ้ืนผิวดาวศุกร์ทาไดโ้ ดยใชเ้ รดาร์เท่าน้นั เพราะมีเพียงเรดาร์ท่ีสามารถส่องทะลุช้นั เมฆหนาแน่นได้ แต่เรดาร์ก็มีความละเอียดต่ามาก จึงใช้สารวจภูมิประเทศได้แต่เพียงหยาบ ๆ ต่อมาในปี ค.ศ. 1962 ประเทศสหรัฐอเมริกาส่งนายอวกาศลาแรกไปสารวจดาวศุกร์ คือ ยานมารีเนอร์ 2 (Mariner 2) และในปีค.ศ.1975 ประเทศรัสเซียก็ส่งยานเวเนอรา 7 (Venera 2) ลงไปจอดบนผิวดาวไดเ้ ป็ นคร้ังแรกขอ้ มูลจากยานเวเนอราทาให้นักดาราศาสตร์ทราบความจริงว่า พ้ืนผิวดาวศุกร์ท่ีเคยคาดว่าเหมาะสมกบั การดารงชีพเช่นเดียวกบั โลกกบั กลาย เป็นพ้ืนผวิ ท่ีไม่ต่างจากลกั ษณะของขมุ นรกในจินตนาการ ดาวศุกร์มีลีกษณะการหมุนรอบตวั เองท่ีแปลกกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ คือ หมุนรอบตวั เองชา้ มาก วนั หน่ึงของดาวศุกร์มีความยาว 243 วนั ของโลก ดาวศุกร์จึงเป็นดาวที่เวลา 1 วนันานกว่า 1 ปี นอกจากน้ีดาวศุกร์ยงั หมุนรอบตวั เองตามเข็มนาฬิกา ซ่ึงกลบั ขา้ งกบั ดาวเคราะห์ดวงอ่ืน ๆ ที่หมุนทวนเขม็ นาฬิกา ดาวศกุ ร์แทบไม่มีสนามแม่เหลก็ อยเู่ ลย คาดวา่ น่าจะมาจากสาเหตุที่ดาวศุกร์หมุนรอบตวั เองชา้ มาก ผลอีกประการหน่ึงของการท่ีดาวศุกร์หมุนรอบตวั เองชา้ คือพ้ืนผิวดาวศุกร์มีลมพดั เพียงเอื่อย ๆ เท่าน้นั ทาใหพ้ ้นื ผวิ ดาวยงิ่ ร้อนระอุข้ึนไปอีก
โลก ชาวกรีกโบราณเชื่อกนั ว่า จายา (Gaia) หรือมารดาแห่งโลก คือ เทพีแห่งพ้ืนพิภพท่ีเราได้อาศยั พกั พิง ซ่ึงเป็ นผูใ้ ห้กาเนิดเทพยูเรนัส (Uranus) แห่งทอ้ งฟ้ า และเทพเนปจูน (Neptune) แห่งทอ้ งทะเลสาหรับผนู้ บั ถือศาสนาพราหมณ์และชาวไทยซ่ึงรับวฒั นาธรรมมาจากศาสนาพราหมณ์ เช่ือว่าเทพแห่งพ้ืนพิภพน้ีคือ พระแม่ธรณี ผูป้ กปักรักษาและให้ความร่วมเยน็ แก่มนุษย์ท้ังปวง เป็ นที่น่าสังเกตว่าท้ังสองวฒั นธรรมท่ีมาจากร า ก เ ห ง้ า ต่ า ง กั น ก ลั บ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น เ ร่ื อ ง เ ท พ ข อ ง โ ล ก ค ล้ า ย ค ลึ ง กั น โลกเป็นดาวเคราะหท์ ี่ห่างดวงอาทิตยอ์ อกมาเป็นอนั ดบั ท่ี 3 ในระบบสุริยะ ที่ระยะห่างน้ีมีความเหมาะสมหลายประการ เช่น บรรยากาศ น้า ผืนดิน และพลงั งาน ซ่ึงเอ้ือให้เกิดการวิวฒั นาการของสสารข้ึนจนถึงระดบั ท่ีซบั ซอ้ นมาก กล่าวคือ มีการวิวฒั นาการจากสารเคมีและโมเลกลุ ซ่ึงไม่มีชีวติ เกิดเป็นสสาร อนั มีชีวติ จิตใจและมีความคิดเชิงตรรกะท่ีซบั ซอ้ นยง่ิ พ้นื ผวิ โลก 71% ปกคลุมดว้ ยน้าท้งั ในรูปของมหาสมุทร หว้ ย หนอง คลอง บึง ต่าง ๆ และอีก 29% ท่ีเหลือคือแผน่ ดินท่ีมนุษยแ์ ละส่ิงมีชีวติ ส่วนใหญ่อยอู่ าศยั (ในแง่ของความหลากหลายท า ง ชี ว ภ า พ ) ผวิ ของโลกมีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวทิ ยาหลากหลายรูปแบบที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์ทุกดวงในระบบสุริยะ ทงั่ การเล่ือนตวั ของเปลือกโลก การกดั เซาะของน้า ลม และน้าแขง็ การระเบิดของภูเขาไฟ แผ่นดินไหว ฯลฯ ทาใหผ้ วิ โลกส่วนใหญ่ใหม่มาก และมีการเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอด บนผิวโลกจึงพบหลุมอุกกาบาตนอ้ ยกว่าผวิ ของดาวเคราะห์ดวงอ่ืน ๆ รวมท้งั ดวงจนั ทร์มาก บริเวณใกลผ้ วิ โลกมีบรรยากาศท่ีหนาแน่นมาก บรรยากาศน้ีประกอบดว้ ยก๊าซไนโตรเจนเป็ นส่วนใหญ่ มีก๊าซออกซิเจนเป็นส่วนผสมประมาณ 20% และก๊าซอื่น ๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า อาร์กอน ฯลฯ เจือปนอย่เู ล็กนอ้ ย ท่ีระดบั สูงข้ึนไปบรรยากาศของโลกเบาบางลงอยา่ งรวดเร็ว ที่ความสูงประมาณ 15,000 เมตร จากระดบั น้าทะเลความดนั บรรยากาศของโลกเหลืออย่เู พียง 10% ของความดนั ที่ผิวโลก ในขณะที่สัดส่วนของกา๊ ซองคป์ ระกอบไม่เปล่ียนแปลงไปมากนกั (ไม่รวมถึงไอน้า ซ่ึงมีอยหู่ นาแน่นเฉพาะบริเวณผิวโลกเท่าน้นั ) และที่ความสูง 30,000 เมตร บรรยากาศของโลกจะมีความดนั เหลืออยเู่ พียง 1 ใน1,000 ของความดนั ท่ีผิวโลกเท่าน้นั ยง่ิ สูงจากผิวโลกข้ึนไปบรรยากาศกย็ ง่ิ เบาบางลงเร่ือย ๆ จนจางหายไปในความวา่ งเปล่าของอวกาศที่ความสูงประมาณ 500 กิโลเมตร เหนือผวิ โลก ดวงจนั ทร์ (The Moon) เป็ นบริวารตามธรรมชาติ เพียงดวงเดียวของโลก มีขนาด 3,476กิโลเมตร และโคจรอยรู่ อบโลกท่ีระยะห่างเฉล่ีย 384,000 กิโลเมตร ดวงจนั ทร์มีลกั ษณะคลา้ ยกับดาวพุธมากในแง่ของสภาพพ้ืนผิวและบรรยากาศ (เบาบางมากจนเทียบได้กับสภาพสุ ญ ญ า ก า ศ ) ผวิ ของดวงจนั ทร์เตม็ ไปดว้ ยหลุมอุกกาบาตขนาดใหญ่นอ้ ยมากมาย เนื่องจากดวงจนั ทร์ไม่มีบรรยากาศท่ีคอยปกป้ องผวิ จากการชนของอุกกาบาต ไม่วา่ อุกกาบาตท่ีตกลงสู่ผวิ ดวงจนั ทร์จะมีขนาดเลก็ เพียงใดจึงตกลงถึงผวิ ดวงจนั ทร์ไดท้ ้งั หมด ปัจจุบนั โครงสร้างภายในของดวงจนั ทร์เยน็ ตวั ลงเกือบท้งั หมดแลว้ ทาใหด้ วงจนั ทร์เป็นดาวท่ี “ตายแลว้ ในทางธรณีวทิ ยา” (Geologically Dead) เพราะไม่มีปรากฏการณ์ทางธรณีวทิ ยาใด ๆ
เกิดข้ึนบนผิวดวงจนั ทร์อีกแลว้ นอกจากน้ีการท่ีภายในเยน็ ตวั ลงยงั ส่งผลให้ดวงจนั ทร์ไม่มีส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก เ ล ย ที เ ดี ย ว มนุษยส์ ามารถเดินทางไปลงดวงจนั ทร์ไดส้ าเร็จเป็ นคร้ังแรกในวนั ท่ี 20 กรกฎาคม ค.ศ.1969 โดยยานอะพอลโล 11 (Apollp) ของสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี ค.ศ. 1969 – 1972 โครงการอะพอลโลไดส้ ่งยานอวกาศไปลงดวงจนั ทร์อีก 5 ลา โดยแต่ละลามีนักบินอวกาศ 2 คน ที่ลงไปปฏิบตั ิภารกิจบนผวิ ดวงจนั ทร์ ปัจจุบนั จึงมีมนุษยท์ ้งั สิ้น 12 คน ที่ไดไ้ ปเยอื นดวงจนั ทร์ดาวองั คาร ดาวองั คาร (Mars) เป็ นดาวเคราะห์สีแดง ทาใหผ้ คู้ นเช่ือกนั ว่าเป็นเทพแห่งสงครามและการสูร้ บความแขง็ แกร่ง และสัญลกั ษณ์ของเพศชาย ในช่วงปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 มีความเชื่อและขอ้ สันนิษฐานที่ไดร้ ับการยอมรับทวั่ ไปว่าดวงองั คารเป็ นดาวท่ีมีสภาพเอ้ือต่อการกาเนิดและววิ ฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ทรงภูมิปัญญาเช่นเดียวกบั มนุษย์ เพราะดาวองั คารเป็นดาวดวงที่อยู่ถดั จากโลกออกไปในระบบสุริยะท่ีมีขนาดเลก็ กวา่ โลกไปไม่มาก และมีคาบการหมุนรอบตวั เองใกลเ้ คียงกบั โลก ดาวองั คารมีบรรยากาศที่หนาแน่นไม่ถึง 1 ใน 100 ของบรรยากาศโลก แต่ถึงกระน้ันก็ยังมีพายุใหญ่ที่พัดปกคลุมดาวท้ังดวงเกิดข้ึนประปราย
บรรยากาศของดาวองั คารประกอบดว้ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดเ์ ป็ นส่วนใหญ่ จึงสร้างสภาพเรือนกระจกที่ทาให้ผิวดาวร้อนข้ึนประมาณ 5 องศาเซลเซียสจากค่าที่ควรจะเป็ นหากไม่มีบรรยากาศ อย่างไรก็ตาม ช่วงอุณหภูมิของพ้ืนผิวดาวองั คารกย็ งั คงกวา้ งมาก คือ ต้งั แต่ - 133องศาเซลเซียส (140 เคลวนิ ) ที่ข้วั น้าแขง็ ในฤดูหนาวไปจนถึงประมาณ 30 องศาเซลเซียส (303เคลวิน) ท่ีดา้ นกลางวนั ในฤดูร้อน โดยมีอุณหภูมิเฉล่ียอยู่ที่ – 55 องศาเซลเซียส (218 เคลวิน)ภูมิอากาศบนดาวองั คารหนาวเยน็ กว่าโลกเพราะดาวองั คารอยไู่ กลจากดวงอาทิตยม์ ากกวา่ โลกเกือบ 1.5 เท่า จึงไดร้ ับพลงั งานจากดวงอาทิตยเ์ พียง 40% ของพลงั งานที่โลกไดร้ ับ ดาวองั คารมีดวงจนั ทร์บริวารสองดวงชื่อ โฟบสั (Phobos) และดีมอส (Deimos) คน้ พบโดย อะชาฟ ฮอลล์ (Asaph Hall) นกั ดาราศาสตร์แห่งหอดูดาวกองทพั เรือสหรัฐอเมริกา ในปีค.ศ. 1877 ซ่ึงเป็นปี ท่ีดาวองั คารเขา้ ใกลโ้ ลกมากที่สุดคร้ังหน่ึง ดวงจนั ทร์ท้งั สองมีขนาดเลก็ มากจนแทบไม่สามารถสังเกตรายละเอียดพ้ืนผิวจากโลกไดเ้ ลย รูปร่างลกั ษณะที่แทจ้ ริงของดวงจนั ทร์ของดาวองั คารจึงเพิ่งเปิ ดเผยต่อสายตาชาวโลก เม่ือยานไวกิง (Viling) ของสหรัฐอเมริกาบินเฉียดดวงจนั ทร์ท้งั สองและถ่ายภาพส่งกลบั มา ดาวองั คารสังเกตไดง้ ่ายเพราะมีสีออกแดงอยา่ งเห็นไดช้ ดั โดยจะสว่างเป็นพิเศษเม่ือโคจรเขา้ มาใกลโ้ ลก ช่วงเวลาท่ีสงั เกตดาวองั คารไดง้ ่ายที่สุดคือ ช่วงออพโพซิชนั (Opposition) ซ่ึงเป็นช่วงท่ีดาวองั คารอยใู่ กลโ้ ลกมากท่ีสุด แมว้ า่ ระยะห่างระหวา่ งโลกและดาวองั คาร ณ ออกโพซิชนัแต่ละคร้ังก็ไม่คงที่เพราะวงโคจรของดาวองั คารมีความรีพอสมควร แต่ช่วงออพโพซิชนั กย็ งัเป็นช่วงที่สามารถสงั เกตไดด้ ีที่สุดในรอบวงโคจรน้นั ๆ เสมอดาวพฤหัสบดี
ดาวพฤหสั บดี (Jupiter) เป็ นท่ีรู้จกั กนั ในตานานกรีกและโรมนั ในฐานะราชาแห่งเทพเจา้ท้ังปวง ซ่ึงพอ้ งกับการที่ดาวพฤหัสบดีเป็ นดาวเคราะห์ท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ดาวพฤหัสบดีเป็ นดาวเคราะห์ก๊าซ ( Jovian Planet ) ขนาดยกั ษท์ ่ีอย่หู ่างจากดวงอาทิตย์ออกไปเป็นระยะทางประมาณ 5.2 หน่วยดาราศาสตร์ ซ่ึงห่างไกลกวา่ วงโคจรของดาวองั คารกวา่3 เท่า ที่ระยะห่างน้ี พลงั งานจากดวงอาทิตยแ์ ผ่มาถึงนอ้ ยลง ก๊าซและสสารท่ีระเหยง่ายจึงเริ่มรวมตวั ข้ึนได้ ดาวพฤหัสบดีมีปริมาตรที่สามารถบรรจุโลกไวไ้ ดก้ ว่า 1,300 ดวง และมีมวลมากกวา่ สองเท่าของดาวเคราะหอ์ ่ืนๆ ในระบบสุริยะรวมกนั นอกจากดาวพฤหสั บดีจะมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะแลว้ ดาวพฤหสั บดียงั เป็นดาวที่มีดวงจนั ทร์จานวนมากท่ีสุดในบรรดาดาวเคราะห์ท้งั ปวงอีกดว้ ย โดยมีดวงจนั ทร์ท่ีนักดาราศาสตร์รู้จกั แลว้ 61 ดวง ( สิงหาคม ค.ศ. 2003 ) มีขนาดต้งั แต่ 2,631 กิโลเมตร ลงไปจนถึงขนาดเล็กกว่า 1 กิโลเมตร ในจานวนน้ีต้งั ช่ือแลว้ 27 ดวง และท่ีเหลือยงั ไม่มีการต้งั ชื่อ เพราะในปัจจุบนั มีการคน้ พบดวงจนั ทร์ของดาวพฤหสั บดีเพ่ิมข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง การคน้ พบดวงจนั ทร์ดวงใหม่จึงไม่ใช่เรื่องท่ีน่าตื่นเตน้ อีกต่อไป ดวงจันทร์ท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุ ด 4 ดวงแรกของดาวพฤหัสบดี คือ ไอโอ ยุโรปา แกนีมีด และ คลั ลิสโต ซ่ึงคพ้ บโดยกาลิเลโอ กาลิเลอี ( GalileoGalilei ) ในปี ค.ศ. 1610 ที่เขาไดใ้ ชก้ ลอ้ งโทรทรรศน์ส่องศึกษาดวงดาวเป็ นปี แรก กาลิเลโอเฝ้ าศึกษาการเคลื่อนที่ของดวงจนั ทร์ 4 ดวงน้ีอย่างต่อเน่ือง และไดเ้ ห็นวา่ ดวงจนั ทร์ท้งั 4 เคล่ือนท่ีอย่รู อบดาวพฤหัสบดี เป็ นหลกั ฐานที่ยืนยนั ได้ชัดเจนวาโลกไม่ใช่ศูนยก์ ลางของระบบสุริยะเพราะอยา่ งนอ้ ยท่ีสุดกม็ ีดวงจนั ทร์ 4 ดวงที่เคล่ือนที่อยรู่ อบๆดาวพฤหสั บดี ( ในเวลาต่อมา การเผยแพร่ผลการคน้ พบและทฤษฎีซ่ึงขดั ต่อความเช่ือของศาสนจกั รน้ี ไดน้ าคามเดือดร้อนมาสู่กาลิเลโอไปช่ัวชีวิตของเขา ) ดวงจนั ทร์ท้งั 4 น้ีจึงเรียกรวมๆว่า ดวงจนั ทร์กาลิเลียน ( GalileanSatellite ) เพื่อเป็นการใหเ้ กียรติกาลิเลโอในเวลาต่อมา องค์ประกอบหลักของดาวพฤหัสบดีคือ ก๊าซไนโตรเจนและก๊าซฮีเลียม ซ่ึงเป็ นองคป์ ระกอบประมาณ 75% และ 25% โดยมวลตามลาดบั นอกจากก๊าซสองชนิดหลกั แลว้ ยงั มีสารอื่นๆปะปนอยบู่ า้ งแต่มีปริมาณนอ้ ยมาก การศึกษาธาตุองคป์ ระกอบของดาวพฤหสั บดีอยา่ ง
ละเอียดช้ีใหเ้ ห็นว่า ดาวพฤหสั บดีมีปริมาณธาตุองคป์ ระกอบคลา้ ยกบั ดวงอาทิตยม์ าก แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ก๊าซดวงน้ีแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบเลยต้งั แต่รวมตงั ข้ึนเมื่อห ล า ย พั น ปี ม า แ ล้ ว เนื่องจากดาวพฤหสั บดีเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ จึงไม่มีพ้ืนผิวแข็งท่ีชดั เจนดงั เช่นโลกหรือดาวเคราะห์แขง็ อ่ืนๆ แต่เน้ือสารช้นั บนบริเวณผวิ ของดาวค่อยๆ เบาบางลงและหายไปในอวกาศในการศึกษาดาวพฤหสั บดี นกั ดาราศาสตร์จึงใชร้ ะดบั ที่มีความดนั 1 บาร์ ( เท่ากบั ความดนั ที่ผวิโลก ) ของบรรยากาศของดาวพฤหสั บดีเป็นรัศมีของดาว หากใชน้ ิยามน้ี ดาวพฤหสั บดีจะมีรัศมีประมาณ 70,000 กิโลเมตร ท่ีระดบั ผวิ ดาวเป็นแนวยอดเมฆ ( Cloud Top ) ของดาวพฤหสั บดีซ่ึงมีอุณหภมู ิ -148 องศาเซลเซียล ( 125 เคลวนิ ) และความหนาแน่นประมาณ 0.0002 กรัม/ลกู บาศก์เซนติเมตรดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะหท์ ี่อยหู่ ่างจากดวงอาทิตยอ์ อกมาเป็นอนั ดบั ที่ 5 ท่ีระยะทางประมาณ10 เท่าของระยะระหวา่ งโลกและดวงอาทิตย์ หรือ 2 เท่าของขนาดวงโคจรของดาวพฤหสั บดี ท่ีระยะน้ีพลงั งานจากดวงอาทิตยแ์ ผ่มาถึงเพียง 1.1 % ของพลงั งานที่แผ่มาถึงโลกเท่าน้ัน หากสังเกตดาวเสาร์ดว้ ยกลอ้ งโทรทรรศน์ขนาดเล็ก เราจะไดเ้ ห็นวงแหวนของดาวเสาร์ซ่ึงเป็ นที่ยอมรับกนั ในหมู่นกั ดูดาวว่าเป็น วงแหวนที่สวยงามและโดดเด่นท่ีสุดในบรรดาดาวเคราะห์ที่มีว ง แ ห ว น ทุ ก ด ว ง ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ก๊าซท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอนั ดบั สองรองจากดาวพฤหสั บดี โดย
มีขนาดเลก็ กวา่ ดาวพฤหสั บดีประมาณ 1 ใน 5 แต่ถึงกระน้นั กย็ งั มีขนาดใหญ่กว่าโลกกวา่ 9 เท่าละมีปริมาตรที่สามารถบรรจุโลกไวไ้ ดถ้ ึง 763 ดวง องคป์ ระกอบหลกั ของดาวเสาร์ คือ ไนโตรเจน 75% และฮีเลียม 25% และองคป์ ระกอบยอ่ ยต่างๆในอตั ราส่วนท่ีคลา้ ยกบั ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์มีความหนาแน่นเฉล่ียท้งั ดวงต่าสุดในระบบสุริยะ โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ยประมาณ 0.7 กรัม/ลูกบาศกเ์ ซนติเมตรเท่าน้นั นน่ั คือดาวเสาร์จะลอยน้าได้ ( หากเรามีอ่างน้าที่ใหญ่พอสาหรับดาวเสาร์ ) วงแหวนของดาวเสาร์คน้ พบโดยกาลิเลโอ ในปี ค.ศ. 1610 ในเวลาไล่เล่ียกบั การสังเกตดาวศุกร์เส้ียวและดวงจนั ทร์ดาวพฤหัสบดีของเขา กล้องโทรทรรศน์ในสมัยของกาลิเลโอยงั มีประสิทธิภาพไม่ดีนกั กาลิเลโอจึงไม่สามารถมองเห็นวงแหวนแยกออกจากตวั ดาวได้ และเห็นว่ามี หูจบั ต่อมาในปี ค.ศ. 1659 คริสเตียน ฮอยเกนส์ ( Christian Huygens ) นักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ ไดศ้ ึกษาดาวเสาร์ดว้ ยกลอ้ งโทรทรรศน์ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่ากลอ้ งของกาลิเลโอมาก และอธิบายว่าวงแหวนของดาวเสาร์เป็ นวตั ถุรูปแหวนแบนท่ีโคจรอยู่รอบดาวเสาร์นบั วา่ เป็นขอ้ สรุปท่ีดีที่สุดแลว้ ท่ีสามารถสรุปไดโ้ ดยการสังเกตจากโลก แทจ้ ริงวงแหวนของดาวเสาร์บางมาก คือ มีความหนาแน่นเฉล่ียประมาณ 500 เมตร แต่เพราะเศษวตั ถุที่ประกอบเป็ นวงแหวนของดาวเสาร์สามารถสะทอ้ นแสงไดด้ ีและวงแหวนมีความกวา้ งรวมกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตไดจ้ ากโลกแมจ้ ะห่างออกไปกว่า 1,100ลา้ นกิโลเมตร เศษวตั ถุในวงแหวนของดาวเสาร์มีขนาดต่างๆกนั โดยส่วนใหญ่มีขนาด 1-10เซนติเมตร แต่บางส่วนกม็ ีขนาดเทียบไดก้ บั รถยนตห์ รือใหญ่กวา่ น้นั นกั ดาราศาสตร์ประมาณว่าหากรวบรวมเศษวตั ถุในวงแหวนท้งั หมดของดาวเสาร์มารวมเป็ นดวงจนั ทร์ของดาวเสาร์ดวงเดียว ดวงจนั ทร์ดงั กล่าวจะมีเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางเพียง 100 กิโลเมตร เท่าน้นั
ดวงจนั ทร์ของดาวเสาร์ส่วนใหญ่เป็นดาวเคราะห์นอ้ ยที่ถูกดูดจบั มา สงั เกตไดจ้ ากลกั ษณะท่ีบดู เบ้ียวไม่เป็นทรงกลม ดาวเคราะห์และดวงจนั ทร์ที่มีขนาดใหญ่กวา่ 1,000 กิโลเมตร มกั จะมีรูปร่างกลมเนื่องจากมีแรงโนม้ ถ่วงมากพอท่ีจะดึงใหเ้ น้ือสารของดาวเขา้ มาอยใู่ กลก้ นั ได้ รูปทรงท่ีเปิ ดโอกาสใหเ้ น้ือสารของดาวเขา้ มาอยใู่ กลก้ นั ไดม้ ากท่ีสุดกค็ ือทรงกลม ในขณะที่ดาวเคราะห์หรือดาวเคราะห์นอ้ ยที่มีขนาดเลก็ กวา่ 1,000 กิโลเมตร มกั มีแรงโนม้ ถ่วงนอ้ ยเกินจึงไม่สามารถเอาชนะความแขง็ ของวสั ดุของเน้ือสารดาวเพื่อดึงเขา้ มาอยใู่ กลช้ ิดกนั ได้ ทาใหด้ าวเคราะห์นอ้ ยส่วนใหญ่บูดเบ้ียวและไม่มีรูปทรงท่ีชดั เจน ในที่น้ีไดก้ ล่าวถึงรายละเอียดท่ีย่าสนใจของดวงจนั ทร์ขนาดใหญ่ท่ีสุด 5 ดวงของดาวเสาร์เรียงลาดบั ตามขนาดจากใหญ่ไปเลก็ดาวยูเรนัส ดาวยเู รนสั ( Uranus ) เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกที่มีการคน้ พบในสมยั ใหม่ต่างจากดาวพุธดาวศุกร์ ดาวองั คาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ที่เป็ นที่รู้จกั กนั มาต้งั แต่โบราณกาลแลว้ ดาวยเู รนัสคน้ พบโดย วิลเลียม เฮอร์เชล (William Hershel) นกั ดาราศาสตร์สมคั รเล่นชาวเยอรมนัท่ีมาต้งั รกรากในองั กฤษไดใ้ ชก้ ลอ้ ง โทรทรรศน์ขนาด 6.4 นิ้วท่ีเขาประดิษฐ์ข้ึนเองส่องสารวจทอ้ งฟ้ าอยา่ งเป็นระบบ และคน้ พบดาวยเู รนสั ในวนั ท่ี 13 มีนาคม ค.ศ. 1781 ในเบ้ืองตน้ เขาคิดวา่วตั ถุที่เขาพบคือดาวหางดวงหน่ึง แต่หลงั จากการติดตามสังเกตอย่หู ลายสัปดาห์ เฮอร์เชลได้คานวณวงโคจรของวตั ถุท่ีเขาคน้ พบและพบวา่ วตั ถุดงั กล่าวคือดาว เคราะห์ดวงใหม่ที่โคจรรอบดวงอาทิตยไ์ กลจากวงโคจรของดาวเสาร์อกไปถึง 2 เท่า
ดาวยเู รนสั โคจรรอบดวงอาทิตยห์ น่ึงรอบในเวลา 84 ปีของโลก ลกั ษณะการโคจรที่โดดเด่นที่สุดของดาวยเู รนสั คือ แกนของดาวเอียงทามุมกบั ระนาบสุริยะถึง 98 องศา หรือเกินกว่ามุมฉากมาเล็กนอ้ ย ดาวยูเรนัสจึงหมุนรอบตวั เองในลกั ษณะตะแคงขา้ ง ซ่ึงส่งผลใหฤ้ ดูกาลของดาวยเู รนสั ยาวนานมากซีกหน่ึงของดาวจะอยใู่ นฤดูหนาวนาย42 ปี ใ น ข ณ ะ ท่ี อี ก ซี ก ห น่ึ ง อ ยู่ ใ น ฤ ดู ร้ อ น น า น 42 ปี นนั่ คือ ณ บางจุดบนดาวยเู รนสั ดวงอาทิตยจ์ ะไม่ตกเลยในช่วง 42 ปี และทางตรงกนั ขา้ มบางบริเวณก็จะไม่ไดร้ ับแสงอาทิตยเ์ ลยเป็นเวลา 42 ปี เช่นกนั ผลดั กนั เช่นน้ีเรื่อยไป อย่างไรก็ตาม เนื่องจากดาวยเู รนสั อยหู่ ่างจากดวงอาทิตยอ์ อกไปไกลมาก พลงั งานจากดวงอาทิตยจ์ ึงแผไ่ ปถึงดาวยเู รนสั เพียง 0.27% ของพลงั งานท่ีแผ่มาถึงโลกซ่ึงทาให้ “ฤดูหนาว” และ “ฤดูร้อน” บนดาวยเู รนสั มีอุณหภมู ิต่างกนั ประมาณ 2 องศาเซลเซียสเท่าน้นั ดาวยเู รนสั มีวงแหวนเช่นเดียวกบั ดาวเคราะหก์ า๊ ซดวงอื่นๆ วงแหวนของดาวยุเรสัสได้รับการค้นพบในปี ค.ศ. 1977 โดยคณะนักดาราศาสตร์จากมหาวทิ ยาลยั คอร์เนลล์ (Comell University) ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงสังเกตปรากฏการณ์ดาวยเู รนสั เคลื่อนบงั ดาวฤกษด์ วงหน่ึง นกั ดาราศาสตร์พบวา่ ชว่ั ขณะหน่ึงก่อนที่ดาวจะลบั หายไปในขอบของดาวยเู รนสั แสงของดาวมืดหายไปและกลบั สว่างข้ึนใหม่ 9 คร้ัง และการปรากฏมืด ๆสว่าง ๆ ของดาวก็เกิดข้ึนในลกั ษณะเดียวกนั อีกคร้ัง เม่ือดาวยเู รนสั เพ่ิงโคจรผ่านดาวนกั ดาราศาสตร์คณะน้ีจึงสรุปวา่ ดาวยเู รนสั มีวงแหวน 9 วงอยรู่ อบดาว โดยปกติแลว้ จางเกินกวา่ จะสงั เกตไดจ้ ากโลก แต่เม่ือเคล่ือนที่ยงั ดาวจึงเห็นแสงดาวมือไปหลายคร้ังดงั กล่าว ดาวยเู รนสั มีดวงจนั ทร์ที่รู้จกั แลว้ 21 ดวง (สิงหาคม ค.ศ. 2003) มีชื่อเรียกแลว้ ท้งั หมด ในจานวนน้ีมีดวงจนั ทร์ 5 ดวงหลกั ที่มีรัศมีมากกวา่ 200 กิโลเมตรคือ ไททาเนีย (Titania) โอบีรอน(Oberon) อมั เบรียล (Umbriel) แอเรียล (Ariel) และมิแรนดา (Miranda) (เรียงตามขนาดจากใหญ่ไปเล็ก) จากตารางขอ้ มูลดวงจนั ทร์ของดาวยเู รนสั ในภาคผนวก จะเห็นไดช้ ดั ว่าดวงจนั ทร์ที่มี
ขนาดต่ากว่า 1,000 กิโลเมตรมีลกั ษณะบูดเบ้ียวไม่เป็นทรงกลม ซ่ึงสนบั สนุนทฤษฎีการรวมตวัเป็นทรงกลมของดาวเคราะหไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี ดาวเนปจูน ดาวเนปจูนอยโู่ คจรอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ฉล่ีย 4,500 ลา้ นกิโลเมตร หรือประมาณ 30 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เวลา 1 ปี ของดาวเนปจูนหรือระยะเวลาที่ดาวเนปจูนใชใ้ นการโคจรรอบดวงอาทิตยห์ น่ึงรอบยาวถึง 165 ปี ของโลก นนั่ คือต้งั แต่เรารู้จกั ดาวเนปจูนในปีค.ศ. 1848 ดาวเนปจูนยงั โคจรรอบดวงอาทิตยไ์ ม่ครบหน่ึงรอบเสียดว้ ยซ้า ท่ีระยะห่างน้ีแมแ้ ต่แสงจากดวงอาทิตยก์ ย็ งั ตอ้ งใชเ้ วลากวา่ 4 ชวั่ โมง จึงจะเดินทางถึงดาวเนปจูน (ในขณะท่ีใชเ้ วลาเพียง 8 นาที 20 วนิ าที ในการเดินทางมาถึงโลก) ปัจจุบนั มียานอวกาศเพียงลาเดียวท่ีเดินทางไปสารวจดาวเนปจูน คือ ยานวอยเอเจอร์ 2(Voyager 2) ของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงใชเ้ วลาเดินทาง 12 ปี โดยไดส้ ารวจดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์และดาวยเู รนสั ไปตามรายทางก่อนจะไปถึงดาวเนปจูนในเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1989 ดาวเนปจูนเป็ นดาวเคราะห์ก๊าซท่ีมีขนาดเล็กกว่าดาวยเู รนสั เลก็ นอ้ ย คือ มีเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 50,000 กิโลเมตร ดาวเนปจูนมีปริมาตรมากกวา่โลกประมาณ 60 เท่า ในขณะที่มีมวลมากกวา่ โลก 17 เท่า ซ่ึงแสดงว่าลกั ษณะโครงสร้างภายใน
ของดา วเนปจูน น่ า จะ ค ล้า ยกับด า วยูเรนัสม า กกว่า ดา วพ ฤหัสบดี หรื อดา วเสา ร์ บรรยากาศของดาวเนปจูนมีลกั ษณะและปรากฏการณ์หลายประเภทปรากฏใหเ้ ห็นชดั กวา่ดาวยเู รนสั มาก เมื่อคร้ังท่ียานวอยเอเจอร์ 2 บินผา่ นสารวจดาวเนปจูน ยานไดถ้ ่ายภาพพายหุ มุนขนาดใหญ่บนดาวเนปจูน ซ่ึงเป็ นจุดสีเขม้ คลา้ ยกบั จุดแดงใหญ่ของดาวพฤหัสบดีแต่เล็กกว่าประมาณคร่ึงหน่ึงและมีสีน้าเงิน จึงมีชื่อเรียกว่า จุดมืดใหญ่ (The Great Dark Spot) นอกจากน้ียานวอยเอเจอร์ไดพ้ บหมอกที่ปกคลุมอยทู่ ว่ั ท้งั ดาวเนปจนู อีกดว้ ย นกั ดาราศาสตร์ไดพ้ บดาวบริวารสองดวงที่หมุนรอบดาวเนปจูน ดาวดวงหน่ึงมีขนาดเลก็ช่ือว่า Neried ซ่ึงมีเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 300 ไมล์ และหมุนรอบห่างจากดาวเนปจูน3,475,000 ไมล์ ดาวบริวารดวงอื่นๆของดาวเนปจูนคือดาว Triton มีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 2,100 ไมล์เป็ นดาวบริวารที่ใหญ่เป็ นท่ีสี่ ดาว Triton อาจมีบรรยากาศ มนั อาจมีมหาสมุทรมีเธนและไนโตรเจนมนั หมุนรอบดาวเนปจูนโดยห่างจากดาวเนปจูนเป็ นระยะทาง 220,625 ไมล์ ดาวTriton หมุนรอบดาวเนปจูนในทิศทางตรงกนั ขา้ มจากดาวบริวารส่วนใหญ่ มนั ยงั เคลื่อนไหวเขา้ไกลด้ าวเนปจูนในเวลา 10 ลา้ น ถึง 100 ลา้ นปี มนั อาจปะทะกบั ดาวเนปจูนหรือมนั อาจแตกออกเป็นชิ้นเลก็ ๆและก่อตวั เป็นรูปวงแหวนขนาดกวา้ งลอ้ มรอบดาวเนปจูน
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: