คานา โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ : COVID-๑๙) มีการระบาดใน วงกว้าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร ตระหนักถึงความสาคัญในการดูแลนักเรียน จึงได้ให้โรงเรียนสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดทาคู่มือแผนเผชิญเหตุในสถานการณ์การระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ : COVID-๑๙) และให้มีมาตรการในการเปิด ภาคเรียน โรงเรียนบ้านนาสาร จึงได้จัดทาคู่มือแผนเผชิญเหตุช่วงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ : COVID-๑๙) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพ่ือเป็นการป้องกันและควบคุมไม่ให้เกิด การระบาดของโรค และเปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพของโรงเรยี น โรงเรียนบา้ นนาสาร
สารบญั เร่ือง หนา้ บทที่ ๑ ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา ๑ บทท่ี ๒ โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ๘ บทที่ ๓ แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ๑๙ บทที่ ๔ แนวปฏบิ ัติของสถานศึกษา ๒๖ บทที่ ๕ การสรา้ งความร่วมมือจากทุกภาคสว่ น ๓๕ บรรณานุกรม ๔๐ ภาคผนวก ๔๑ คำสั่งคณะกรรมการดำเนนิ งานปอ้ งกัน เฝ้าระวงั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 56 คณะผู้จดั ทำ ๖๒
คูม่ ือแผนเผชิญเหตุและการเฝา้ ระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑- บทท่ี ๑ ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา ขอ้ มูลสถานศกึ ษา ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นนาสาร ตง้ั อยเู่ ลขท่ี 9 ถนนเหมอื งทวด ตาบลนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสไปรษณีย์ 84120 โทรศพั ท์ 0-7734-1044 โทรสาร0-7734-1953 Email : [email protected] Website: www.bss.ac.th Facebook: งานประชาสัมพนั ธ์ โรงเรยี นบ้านนาสาร สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ชุมพร โรงเรียนบ้านาสาร เปิดทาการสอนเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ.2494 ตามหนังสือ แผนกการ ศึกษาธิการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ 1116/2494 ลงวันท่ี 7 มิถุนายน 2494 เปิดทาการสอนต้ังแต่ระดับ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 มเี ขตพน้ื ทบี่ ริการ 4 ตาบล คือ ตาบลนาสาร ตาบลคลอง ปราบ ตาบลเพ่มิ พูนทรพั ย์ หมทู่ ี่ 1, 3, 4, 5 และ 6 และตาบลลาพูน หมู่ท่ี 4 ตราประจาโรงเรียน อักษรย่อ บ.ส. สีประจาโรงเรยี น ชมพู – ฟ้า เพลงประจาโรงเรยี น เพลงมารช์ บา้ นนาสาร คตพิ จน์ ศึกษาดี มวี ินัย ใฝธ่ รรมะ พละเด่น เปน็ การงาน ปรัชญาโรงเรียน สขุ า สงฆฺ สสฺ สามคฺคี ความพร้อมเพรยี ง ความสามคั คแี หง่ หมู่ เป็นสขุ ต้นไมป้ ระจาโรงเรยี น ตน้ ราชพฤกษ์ อตั ลักษณ์ คนดี ศรีนาสาร เอกลักษณ์ มธี รรมะ พละเดน่ เปน็ การงาน โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสุราษฎรธ์ านี
คู่มือแผนเผชญิ เหตุและการเฝ้าระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ -๒- วิสยั ทศั น์ (Vision) โรงเรียนบา้ นนาสาร มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล บนพื้นฐานคุณธรรม บริหารจดั การตามแนวทาง ศาสตร์พระราชา พันธกิจ (Mission) ๑. จดั การศกึ ษาใหป้ ระชากรวยั เรียนในเขตบริการไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาอย่างทัว่ ถงึ และเทา่ เทยี ม ๒. จดั การศกึ ษาให้นักเรยี นมีคุณภาพและมีผลการทดสอบระดับชาติสูงขึน้ ๓. จัดการศกึ ษาให้นักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มที กั ษะชวี ิต ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๔. สง่ เสรมิ และพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รบั การพฒั นาอย่างทว่ั ถงึ และต่อเนือ่ ง เปน็ ครูมืออาชพี ๕. บริหารจัดการเนน้ กระบวนการมีสว่ นร่วม ๖. ส่งเสริมการใช้ส่ือเทคโนโลยีท่ีทนั สมัยเปน็ เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนและการบรหิ าร จัดการอย่างมีประสทิ ธิภาพ เปา้ ประสงค์ (Goal) ๑. จัดการศกึ ษาใหป้ ระชากรวยั เรยี นทกุ คนในเขตบริการได้รับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งทว่ั ถึงและ เท่าเทียม ๒. จดั การศึกษาใหน้ ักเรยี นทุกคนมคี ุณภาพและมผี ลการทดสอบระดับชาติสงู ข้ึน ๓. จัดการศกึ ษาใหน้ ักเรยี นทุกคนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีทักษะชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๔. สง่ เสรมิ และพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้ไดร้ ับการพฒั นาอย่างท่ัวถึงและต่อเนอื่ งเป็น ครมู ืออาชพี ๕. มีระบบบรหิ ารจดั การเนน้ กระบวนการมีสว่ นร่วม ๖. นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการสง่ เสริมในการใชส้ ื่อเทคโนโลยีทท่ี ันสมัยเป็น เครือ่ งมือในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจดั การอย่างมปี ระสิทธภิ าพ กลยทุ ธ์ (Strategy) ๑. เพ่ิมโอกาสใหป้ ระชากรวัยเรียนในเขตบริการไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอย่างทว่ั ถึงและเท่าเทียม ๒. พฒั นานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ๓. ส่งเสริมนักเรยี นใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม มีทกั ษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔. สง่ เสรมิ ครูและบุคลากรทางการศึกษาใหไ้ ด้รับการพฒั นาอย่างทั่วถึงและตอ่ เนื่องเปน็ ครูมืออาชพี ๕. เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการ เน้นกระบวนการมสี ่วนร่วม ๖. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การใช้ส่ือเทคโนโลยีท่ีทนั สมยั เป็นเคร่อื งมือในการจดั การเรียนการสอนของ การบริหารจัดการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชญิ เ แผนภมู โิ ครงสรา้ งการบรหิ ารโรงเรยี นบ้านนาสาร
เหตแุ ละการเฝ้าระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๓- โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชิญเหตุและการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔- รูปถ่าย / ภาพถา่ ย / แผนท่ีโรงเรยี น แผนผงั ของโรงเรยี นบ้านนาสาร 20 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา ภาพถ่ายทางอากาศของแผนผงั โรงเรียนบ้านนาสาร 20 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา โรงเรียนบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
คมู่ ือแผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝ้าระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๕- รูปถ่าย / ภาพถ่าย / แผนทีโ่ รงเรียน แผนผงั ของโรงเรยี นบ้านนาสาร 20 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา และพืน้ ท่ีบรเิ วณนาเตรี่ยะ 8 ไร่ อาเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สุราษฎร์ธานี สงั กัด สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
ค่มู ือแผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๖- รปู ถา่ ย / ภาพถ่าย / แผนทโ่ี รงเรียน โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
คมู่ ือแผนเผชิญเหตแุ ละการเฝา้ ระวังติดตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๗- แผนผังอาคารเรียน ข้อมูลนักเรยี น จานวนนักเรยี นปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ รวม ๑,๗๕๒ คน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๘ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔) ระดบั ช้นั ม.๑ ม.๒ ม.๓ รวม ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม รวม เรยี น ม.ต้น ม.ปลาย ทั้งหมด ชาย ๑๘๔ ๑๕๔ ๑๘๕ ๕๒๓ ๑๐๒ ๘๐ ๗๙ ๒๖๑ ๗๘๔ เพศ หญงิ ๒๐๙ ๑๘๔ ๑๗๙ ๕๗๒ ๑๕๑ ๑๒๘ ๑๑๗ ๓๙๖ ๙๖๘ รวม ๓๙๓ ๓๓๘ ๓๖๔ ๑,๐๙๕ ๒๕๓ ๒๐๘ ๑๙๖ ๖๕๗ ๑,๗๕๒ โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
คูม่ ือแผนเผชิญเหตแุ ละการเฝา้ ระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๘- บทท่ี ๒ โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เกณฑ์การพจิ ารณาความเส่ยี งและการเฝ้าระวงั โรคโควดิ ๑๙ วตั ถุประสงค์ ๑. เพอ่ื จดั ระดับความรุนแรงของการระบาดของโควดิ ๑๙ ๒. เพอื่ นาไปใชใ้ นการกาหนดมาตรการ การป้องกนั ควบคุมโรคระดับประเทศ ๓. เพือ่ ใหจ้ ังหวดั นาไปปรบั ใช้ในระดบั จังหวัด จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ท่ีกาลังดาเนินอยู่อย่าต่อเน่ือง จึงได้มีการกาหนด เกณฑ์การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาด ความเส่ียงและการเฝ้าระวัง โดยจาแนกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดบั ประเทศ ระดับชุมชน และระดบั สถานศกึ ษา มดี งั น้ี ๑. เกณฑก์ ารพิจารณาระดบั ความรนุ แรงของการระบาดของโรคโควิด ๑๙ ระดบั ประเทศ การพิจารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด ๑๙ ระดับประเทศ ควรคานึงถึง ความสาคญั ของคณุ ลกั ษณะ ๓ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑. จานวนผู้ติดเชือ้ รายใหมส่ ะสมต่อสปั ดาห์ ๒. ลกั ษณะของการกระจายของโรคตามจงั หวดั และเขตสุขภาพ ๓. การกระจายของโรคตามลกั ษณะทางระบาดวทิ ยา แต่ละประเด็นมีการจาแนกระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควิด ๑๙ ตามลักษณะสี แบ่งเป็น ๕ สี ได้ แก่ สขี าว เขยี ว เหลือง ส้ม แดง มีรายละเอยี ดคุณลกั ษณะ ดงั นี้ สีขาว (ปลอดภัย มีวัคซีน) หมายถึง ไม่มีผู้ติดเช้ือในประเทศมีผู้ติดเชื้อมาจากต่างประเทศ ผู้ เดินทางมาจากตา่ งประเทศเขา้ สถานทกี่ ักกัน ผ้ตู ิดเชอ้ื เขา้ รกั ษาในโรงพยาบาลท่ีกาหนด สีเขียว (ไม่รุนแรง ไม่มีวัคซีน) หมายถึง มีผู้ติดเชื้อในประเทศ มีผู้ติดเช้ือมาจากต่างประเทศ ผู้ เดนิ ทางมาจากตา่ งประเทศเข้าสถานทกี่ ักกัน ผ้ตู ิดเชอื้ เขา้ รกั ษาในโรงพยาบาลทก่ี าหนด สีเหลือง (รุนแรงน้อย) หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์น้อยกว่า ๓๐๐ รายต่อ สัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน ๑ จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน ๓ เขต การกระจายของโรคตามลกั ษณะทางระบาดวิทยา ระบาดในวงจากดั มไี มเ่ กนิ ๓ กลุม่ กอ้ น (Cluster) สีส้ม (รุนแรงปานกลาง) หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์ ๓๐๐-๙๐๐ ราย ต่อ สัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน ๑ จังหวัดต่อเขต จานวน ๔-๖ เขต หรือ มากกว่า ๑ จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน ๓ เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา ระบาด ในวงจากัด มีมากกวา่ ๓ กล่มุ ก้อน (Cluster) และมีความเช่ือมโยงกนั สีแดง (รุนแรงมาก) หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์มากกว่า ๙๐๐ ราย ต่อ สัปดาห์ ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน ๑ จังหวัดต่อเขต และเกิน ๖ เขต หรือมากกว่า ๑ จังหวัดต่อเขต และเกิน ๓ เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา มีการ ระบาดในวงกวา้ ง หาสาเหตไุ มไ่ ด้ โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
คู่มือแผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝ้าระวงั ตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๙- ๒. เกณฑ์การพจิ ารณาความเสย่ี งและการเฝา้ ระวงั ระดับชมุ ชน จากสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ในพื้นที่ชุมชน กระทรวง สาธารณสุขจึงกาหนดเกณฑ์การพิจารณาความเสี่ยงและการเฝ้าระวังในการประเมินความเส่ียงกรณีเกิดมี ปัจจัยเสี่ยงของคนในครอบครัวในชุมชนหรือหมู่บ้านกับความเช่ือมโยงสถานศึกษา สาหรับให้สถานศึกษาใช้ เป็นมาตรการดาเนินการให้สอดคล้องตามสถานการณ์ จาแนกเป็น ๔ สี ได้แก่ แดง ส้ม เหลือง และเขียว มี ดังนี้ สีแดง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน ๗ วัน คนในครอบครัวสัมผัสใกล้ชิดกับ ผู้ป่วย อาการของคนในครอบครัวป่วยยืนยันโรคโควิด ๑๙ ระดับความเสี่ยงสูงมาก มาตรการดาเนินการ สาหรบั นกั เรยี นตอ้ งเรยี นอยทู่ บ่ี ้าน ๒๘ วัน สว่ นสถานศึกษาถอื ปฏิบตั ิตามมาตรการสงู สดุ อย่างเคร่งครัด สีส้ม หมายถึง กรณีปัจจัยเส่ียงมีผู้ป่วยในชุมชน ใน ๑๔ วัน คนในครอบครัวสัมผัสไม่ใกล้ชิดกับ ผู้ป่วย อาการของคนในครอบครัวรอยืนยันโรคโควิด ๑๙ ระดับความเสี่ยงสูง มาตรการดาเนินการสาหรับ นักเรียนตอ้ งเรียนอยทู่ ่ีบ้าน ๑๔ วนั ส่วนสถานศกึ ษาถือปฏบิ ตั ิตามมาตรการสงู สีเหลือง หมายถึง กรณีมีปัจจัยเสี่ยงมีผู้ป่วยในชุมชนใน ๒๘ วัน คนในครอบครัวไปในพ้ืนท่ี สถานท่ีเสี่ยง หรือมีพฤติกรรมเสี่ยง อาการของคนในครอบครัวป่วยแต่ไม่เป็นโรคโควิด ๑๙ ระดับความเส่ียง ปานกลาง มาตรการดาเนินการสาหรับนักเรียนเรียนอยู่ท่ีบ้าน ๗ วัน ส่วนสถานศึกษาถือปฏิบัติตามมาตรการ พนื้ ฐาน สีเขียว หมายถึง กรณีไม่มีผู้ป่วยในชุมชน ๒๘ วันขึ้นไป คนในครอบครัวไม่มีพฤติกรรมเส่ียง อาการของคนในครอบครัวปกติ ระดับความเส่ียงต่า มาตรการดาเนินการสาหรับนักเรียนไปโรงเรียนได้ ส่วน สถานศกึ ษาถือปฏิบัติตามมาตรการผอ่ นคลาย โรงเรียนบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
คู่มือแผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๐- ๓. เกณฑ์การพิจารณากรอบการปฏิบัติตามตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานการณ์โควิด ๑๙ ในสถานศึกษา การพิจารณากรอบการปฏิบัติตามตารางประสานสอดคล้องในการบริหารสถานศึกษาโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา จาแนกเป็นระดับสี ๕ ระดับสี ได้แก่ ขาว เขียว เหลือง ส้ม และแดง (สอดคล้องกับเกณฑ์การ พจิ ารณาระดับความรุนแรงของการระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ระดับประเทศ) ซ่ึงมีรายละเอียดกรอบการปฏิบัติ ตามระดบั และระดบั การผอ่ นคลายกิจการหรือกิจกรรมทีส่ าคัญ มีดงั นี้ ระดับการบรหิ ารสถานการณ์ : ระดับขาว กรอบการปฏบิ ัติ ๑. สามารถเดนิ ทางข้ามจงั หวัดได้ ๒. ใหจ้ ัดกจิ กรรมรวมกล่มุ ไดแ้ ต่ต้องปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันโรคทีก่ าหนด ๓. ให้ดาเนินกิจการหรือกิจกรรมได้ทุกประเภทตามปกติ ผู้ประกอบการหรือผู้จัดกิจกรรม ตอ้ งมกี ารคดั กรอง ผูใ้ ช้บรกิ ารและตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรการหลกั ได้แก่ ทาความสะอาดพ้ืนผวิ ทม่ี กี ารสมั ผสั บ่อย ๆ การสวมหนา้ กากของเจา้ หน้าที่ พนกั งาน ผใู้ ชบ้ รกิ าร ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรม ให้มจี ุดบรกิ ารลา้ งมือด้วยสบ่หู รอื แอลกอฮอล์เจลหรอื น้ายาฆา่ เชอ้ื โรค ให้มีการควบคุมจานวนผูใ้ ชบ้ รกิ าร มใิ หแ้ ออดั ตวั อยา่ งระดบั การผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมที่สาคัญ โรงเรียนเปิดการเรยี นการสอนทีโ่ รงเรียน ๑๐๐% สนามกฬี ากลางแจ้งเปิดใหม้ ีผชู้ มได้ ๗๐% / ๕๐% (๕๐๐๐) สนามกีฬากลางในรม่ เปดิ ให้มีผู้ชมได้ ๕๐% / ๒๕% (๒๐๐๐ / ๑๐๐๐) ขนสง่ สาธารณะบรรทุกผูโ้ ดยสารได้ ๑๐๐% โรงภาพยนตรเ์ ปดิ ให้มีผู้ชมได้ ๑๐๐% โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตุและการเฝ้าระวังตดิ ตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๑- ระดับการบรหิ ารสถานการณ์ : ระดับสเี ขียว กรอบการปฏบิ ัติ ตามข้อกาหนดฉบบั ที่ ๑๓ ๑. ใหจ้ ัดกจิ กรรมรวมกล่มุ ได้แตต่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการป้องกนั โรคท่ีกาหนด ๒. สามารถเดินทางข้ามจงั หวดั ได้ ๓. ใหด้ าเนินกจิ การหรือกจิ กรรมไดท้ ุกประเภท แตผ่ ้ปู ระกอบการหรือผู้จัดกิจกรรม ต้องมีการคดั กรองผใู้ ชบ้ รกิ าร และต้องปฏิบัตติ ามมาตรการหลกั ได้แก่ - ทาความสะอาดพน้ื ผวิ ทม่ี กี ารสมั ผัสบ่อย ๆ - การสวมหน้ากากของเจา้ หนา้ ท่ี พนักงาน ผใู้ ชบ้ รกิ าร ผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม - ใหม้ จี ดุ บรกิ ารลา้ งมอื ดว้ ยสบู่ หรือแอลกอฮอลเ์ จลหรอื นา้ ยาฆ่าเช้ือโรค - ใหม้ ีการควบคุมจานวนผู้ใช้บรกิ าร มีให้แออัด - ลงทะเบยี นใชง้ าน “ไทยชนะ” และแอปพลิเคชนั ที่รัฐกาหนด ผู้วา่ ราชการจังหวัด/กรุงเทพมหานคร สามารถกาหนดมาตรการเพิม่ เตมิ ได้ ตวั อย่างระดบั การผอ่ นคลายกจิ การ/กจิ กรรมทีส่ าคัญ โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนท่ีโรงเรียน ๑๐๐% สนามกฬี ากลางแจ้งเปดิ ให้มผี ้ชู มได้ ๕๐% / ๒๕% (๓๐๐๐/๒๐๐๐) สนามกีฬากลางในรม่ เปดิ ให้มผี ้ชู มได้ ๒๕% /๑๕% (๑๐๐๐/๕๐๐) ขนสง่ สาธารณะบรรทุกผูโ้ ดยสารได้ ๑๐๐% โรงภาพยนตร์เปิดใหม้ ผี ้ชู มได้ ๗๐% ศบค ที่ ๘/๒๕๖๓ หรือตามที่ คณะกรรมการเฉพาะกิจพจิ ารณาการ ผอ่ นคลายฯ กาหนด โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
คู่มือแผนเผชญิ เหตุและการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๒- กบั นกั เรยี น ระดับการบรหิ ารสถานการณ์ : ระดับเหลือง กรอบการปฏบิ ัติ ตามข้อกาหนดฉบับที่ ๙ ๑. สามารถเดินทางข้ามจงั หวัดได้ ๒. ให้ดาเนินการหรือทากจิ กรรมดา้ นเศรษฐกิจและการดาเนนิ ชวี ติ ตลอดจนดา้ น การออกกาลังกายหรือดแู ลสุขภาพหรือสนั ทนาการ ได้แก่ ผู้ประกอบการ หรอื ผู้ จัดกจิ กรรม ต้องมีการคดั กรองผู้ใช้บริการและต้องปฏบิ ตั ติ ามมาตรการหลัก - ทาความสะอาดพ้นื ผวิ ท่ีมีการสัมผัสบอ่ ย ๆ - การสวมหนา้ กากของเจ้าหน้าท่ี พนักงาน ผู้ใช้บรกิ าร ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม - ใหม้ จี ุดบริการล้างมือด้วยสบู่หรอื แอลกอฮอล์เจลหรือนา้ ยาฆา่ เชื้อโรค - ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างอยา่ งน้อย ๑ เมตร - ใหม้ กี ารควบคมุ จานวนผใู้ ช้บริการ มิให้แออัด - ลงทะเบยี นใช้งาน “ไทยชนะ” และแอปพลเิ คชัน่ ท่รี ฐั กาหนด ผวู้ ่าราชการจังหวัด/กรงุ เทพมหานคร สามารถกาหนดมาตรการเพ่ิมเตมิ ได้ ตวั อย่างระดับการผอ่ นคลายกิจการ/กิจกรรมทส่ี าคญั โรงเรียนเปิดการเรียนการสอนท่ีโรงเรียนได้ แต่ถ้ามีความแออัดให้จัดนักเรียนสลับ สนามกีฬากลางแจ้งเปิดให้มผี ูช้ มได้ ๒๕% /๑๕% (๓๐๐๐/๑๐๐๐) โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
คู่มือแผนเผชญิ เหตุและการเฝา้ ระวังตดิ ตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๓- สนามกีฬากลางในรม่ เปดิ ไมใ่ หม้ ผี ชู้ มได้ ขนส่งสาธารณะทางอากาศและ BTS บรรทกุ ผู้โดยสารได้ ๑๐๐% รถขนส่งสาธารณะบรรทกุ ผโู้ ดยสารได้ ๗๐% โรงภาพยนตร์เปดิ ใหม้ ผี ู้ชมได้ ๕๐% อ่ืนๆ ตามคาส่ัง ศบค ที่ ๓/๒๕๖๓, ๔/๒๕๖๓, ๕/๒๕๖๓ และ ๖/๒๕๖๓ หรอื ตามท่คี ณะกรรมการเฉพาะกจิ พิจารณาการผ่อนคลายฯ กาหนด ระดับการบรหิ ารสถานการณ์ : ระดับส้ม กรอบการปฏบิ ตั ิ ตามขอ้ กาหนด ฉบบั ที่ ๖ ๑. จากัดการเดนิ ทางขา้ มจงั หวดั ๒. ให้ดาเนินการหรือทากิจกรรมบางอย่างได้เฉพาะเพ่ือเป็นการอานวยความสะดวก ประชาชนในการทากิจกรรมด้วยเศรษฐกิจและการดาเนินชีวิตตลอดจนด้านการออก ก า ลั ง ก า ย ห รื อ ดู แ ล สุ ข ภ า พ ห รื อ สั น ท น า ก า ร ที่ ไ ม่ เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด แ ล ะ ผู้ประกอบการ หรือผู้จัดกิจกรรมต้องมีการคัดกรองผู้ใช้บริการและต้องปฏิบัติตาม มาตรการหลกั ไดแ้ ก่ ทาความสะอาดพื้นผวิ ที่มกี ารสมั ผัสบอ่ ย ๆ การสวมหน้ากากของเจ้าหน้าที่ พนักงาน ผ้ใู ชบ้ ริการ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม โรงเรียนบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
คมู่ อื แผนเผชิญเหตแุ ละการเฝา้ ระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ -๑๔- ใหม้ จี ุดบรกิ ารล้างมอื ด้วยสบหู่ รอื แอลกอฮอลเ์ จลหรือน้ายาฆา่ เช้ือโรค ใหม้ ีการเว้นระยะหา่ งอย่างนอ้ ย ๑ เมตร ใหม้ ีการควบคมุ จานวนผู้ใชบ้ ริการ มใิ หแ้ ออัด ลงทะเบยี นใช้งาน “ไทยชนะ” และแอปพลิเคชั่นท่รี ฐั กาหนด ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั /กรงุ เทพมหานคร สามารถกาหนดมาตรการเพิ่มเตมิ ได้ ตัวอย่างระดบั การผ่อนคลายกิจการ/กิจกรรมทีส่ าคัญ สถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอน ออนไลน์และหรือออนแอร์ รา้ นอาหารจาหน่ายอาหารและเครื่องดื่มได้ (เว้นเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ในสถานท่ี ต่าง ๆ ) ปดิ สถานบริการ ผบั บาร์ รา้ นค้าปลกี /ตลาดนดั /ตลาดสด เปิดได้แตต่ อ้ งปฏิบตั ิมาตรการที่กาหนด สนามกีฬา ลานกีฬา ประเภท กลางแจ้ง และเป็นกีฬาท่ีไม่มีการปะทะกัน สวนสาธารณะ เปดิ ทาการได้ อ่ืน ๆ ตามคาส่ัง ศบค ท่ี ๒/๒๕๖๓ หรือ ตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจพิจารณา การผ่อนคลายฯ กาหนด โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
คมู่ ือแผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝ้าระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๕- ระดับการบริหารสถานการณ์ : ระดับแดง กรอบการปฏิบตั ิ ตามขอ้ กาหนดฉบบั ที่ ๑ เนน้ ที่การหา้ มเข้าพ้ืนทเ่ี สยี่ งและการปิดสถานที่เสี่ยงต่อการติดตอ่ โรค ปดิ ชอ่ งทางเขา้ มาในราชอาณาจกั ร เวน้ บคุ คลบางประเภท ห้ามชมุ นมุ ตามขอ้ กาหนดฉบับที่ ๒ และ ๓ ห้ามบุคคลใดทั่วราชอาณาจักรออกนอกเคหะสถาน เว้นบุคคลท่ีมีเหตุ จาเปน็ ตามข้อกาหนดฉบบั ท่ี ๕ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั /กรงุ เทพมหานคร สามารถกาหนดมาตรการเพิ่มเตมิ ได้ ตวั อยา่ งระดับการผอ่ นคลายกจิ การ/กิจกรรมท่สี าคัญ สถานศึกษาจัดการเรยี นการสอน ออนไลน์และหรอื ออนแอร์ ห้ามการเดินทางขา้ มจงั หวัด ยกเวน้ ขนส่งสนิ ค้า ปิดกิจการ/กิจกรรมต่าง ๆ ยกเว้นกิจการท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น ธนาคาร โรงงาน สถานบรกิ ารเช้อื เพลิง บริการส่งสินค้า และอาหารตามสั่ง หรือตามที่คณะกรรมการเฉพาะกิจ พจิ ารณาการผ่อนคลายฯ กาหนด โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
คู่มอื แผนเผชิญเหตแุ ละการเฝ้าระวังติดตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๖- แนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษารองรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ที่มีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกและประเทศ ใกล้เคียง อาทิ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ซ่ึงประเทศไทยมีพ้ืนที่ชายแดนด้านเมียนมากาลังเป็นพ้ืนท่ี วิกฤตทสี่ ุด จานวนผู้ป่วยติดเช้ือสะสมเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นภาวะเส่ียงต่อการติดเชื้อโรคโควิด ๑๙ ใน เขตพ้ืนท่ีของชุมชนและสถานศึกษา อาจส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนั้น สถานศึกษาควรมี แนวปฏิบตั ิในการจัดการเรยี นการสอนตามตารางประสานสอดคล้องตามสถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ของสถานศึกษา จาแนกตามสถานศกึ ษาแตล่ ะประเภท มีดงั นี้ สถานศึกษาประเภทการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๑. กล่มุ สขี าว-สเี ขียว o สถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอนตามปกติ (ครบคน ครบหอ้ ง ครบชนั้ เรียน) o สถานศึกษาท่ีต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีไม่พบผู้ติดเชื้อ ไม่น้อยกว่า ๙๐ วัน (พื้นท่ีสีเขียว) ได้รับการ พิจารณาอนุญาตจากศูนย์ปฏิบตั กิ ารควบคมุ โรคจงั หวดั ให้จัดการเรียนการสอนไดต้ ามปกติ o โรงเรียนมีมาตรการให้นกั เรียน ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และเจ้าหน้าท่ีทุกคนสวมหน้ากาก ผ้าหรือหน้ากากอนามัย มีอุปกรณ์ล้างมือและล้างมือบ่อย ๆ มีการทาความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการหรือโรงฝึกงาน และทาความสะอาดอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอน การฝึก ปฏบิ ัติ กอ่ นและหลังใชง้ านทกุ ครัง้ ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
คู่มือแผนเผชิญเหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๗- ๒. กล่มุ สีเหลือง-สสี ้ม o สถานศึกษาจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน โดยมีการสลับวันเรียนแต่ละช้ันเรียน หรือมี การแบ่งจานวนนักเรียนใหเ้ หมาะสมกับการเว้นระยะหา่ งระหว่างกนั (Social distancing) o มีมาตรการให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และเจ้าหน้าที่ทุกคนสวมหน้ากากผ้าหรือ หน้ากากอนามัย มอี ปุ กรณล์ ้างมือและลา้ งมอื บ่อยๆ o มีการทาความสะอาดหอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั กิ ารหรือโรงฝึกงาน และทาความสะอาดอุปกรณ์ที่ ใช้ในการเรยี นการสอน การฝึกปฎิบัติ ก่อนและหลงั ใช้งานทุกคร้งั ๓. กลมุ่ สีแดง o สถานศึกษาจดั การเรียนการสอนแบบ Online หรอื On air ผู้พทิ กั ษอ์ นามยั โรงเรียน การเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ในสภาวะทีย่ ังมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโค โรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) ควรต้องคานึงถึงความเป็นอยขู่ องเดก็ และคณุ ภาพชีวติ ของเด็กทัง้ ด้านโภชนาการ ความปลอดภยั สขุ อนามยั ส่วนบุคคล สุขภาพกาย สุขภาพจิตและการจดั สภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการมสี ขุ ภาพ ดขี องนักเรยี น จึงเห็นควรมีการสรา้ งผู้พิทักษ์อนามยั โรงเรยี นใหป้ ฏบิ ัติหน้าทเี่ ปน็ ท่ีปรึกษาและกากบั ติดตาม การปฏิบตั ติ ามมาตรการของสถานศกึ ษาตามนโยบายทางราชการท่กี าหนด พร้อมรายงานให้บุคลากรทางการ แพทยแ์ ละสาธารณสขุ รบั ทราบ เพอื่ ใหว้ างแผนการชว่ ยเหลอื ตามสถานการณอ์ ยา่ งทันท่วงที ดังนั้น จงึ กาหนดใหม้ บี ทบาทหน้าท่ี ดงั น้ี โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
คมู่ อื แผนเผชิญเหตแุ ละการเฝา้ ระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๑๘- บทบาทหน้าที่ของผพู้ ทิ ักษ์อนามยั โรงเรียน ๑. เปน็ ผ้ใู หค้ าปรกึ ษา แนะนา (Health Coach) การป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร นา ๒๐๑๙ (โควดิ ๑๙) ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน ๒. ร่วมทีมตรวจราชการระดับจังหวัด และการกากับ ติดตามประเมินผลการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ ๑๙) ในสถานศึกษา ๓. เป็นผูป้ ระเมินภายนอกในการเฝ้าระวังการปฏบิ ัตติ ามคูม่ ือการปฏิบตั ิงานสาหรับสถานศึกษาในการ ป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) โดยสุ่มประเมินสถานศึกษา จานวน ๓ แห่งต่อเดือน ตามแบบประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมหลังเปิดภาคเรียนและการ ประเมนิ ตนเองของนักเรียนในการเตรยี มความพร้อมหลงั เปิดเรียนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) จานวน ๑๐ คน ต่อโรงเรยี นและบันทึกรายงานแบบออนไลน์ ๔. เป็นผู้ประเมินภายนอกในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) ในชมุ ชน โดยสุม่ ประเมนิ จานวน ๓ แห่งตอ่ เดือน ตามแบบตรวจประเมินเพื่อการเฝ้าระวัง และป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) ประเภทตลาด (๑ แห่งต่อเดือน) และประเภท รา้ นอาหารหรอื เคร่ืองด่ืม รถเข็น หาบเร่ แผงลอย การเฝา้ ระวงั และป้องกนั การตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โค วิด ๑๙) (๒ แห่งต่อเดือน) พร้อมสุ่มประชาชนท่ีมารับบริการฯ ข้างต้น ให้ประเมินตนเองในการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) จานวน ๑๐ คนต่อแห่ง และบันทึกรายงานแบบ ออนไลน์ โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
คมู่ ือแผนเผชิญเหตแุ ละการเฝ้าระวงั ติดตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๑๙- บทที่ ๓ แผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ในประเทศไทย มีแนวโน้มคล่ีคลายเป็นไปในทางท่ีดีข้ึน แต่สถานการณ์ท่ัวโลกและประเทศใกล้เคียง ยังมีความรุนแรงอย่างต่อเน่ือง ในการเปิดภาคเรียนของ สถานศึกษา ให้มีการเรียนการสอนตามปกติ ๑๐๐% ดังนั้น จึงควรกาหนดให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมการและเตรียมพร้อมรองรับ สถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึน อันเป็นแนวปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ อย่าง เครง่ ครดั ค่มู อื แผนเผชญิ เหตุและการเฝ้าระวงั ติดตามของโรงเรยี น โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
คมู่ อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝ้าระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๒๐- วัตถปุ ระสงค์ของการจัดทาแผนเผชญิ เหตุ - เพอ่ื กาหนดมาตรการในการเตรยี มความพร้อม การป้องกัน ควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณี การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ของโรงเรยี นบ้านนาสาร - เพื่อกาหนดบทบาทหน้าท่ี ความรับผิดชอบของบุคลากรในการเตรียมความพร้อม การป้องกัน ควบคมุ โรค และตอบโต้ ภาวะฉกุ เฉินกรณกี ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ของโรงเรียนบา้ นนาสาร - เพ่ือให้มีการประสานงานระหว่างบุคลากรภายในและภายนอกในการเตรียมความพร้อม การป้องกัน ควบคุมโรค และตอบโต้ ภาวะฉกุ เฉินกรณกี ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ ของโรงเรยี นบา้ นนาสาร - เพอ่ื สรา้ งความมน่ั ใจในการเตรียมความพร้อม การป้องกัน ควบคุมโรค และตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินกรณี การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ ของโรงเรียนบา้ นนาสาร แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ในสถานศึกษา มดี ังน้ี ๑. การปอ้ งกันเชอ้ื โรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จากตา่ งประเทศ o มีครตู ่างประเทศ ต้องรบั การกักกนั ในสถานที่ทร่ี ัฐจดั ให้เป็นเวลา ๑๔ วัน o มนี ักเรยี น นักศึกษาต่างประเทศ/ตา่ งดา้ วท่ีพักอาศยั อยู่ในประเทศไทย ใหจ้ ัดการเรยี นการ สอนตามปกติ สาหรบั นักเรียนนักศึกษาท่ีไม่ไดพ้ ักอาศัยอยู่ในประเทศไทย เม่ือเข้าประเทศ ไทย ตอ้ งรับการกักกันในสถานที่ทร่ี ัฐจัดให้ (State quarantine/Local quarantine) เป็น เวลา ๑๔ วนั ข้อเสนอการพจิ ารณาสทิ ธปิ ระโยชน์สาหรบั นกั เรยี น รหัส G o การไดร้ บั สทิ ธปิ ระกันสังคมหรอื ประกันสุขภาพ o การใช้กองทุนของกระทรวงศึกษาธิการเพอ่ื ซ้ือประกนั สุขภาพใหน้ กั เรยี นรหสั G o การใชร้ ะบบการศึกษาทางไกลแทน การเขา้ มาศึกษาในประเทศไทย o ดา่ นชายแดนทางเขา้ และ Qrganizational Quarantine o ประกนั ภยั โควิด ๑๙ ระยะเวลา ๑ ปี ๒. การป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ ภายในประเทศ o มศี นู ย์เฉพาะกจิ การจดั การศึกษาทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด ๑๙ o พฒั นาระบบสารสนเทศเพ่อื การบริหารในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ o เปดิ ศนู ย์รับฟังความคิดเห็นเก่ียวกบั การจัดการศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคโควิด ๑๙ o จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
คมู่ ือแผนเผชิญเหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๑- o จัดทาแพลตฟอรม์ การเรียนรู้ ชุดโปรแกรม และแพลตฟอร์มการเรยี นรู้ครบวงจร o จัดทาแนวทางการบรหิ ารจัดการสาหรบั โรงเรยี นเพ่ือป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคโควดิ ๑๙ o แผนการเตรยี มการรองรับนักเรียนจากต่างประเทศ ท่ีกลับเข้ามาเรียนในประเทศไทยของ สถานศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ o แนวทางรับมือตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ กรณีการระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ในสถานศกึ ษา ๓. การเฝ้าระวงั และการสอบสวนโรค o คดั กรองนกั เรยี น ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากรและผูเ้ กย่ี วขอ้ ง มกี ารสวมหน้ากาก การลา้ งมือ การ เว้นระยะห่าง การทาความสะอาด (ห้องเรยี น ห้องปฏิบตั ิการ โรงฝกึ งาน อาคารเรยี น โรง อาหาร โรงนอน พ้นื ที่สว่ นกลาง) และลดความแออัด o มีแนวปฏบิ ัติสาหรับผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษาในการดาเนินการเกย่ี วกบั โรคโค วิด ๑๙ เชน่ จัดทาแนวทางการบรหิ ารจัดการสาหรับโรงเรยี นเพ่ือป้องกนั และควบคุมการ แพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ มาตรการคัดกรองสุขภาพดา้ นสาธารณสุข การดาเนนิ การเมอื่ มกี ล่มุ เส่ยี งหรือผปู้ ่วยยืนยันในสถานศกึ ษา o การปดิ สถานศึกษาทีเ่ กิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศึกษา o รายงานการประเมินสถานการณ์ผลการดาเนนิ งาน ปญั หาอุปสรรค และให้ขอ้ เสนอแนะแก่ หนว่ ยงาน ตน้ สังกัด และคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดับจังหวดั เพอื่ การตัดสินใจ ๔. การสร้างความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วน o มศี นู ย์ประสานงานและติดตามขอ้ มลู ระหว่างสถานศึกษาและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ o สถานศกึ ษาจบั คูโ่ รงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลในความรว่ มมือป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ o สถานศกึ ษาแต่งตง้ั คณะกรรมการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ประกอบดว้ ย เจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ เจา้ หน้าท่ีองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ฝา่ ยปกครอง คณะกรรมการ สถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
คู่มอื แผนเผชญิ เหตุและการเฝ้าระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๒- แนวปฏิบตั สิ าหรบั สถานศึกษาในการเปดิ ภาคเรียนใหน้ กั เรียนมาเรียนในห้องเรยี น หรือ On site ๑๐๐% มีดงั น้ี ๑. ให้มกี ารจัดการเรียนการสอนไดป้ กติ On site ๒. การจดั ห้องเรียนสามารถจดั ไดต้ ามจานวนนักเรียนปกติ โดยจดั ระยะห่างให้มากทีส่ ุดเท่าทจ่ี ะทา ได้ ๓. กรณีหอ้ งเรยี นเปน็ ห้องแอร์ ใหเ้ ปิดประตู หน้าตา่ งชว่ งพักเท่ียง หรอื ช่วงทีไ่ ม่มกี ารเรยี นการสอน ในหอ้ งนัน้ ๔. มาตรการเสรมิ ต้องเขม้ ขน้ ดังน้ี o การคัดกรอง แยกผปู้ ่วย สง่ รักษา o การสวมหน้ากากอนามยั ลา้ งมอื บ่อยๆ ลดการจับกลุ่มพดู คุยกันโดยไมจ่ าเป็น o ลดกจิ กรรมร่วมกันหลายห้อง o กรณี มกี ารเดินเรยี นให้ทาความสะอาดพ้นื ผิวโตะ๊ เก้าอ้ี หรืออุปกรณท์ ่ีใช้รว่ มกันหลังจบการ เรยี นการสอนทุกคาบ o ทกุ ห้องเรยี นให้ทาความสะอาดพน้ื ผวิ โต๊ะ เกา้ อ้ีหรอื อุปกรณ์ทใ่ี ช้ร่วมกันทกุ สองชัว่ โมง ๕. ใหม้ กี ารบนั ทึกการปว่ ยด้วยโรคทางเดนิ หายใจ การสง่ ต่อตรวจหาโควดิ ๑๙ และสรปุ ผลการตรวจ ทกุ สัปดาห์สง่ ต้นสังกัด กรณีมีเดก็ ป่วยหรอื ขาดเรียนมากกว่าปกติใหป้ ระสาน สานกั งาน สาธารณสุขอาเภอ หรือจงั หวดั ในพ้นื ที่ ๖. ใหม้ ีการดาเนินการผอ่ นคลายมาตรการ กากบั โดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาและหนว่ ยงาน สาธารณสุขในพ้ืนท่ี ๗. การปรับมาตรการให้พิจารณาตามสถานการณก์ ารระบาดและข้อมลู ทมี่ ีอยใู่ นขณะนัน้ เป็นระยะ ๆ โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
คมู่ ือแผนเผชญิ เหตุและการเฝ้าระวงั ตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๓- กระบวนการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ในสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ที่กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกันจัดแนวทางเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา โดยผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านนาสาร ได้เดินทางมาทากิจกรรมใน สถานศึกษา โดยเฉล่ียวันละ ๘ ชั่วโมงต่อวัน อาจมีความเส่ียงในการติดเชื้อในกลุ่มเพื่อนและเมื่อนักเรียนกลับ บา้ น อาจมกี ารแพร่กระจายเช้อื ไปสคู่ นในครอบครัว ดงั นัน้ โรงเรียนบา้ นนาสารจงึ ตระหนักเห็นความสาคัญของ การดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน จึงได้กาหนดรูปแบบ แนวทางและมาตรการป้องกัน แผนเผชิญเหตุ เตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพ่ือให้พร้อมที่จะเปิดภาค เรียนและเป็นคู่มือในการปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยเน้นให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และเอื้อต่อการปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ เพื่อให้ทกุ คนสามารถใช้ชีวติ ได้อย่างปลอดภยั ตามที่สถานศึกษาดาเนินการประเมินตนเอง โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พื้นฐานตามแบบประเมนิ สาหรบั สถานศึกษา ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพ่ือเฝ้าระวังและ ปอ้ งกัน การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยโรงเรียนบ้านนาสารอยู่ในระดับ “สเี ขียว” หมายถึง โรงเรียนสามารถเปิดเรยี นได้ ในชว่ งแรก โรงเรยี นบา้ นนาสารไดด้ าเนนิ การประชาสมั พันธข์ อความร่วมมอื ผา่ นชอ่ งทาง ประชาสมั พนั ธ์ของโรงเรียน โดยโรงเรียนบ้านนาสารดาเนนิ การตามมาตรการ ๖ มาตรการ โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๔- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๕- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
คมู่ ือแผนเผชิญเหตแุ ละการเฝ้าระวังติดตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๖- บทท่ี ๔ แนวปฏบิ ตั ิของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านนาสาร มีแนวปฏิบตั สิ าหรับสถานศกึ ษากรณีสงสยั ว่านกั เรียนหรอื บุคลากรมีภาวะเสย่ี ง ต่อการตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มีการจัดทาคู่มือแผนเผชิญเหตุและการเฝ้าระวังติดตาม แนว ทางการปฏบิ ัตเิ พอ่ื รบั มือกับการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ระลอกใหม่ แนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาระหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น ผทู้ ี่มีไขห้ รือวดั อณุ หภูมิรา่ งกาย ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่าง ใดอยา่ งหนง่ึ อาทิ มีน้ามกู เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่อื ยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดหับ ผู้ป่วยยืนยัน ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการ ถือว่า เป็นผู้สัมผัสความเสี่ยง ต้องรับแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดาเนนิ การตอ่ ไป หลักปฏบิ ัตใิ นการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควคิ 19 ในสถานศกึ ษา 1) คัดกรอง (Screening) ผูท้ ี่เขา้ มาในสถานศึกษาทุกคนต้องได้รบั การัดกรองวดั อุณหภูมริ ่างกาย 2) สวมหน้ากาก (Mask) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั 3) ลา้ งมือ (Hand Washing) ล้างมอื บ่อย ๆ ดว้ ยสบู่และน้า นานอยา่ งน้อย 20 วนิ าที หรอื ใช้เจล แอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณจดุ เส่ยี งรวมท้ังไม่ใช้มือสมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดย ไม่จาเปน็ 4) เว้นระยะหา่ ง (Social Distancing) เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 – 2 เมตร รวมถงึ การจดั เว้นระยะห่างของสถานที่ 5) ทาความสะอาด (Cleaning) เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถา่ ยเท ทาความสะอาดห้องเรียน และ บรเิ วณตา่ ง ๆ โดยเชด็ ทาความสะอาดพื้นผิวสมั ผสั ของโต๊ะ เกา้ อ้ี และวัสดุอุปกรณ์ ก่อนเขา้ เรียน ชว่ งพกั เทย่ี ง และหลกั เลิกเรยี นทึกวนั รวมถงึ จดั ใหม้ ีถึงขยะมูลฝอยแบบมฝี าปิดและรวบรวมขยะ ออกจากห้องเรยี น เพ่ือนาไปกาจัดทุกวนั 6) ลดแออัด (Reducing) ลดระยะเวลาทากิจกรรมใหส้ ัน้ ลงเท่าท่ีจาเป็นหรอื เหล่อื มเวลาทากิจกรรม และหลีกเหลยี่ งการทากจิ กรรมรวมตัวกกั เป็นกลุ่มลดแออัด โรงเรียนบา้ นนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๗- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๘- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๒๙- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
คู่มือแผนเผชิญเหตุและการเฝ้าระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๓๐- มาตรการควบคุมผู้มีความเส่ยี งต่อการติดเชอ้ื COVID-๑๙ อย.นอ้ ยควบคุมโรค นักเรยี นตอบ Google Form COVID @ School เกบ็ ข้อมูลรายวนั ปอ้ งกนั ความเส่ียง นกั เรียน / ระดบั ช้ันเรยี น เกบ็ ข้อมูล ผู้ปกครอง / ผู้พักอาศัยรว่ มกัน ครแู กนนาควบคุมโรค ครตู อบ Google Form COVID @ School เก็บข้อมลู รายวัน ป้องกนั ความเสยี่ ง นกั เรยี น /ครู ระดับชน้ั เรยี น เก็บข้อมลู / ผพู้ กั อาศยั อยู่ร่วมกนั รองฯ /ครผู ูป้ ฏิบตั หิ นา้ ท่ี COVID Manager รวบรวม จดั ทมี วิเคราะหค์ น้ หา ผู้สัมผสั ใกล้ชดิ ผู้มคี วามเสี่ยง ขอ้ มูลระดับโรงเรยี น รายวนั / สัปดาห์ แจ้ง ภายในโรงเรยี น และ TimeLine เพ่ิมเติม ผูอ้ านวยการ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ประเมนิ สถานการณ์ร่วมกบั เครอื ข่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ศบค. โรงเรยี น และ เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ เปิด / ปดิ การเรียนการสอน On-siteตามคาแนะนาขอ ศบค โรงเรียน และเจา้ หน้าที่สาธารณสุข รายงานตน้ สังกดั / ประชาสัมพนั ธ์ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง โรงเรียนบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๓๑- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๓๒- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๓๓- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๓๔- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
คูม่ อื แผนเผชญิ เหตุและการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ -๓๕- บทที่ ๕ การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โรงเรยี นบา้ นนาสารเล็งเห็นความสาคญั ของการสร้างความรว่ มมือในการดแู ลนักเรียน คณะครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา ชว่ งของการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) ที่มีการแพรร่ ะบาด อยา่ งต่อเนือ่ ง จึงมีการสรา้ งความรว่ มมือจากทกุ ภาคสว่ น โดยมีการสารวจความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน ในการประเมนิ สถานการณ์กอ่ นเปิดเรียนปกติ (On-site) เพื่อเปน็ ข้อมูลประกอบการพจิ ารณาการเปดิ เรียน มี การเชิญภาคเี ครือข่ายเข้าร่วมประชุมก่อนการพิจารณาประกาศรปู แบบการเปดิ เรยี น ทุก ๗ วนั ประกอบด้วย ฝา่ ยบรหิ ารของโรงเรยี น ตัวแทนคณะกรรมการสถานศกึ ษาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตัวแทนผปู้ กครองระดับชนั้ ละ ๑ คน ตัวแทนสมาคมผปู้ กครองและครู ตวั แทนสมาคมศิษย์เก่า ตัวแทนสาธารณสุขอาเภอ ตัวแทนสภา นักเรียน โดยกาหนดให้มีการประชุมทกุ วนั ศุกรข์ องแต่ละสัปดาห์ เวลา ๑๓.๐๐ น. เพอ่ื ร่วมประเมิน สถานการณป์ ระกอบการจดั ทาประกาศของโรงเรียนตอ่ ไป โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
คู่มอื แผนเผชิญเหตแุ ละการเฝ้าระวังตดิ ตาม การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ -๓๖- โรงเรียนมีการประสานความร่วมมือในการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) โดยประสานความร่วมมือผ่านสาธารณสุขอาเภอบ้านนาสาร และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้ผู้บริหาร คณะ ครูและบุคลากรทางการศึกษา บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน เช่น แม่ค้าจาหน่ายอาหารของโรงอาหาร แม่ค้าร้านสวัสดิการของโรงเรียน เป็นต้น ได้รับการฉีดวัคซีน ๑๐๐% ณ โรงพยาบาลบ้านนาสาร อาเภอ บา้ นนาสาร จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ผู้บรหิ าร คณะครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษารับการฉีดวัคซนี เขม็ ท่ี ๑ ผู้บรหิ าร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาการรับการฉีดวคั ซีนเขม็ ท่ี ๒ โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
คู่มอื แผนเผชิญเหตแุ ละการเฝ้าระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๓๗- โรงเรียนบ้านนาสารมีการประสานความร่วมมือกับสาธารณสุขของเทศบาลเมืองนาสารในการส่ง เจ้าหนา้ ท่มี าฉดี พ่นฆา่ เชื้อป้องกันโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) ในบรเิ วณโรงเรยี น การประสานความรว่ มมือกับสาธารณสุขเทศบาลเมอื งนาสารในการฉดี พ่นฆา่ เช้ือ โรงเรียนบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
คมู่ ือแผนเผชญิ เหตุและการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ -๓๘- โรงเรียนบา้ นนาสาร โดยนายสมชาย กิจคาม ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านนาสาร ได้เข้าร่วมการประชุม หัวหน้าส่วนราชการเป็นประจาทุกเดือน โดยมีหัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารสถานศึกษา ฯลฯ เข้าร่วมประชุม ร่วมประเมินสถานการณ์และร่วมรับทราบนโยบายของอาเภอบ้าน นาสารในการป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) การป้องกันดร. กัมปนาท กลน่ิ เสาวคนธ์ นายอาเภอบา้ นนาสาร เปน็ ประธานในการประชมุ หัวหนา้ ส่วนราชการ ประจาเดือน ผู้บรหิ ารรว่ มประชุมหัวหน้าส่วนราชการประจาเดือน โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตุและการเฝา้ ระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๓๙- โรงเรียนบ้านนาสารร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทาแผนเผชิญเหตุฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา COVID-๑๙ ร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร สาธารณสุขจังหวัดชุมพร และมีการประชุมกลุ่มย่อยของโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต ๓ เพ่ือร่วมจัดทาแนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษารองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-๑๙ การประสานความรว่ มมือรว่ มกับสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร และ โรงเรียนในสหวิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านีเขต ๓ โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
ค่มู ือแผนเผชญิ เหตุและการเฝา้ ระวังติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า ๒๐๑๙ -๔๐- บรรณานกุ รม กรมอนามัย สาธารณสขุ ,กระทรวง. คู่มือการเฝ้าระวังติดตามและแผนเผชิญเหตรุ องรบั การแพรร่ ะบาดของโรค โควดิ ๑๙ ในสถานศึกษา.สานักงานกจิ การโรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกษา ในพระบรม ราชูปถัมภ์, กรงุ เทพ,๒๕๖๓. กองทนุ เพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา องค์การทนุ เพ่อื เด็กแหง่ สหประชาชาติ ประจาประเทศไทย (UNICEF) โดยงบประมาณสนับสนุนจากรฐั บาลญป่ี นุ่ . คมู่ ือการปฏบิ ัติสาหรบั สถานศึกษาในการ ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -๑๙ (COVID-๑๙). พมิ พ์คร้ังที่ ๓. บรษิ ทั พงษ์วรนิ การพมิ พ์ จากดั , สมุทรปราการ, ๒๕๖๓. โรงเรียนบ้านนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชิญเหตแุ ละการเฝ้าระวังตดิ ตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔๑- ภาคผนวก โรงเรยี นบ้านนาสาร อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔๒- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔๓- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔๔- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔๕- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ค่มู อื แผนเผชญิ เหตแุ ละการเฝา้ ระวงั ติดตาม การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ -๔๖- โรงเรยี นบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาสาร จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
Search