ทฤษฎรี ว่ มสมยั
ทฤษฎกี ารสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructivism) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีดีเกิดจากการสร้างพลงั ความรู้ในตนเองดว้ ยตนเองของผเู้ รียน ผเู้ รียนที่มี โอกาสได้ สร้างความคิดและนา ความคิดของตนเองไปสร้างชิ้นงานโดยอาศยั ส่ือและเทคโนโลยที ี่ เหมาะสม จะไดเ้ ห็น ความคิดน้นั เป็นรูปธรรม การสร้างความรู้ในตนเองของผเู้ รียน เกิดข้ึนเม่ือผเู้ รียน สร้างส่ิงใดส่ิงหน่ึงข้ึนมา ความรู้ท่ีผเู้ รียนสร้างข้ึน จะเป็นความรู้ท่ีมีความหมายต่อผเู้ รียน มีความคงทน ไม่ลืมง่ายและสามารถถา่ ยทอดใหค้ นอื่นเขา้ ใจความคิดของตนเองไดด้ ีความรู้ที่ผเู้ รียนสร้างข้ึน จะเป็น ฐานใหผ้ เู้ รียน สามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปอยา่ งไม่สิ้นสุด
ตวั อย่างงานวจิ ัยทใี่ ช้ทฤษฎกี ารสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ช่ืองานวจิ ัย การใชว้ ิธีสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคชน่ั นิสซ่ึมเพอ่ื ส่งเสริมความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษของนกั เรียนสาขาวชิ าการท่องเที่ยว ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปัญหาวจิ ยั การวจิ ยั ในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาความสามารถทางการพูดภาษาองั กฤษของนกั เรียนที่ไดร้ ับ การ สอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคชน่ั นิสซ่ึมกลุม่ ตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ีเป็นนกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั ร วชิ าชีพสาขาวชิ าการท่องเท่ียว ช้นั ปี ที่ 3 โรงเรียนลาปางพาณิชยการและเทคโนโลยใี น ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 จานวน 20 คน
ทฤษฎที ใี่ ช้ ทฤษฎีการสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง จากการศึกษาแนวทางจดั การเรียนรู้ตามทฤษฎี มีแนวทางการจดั การเรียนรู้ดงั น้ี 1. เนน้ ความสาคญั ของกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียนและความสาคญั ของความรู้เดิม 2. เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสว่เปน็นทผ่ี แ1ู้ สดงความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง และสามารถสร้างความรู้ดว้ ยตนเองได้ 3. การเรียนรู้ตอ้ งใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิจริง คน้ หาความรู้ดว้ ยตนเองจนคน้ พบความรู้และรู้จกั สิ่งท่ีคน้ พบ เรียนรู้วเิ คราะห์ต่อจนรู้จริงวา่ ลึกๆ แลว้ ส่ิงน้นั คืออะไร มีความสาคญั มากนอ้ ยเพยี งไร และศึกษา คน้ ควา้ ใหล้ ึกซ้ึงลง ไป การเรียนการสอนท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีการเรียนรู้จากการสร้างส่ิงที่มีความหมายกบั ตนเอง
กระบวนการวจิ ัย ตวั แปรทใี่ ช้ในการวจิ ยั ตวั แปรตน้ คือ การสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคชนั่ นิสซึม ตวั แปรตาม คือ ความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษและความคิดเห็นของนกั เรียน ส่วนที่ 2 ข้นั ตอนการวจิ ัย 1. แผนการจดั การเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคชนั่ นิสซึม วชิ าภาษาองั กฤษอุตสาหกรรมท่องเท่ียว จานวน 1 แผน ระยะเวลา 8 สปั ดาห์ รวมท้งั หมด 16 คาบ ซ่ึงมีข้นั ตอนการสอน 6 ข้นั ตอน ดงั ต่อไปน้ี ข้นั ตอนที่ 1 ข้นั กระตุน้ ความรู้เดิม เป็นข้นั ท่ีผเู้ รียนแสดงออกถึงความรู้ความเขา้ ใจเดิมท่ีมีอยู่ เกี่ยวกบั เร่ืองที่จะเรียน ใน ข้นั ตอนน้ีผสู้ อนจะไดท้ ราบองคค์ วามรู้เดิมของนกั เรียน เพราะจะเป็นส่ิงท่ีจะบอก ไดว้ า่ ผเู้ รียนจะมีความสามารถรับรู้ความรู้ใหม่ ไดห้ รือไม่ เพยี งใด ในงานวจิ ยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ไดใ้ หผ้ เู้ รียนแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกบั รูปภาพสถานท่ีท่องเที่ยวโดยใชค้ วามรู้ความ เขา้ ใจที่เขามีอยู่
ข้ันตอนท่ี 2 ข้นั เช่ือมโยงความคิด เป็นการรับและดูดซึมความรู้ใหม่ เขา้ ไปในสมอง ผสู้ อนให้ ความรู้แก่ ผเู้ รียนเพ่อื เป็นความรู้พ้ืนฐานก่อนการลงมือปฏิบตั ิ ใหค้ วามรู้ดา้ นคาศพั ท์ โครงสร้างภาษา และ การพูดนาเสนอ ผสู้ อนเชื่อมโยงความรู้หรือประสบการณ์เดิมของผเู้ รียนเขา้ กบั ส่ิงผเู้ รียนกาลงั จะเรียนรู้และ แสดงเน้ือหาเก่ียวกบั หวั เรื่องเพือ่ ใหน้ กั เรียนมีความรู้หรือประสบการณ์เพอื่ นาไปใชใ้ นการเรียนรู้สิ่งใหม่ ข้ันตอนท่ี 3 ข้นั วางแผนการเรียนรู้ เป็นข้นั ที่ใหผ้ เู้ รียนปรับความรู้ใหม่ท่ีดูดซึมเขา้ ไปกบั ความรู้ เก่าโดย ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทากิจกรรมการอภิปรายในกลุ่มและแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดกนั โดยการระดม สมอง วาง แผนการปฏิบตั ิการเรียนรู้ การรวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั วดั เพื่อเตรียมบรรยายเป็นภาษาองั กฤษแก่ นกั ท่องเท่ียว ข้ันตอนที่ 4 ข้นั ปฏิบตั ิการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ข้นั ตอนยอ่ ย ไดแ้ ก่ ข้นั รวบรวมข้อมูล โดย นกั เรียนคน้ ควา้ หาขอ้ มูลจากส่ือท่ีหลากหลายหลงั จากน้นั กจ็ ะนาขอ้ มูลที่ไดม้ า กลน่ั กรอง การจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนมีโอกาสเรียนรู้จากผเู้ ชี่ยวชาญและการไปเยยี่ มชมสถานท่ีจริง เพอื่ ให้ นกั เรียนไดส้ มั ผสั และเขา้ ใจกบั ส่ิงตา่ งๆไดข้ อ้ มูลส่วนท่ีเป็นประโยชน์
ข้นั วเิ คราะห์ วิเคราะห์และสังเคราะห์ใหเ้ ป็นองคค์ วามรู้ที่สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณ์จริง ข้ันทดลอง ผเู้ รียนประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้และฝึ กปฏิบตั ิการพดู บรรยายวดั ที่นกั เรียนเลือกและสนใจเป็นการฝึก ปฏิบตั ิในช้นั เรียนและในข้นั ฝึ กปฏิบตั ิในสถานที่จริง นกั เรียนนาขอ้ มูลท่ีฝึกปฏิบตั ิไปใชก้ บั สถานการณ์จริงโดย การใหข้ อ้ มูลวดั แก่นกั ท่องเท่ียวชาวตา่ งชาติ ณ สถานท่ีท่ีนกั เรียนเลือก ข้นั ตอนท่ี 5 ข้นั แสดงผลการเรียนรู้ นกั เรียนนาเสนอผลการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ตามความถนดั ของ นกั เรียน นกั เรียนไตร่ตรองความรู้ที่ไดร้ ับและการนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง การใหค้ าแนะนากบั กลุ่มที่นาเสนอ ข้นั ตอนท่ี 6 ข้นั ประเมินผลการเรียนรู้ ผเู้ รียน เพอ่ื นร่วมช้นั และครูร่วมประเมินผลการเรียนรู้ สรุป กระบวนการเรียนรู้ การแกไ้ ขปัญหา ความรู้และทกั ษะท่ีไดร้ ับจากการทางาน 2. แบบทดสอบความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษก่อนและหลงั เรียนโดยจะใหน้ กั เรียนพดู บรรยายวดั เป็น ภาษาองั กฤษ ภายในเวลา 5-10 นาที
2. แบบทดสอบความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษก่อนและหลงั เรียนโดยจะใหน้ กั เรียนพดู บรรยายวดั เป็น ภาษาองั กฤษ ภายในเวลา 5-10 นาที 3. แบบสมั ภาษณ์ความคิดเห็นของนกั เรียนตอ่ ความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษหลงั ไดร้ ับการสอนโดยถาม คาถาม และใหน้ กั เรียนพดู แสดงความคิดเห็นตอ่ ความสามารถทางการพูดภาษาองั กฤษของนกั เรียนและความคิดเห็น ตอ่ กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาองั กฤษอุตสาหกรรมท่องเที่ยวท่ีผา่ นมาที่มีตอ่ ความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษของนกั เรียนหลงั ไดร้ ับการสอนตามทฤษฎี ภายในเวลา 5-10 นาที 4.นาแบบทดสอบและแบบสมั ภาษณ์มาทาการวเิ คราะห์ ผลการวจิ ัย 1. นกั เรียนมีความสามารถทางการพดู ภาษาองั กฤษสูงข้ึนหลงั ไดร้ ับการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคชนั่ นิสซ่ึม 2. นกั เรียนมีความคิดเห็นเชิงบวกต่อการเรียนภาษาองั กฤษตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคชนั่ นิสซ่ึม
ทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบร่วมมือ(Theory of Cooperative or Collaborative Learning) ทฤษฎีน้ีคือการเรียนรู้เป็นกลุม่ ยอ่ ยโดยมีสมาชิกกลุ่มท่ีมีความสามารถแตกต่างกนั ประมาณ 3 – 6คน ช่วยกนั เรียนรู้เพอ่ื ไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม โดยผเู้ รียนมีปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั ในลกั ษณะแขง่ ขนั กนั ต่างคนต่าง เรียนและร่วมมือกนั หรือช่วยกนั ในการเรียนรู้การจดั การเรียนการสอนตามทฤษฎีน้ีจะเนน้ ให้ ผเู้ รียนช่วยกนั ใน การเรียนรู้โดยมีกิจกรรมท่ีใหผ้ เู้ รียนมีการพ่งึ พาอาศยั กนั ในการเรียนรู้มีการปรึกษาหารือกนั อยา่ งใกลชิด มีการ สมั พนั ธ์กนั มีการทางานร่วมกนั เป็นกลุม่ มีการวเิ คราะห์กระบวนการของกลุ่มและมีการแบ่งหนา้ ที่รับผดิ ชอบ งานร่วมกนั ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้ควรมีการประเมินท้งั ทางดา้ นปริมาณ และคุณภาพ โดยวธิ ีการท่ี หลากหลายและควรให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการประเมิน และครูควรจดั ใหผ้ เู้ รียนมี เวลาในการวเิ คราะห์การ ทางานกลุม่ และพฤติกรรมของสมาชิกกลุม่ เพอ่ื ใหก้ ลุ่มมีโอกาสท่ีจะปรับปรุงส่วน บกพร่องของกลุ่ม
ตวั อย่างงานวจิ ยั ทใ่ี ช้ทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบร่วมมือ ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของบรูเนอรงานวจิ ยั ทใี่ ช้ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญา(บรุนเนอร์) ช่ือวจิ ัย: การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ เรื่อง คอมพวิ เตอร์เบ้ืองตน้ ของ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ดว้ ยการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือโดยใชเ้ ทคนิค STAD ปัญหาการวิจัย: รายวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ เรื่อง คอมพิวเตอร์เบ้ืองตน้ เป็นเน้ือหาทางดา้ นทฤษฎียงั ไม่มีการ ลงมือปฏิบตั ิหรือใชง้ านเคร่ืองคอมพิวเตอร์จากการสังเกตของครูผสู้ อนพบปัญหาในการจดั การเรียนการสอนวา่ นกั เรียนบางคนไม่มีความต้งั ใจและไม่ใหค้ วามร่วมมือในการเรียนการสอน ชอบคุยกนั หยอกลอ้ กนั เม่ือใหท้ า แบบทดสอบกท็ าไม่ได้ เพราะไม่เขา้ ใจเน้ือหา จึงส่งผลใหก้ ารเกบ็ คะแนนของนกั เรียน มีคะแนนในระดบั ท่ีต่า กวา่ เกณฑ์ ผวู้ จิ ยั จึงสนใจท่ีจะนาการสอนดว้ ย วธิ ีการเรียนแบบกลุม่ ร่วมมือหรือร่วมมือกนั เรียนรู้ เทคนิค Student Team Achievement Division (STAD) มาใชส้ อนในรายวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ เรื่อง คอมพวิ เตอร์เบ้ืองตน้
ทฤษฎที ใ่ี ช้: เทคนิคการแบ่งกลุ่มแบบกลุ่มสัมฤทธ์ิ (Student Teams Achievement Divisions หรือ STAD) คือการ จดั กลุม่ เหมือน TGT แตไ่ ม่มีการแขง่ ขนั โดยใหน้ กั เรียนทึกคนต่าง คนต่างทาขอ้ สอบ แลว้ นาคะแนนพฒั นาการ( คะแนนที่ดีกวา่ เดิมในการสอบคร้ังก่อน ของ แตล่ ะคนมารวมกนั เป็นคะแนนกลุ่ม และมีการใหร้ างวลั กระบวนการวจิ ัย: ผวู้ จิ ยั ไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ ง โดยทาตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึนไปทดสอบก่อนเรียน เพอื่ วดั uความสามารถก่อนการเรียนของนกั เรียน โดยใชเ้ วลาในการสอบ 30 นาทีแบ่งกลุ่มนกั เรียนตาม หลกั การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ (Cooperative Learning) 2. เทคนิค STAD (Student Team Achievement Division) โดยพิจารณาจากผลการทดสอบก่อนเรียนวิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. นาแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีผวู้ ิจยั สร้างข้ึนไปดาเนินการสอนในวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ กบั กลุ่มตวั อยา่ งเป็นเวลา 8 ชวั่ โมง จานวน 4 แผน
-ตวั อยา่ งกิจกรรม คาบที่1
คาบท่ี 2 4. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. นาขอ้ มูลที่ไดม้ าวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ โดยวเิ คราะห์ดว้ ยตนเองและใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป
ผลการวจิ ัย: จากผลการวจิ ยั ท่ีพบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ เร่ือง คอมพิวเตอร์ เบ้ืองตน้ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ท่ีไดร้ ับการสอนดว้ ยวธิ ีแบบกลุม่ ร่วมมือ โดยใชเ้ ทคนิค STAD สูง กวา่ ก่อนเรียนดว้ ยวธิ ีแบบกลุ่มร่วมมือ สมาชิกในกลุ่มจะประกอบดว้ ยนกั เรียนท่ีมีความสามารถ แตกตา่ งกนั คือ เก่ง ปานกลาง และออ่ น ซ่ึงสมาชิก ทุกคนในกลุม่ จะตอ้ งมีส่วนร่วมในการท างานใหป้ ระสบ ความสาเร็จ โดยนกั เรียนแต่ละคนจะตอ้ งพยายามทาความ เขา้ ใจเน้ือหาทุกประเดน็ นกั เรียนท่ีมีความสามารถ ทางการเรียนอยใู่ นระดบั เก่งจะตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลือสมาชิกใน กลุม่ ท่ีมีความสามารถทางการเรียนอ่อนกวา่ ให้ เขา้ ใจดว้ ยการช้ีแจง อธิบาย ยกตวั อยา่ งประกอบ
นอกจากน้ีการสอนดว้ ยวธิ ีแบบกลุม่ ร่วมมือโดยใชเ้ ทคนิค STAD มีวิธีการเสริมแรงโดยการคานวณ คะแนนของนกั เรียนที่มีผลการเรียนดีข้ึน คือเมื่อจบเน้ือหาในแตล่ ะเร่ืองจะตอ้ งทาแบบทดสอบยอ่ ย คะแนนของ นกั เรียนกจ็ ะถูกนามาคิดเป็นคะแนนเฉล่ียของกลุม่ วธิ ีน้ีทาใหน้ กั เรียนในกลุ่มช่วยกนั อธิบายเน้ือหาใหส้ มาชิกในกลุ่มเขา้ ใจใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด และนกั เรียนในทุกระดบั ความสามารถในการ เรียนพยายามท่ีจะทาคะแนนใหไ้ ดส้ ูงสุดเพือ่ ใหค้ ะแนนเฉลี่ยของกลุม่ อยใู่ นเกณฑด์ ี
ทฤษฎกี ารเรียนรู้ด้วยสมอง (brain-based learning theory) การเรียนรู้ ที่ใชโ้ ครงสร้างและหนา้ ท่ีของสมองเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ โดยไม่สกดั ก้นั การทางาน ของสมอง แต่เป็นการส่งเสริมใหส้ มองไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่ใหส้ มบูรณ์ ที่สุด ภายใตแ้ นวคิดท่ีวา่ ทุกคนสามารถ เรียนรู้ได้ ทุกคนมีสมองพร้อมที่จะทาเรียนรู้มาต้งั แต่กาเนิดเป็นแนวทางจดั การเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกบั วถิ ีการ ทางานของสมอง และธรรมชาติสมองของเดก็ แตล่ ะคน โดยเชื่อวา่ มนุษยท์ ุกคนสามารถเรียนรู้ได้ เรา สามารถเปล่ียนโครงสร้างการทางานของสมองไดด้ ว้ ยการกระตุน้ ท่ีเหมาะสม เพอื่ เพ่มิ ศกั ยภาพการเรียนรู้ โดยปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ยนี ส์ อาหาร การออกกาลงั กาย ดนตรี ศิลปะ ความรัก ความรู้สึกทา้ ทาย และการไดข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั
ตวั อย่างงานวจิ ยั ทใี่ ช้ทฤษฎกี ารเรียนรู้ด้วยสมอง ชื่องานวจิ ยั การพฒั นากิจกรรมการจดั ประสบการณ์โดยใชส้ มองเป็นฐานเพื่อเสริมทกั ษะทางคณิตศาสตร์ สาหรับเดก็ ปฐมวยั ปัญหางานวิจยั ทกั ษะทางคณิตศาสตร์เป็ นทกั ษะท่ีส่งเสริมใหเ้ ด็กปฐมวยั คิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ในการแกป้ ัญหา การให้เหตุผล จึงควรท่ีจะจดั กิจกรรมให้เด็กไดล้ งมือกระทาดว้ ยตนเองจากส่ิงแวดลอ้ มรอบๆ ดงั น้นั ใน ภาพรวมของเด็กปฐมวยั ยงั ถือวา่ ขาดทกั ษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ ไม่วา่ จะเป็ นทกั ษะทางความคิด การ สังเกตส่ิงต่างๆรอบตวั และยงั ไม่สามารถนาสิ่งท่ีเรียนรู้มาปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ จึงจาเป็ นอยา่ งยงิ่ ท่ี จะตอ้ งมีการจัดประสบการณ์โดยใช้สมองเป็ นฐานเพ่ือเสริมสร้างทกั ษะทางคณิตศาสตร์สาหรับเด็ก ปฐมวยั
ทฤษฎีทใี่ ช้ ทฤษฎีที่ 1 การเรียนรู้อยา่ งมีความสุข นกั เรียนแต่ละคนตอ้ งไดร้ ับการยอมรับอยา่ เท่าทียมกนั มี สิทธ์ิที่จะเป็นตวั ของตวั เองท่ีไม่เหมือนใคร 1. เนน้ ใหน้ กั เรียนไดร้ ู้จกั การต้งั คาถาม และสามารถอธิบายคาถามตา่ ง ๆ ได้ 2. เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง ทดลอง แตอ่ าจจะมีความจากดั ของความเสียหาย 3. เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนไดเ้ ลือกแนวทางในการจดั การเรียนรู้ตามความถนดั และความสนใจของตนเอง 4. ทาใหส้ ิ่งท่ีเรียนรู้เขา้ มามีส่วนเกี่ยวขอ้ งในชีวติ ประจาวนั หรือสามารถเปรียบเทียบไดใ้ นชีวติ ประจาวนั 5. เรียนรู้จากส่ิงที่ง่ายไปยาก 6. วธิ ีการจดั การเรียนรู้ตอ้ งมีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไม่น่าเบ่ือ 7. เนน้ ใหน้ กั เรียนไดใ้ ชค้ วามคิด ท้งั การคิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์และการใช้ จินตนาการ 8. การประเมินผลตอ้ งมุ่งประเมินผลในภาพรวมและใหน้ กั เรียนไดป้ ระเมินตนเองดว้ ยทฤษฎี
กระบวนการ 1 คดั เลือกหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางการจดั การเรียนรู้คณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวยั ที่จะใชใ้ นการวิจยั โดยใชห้ ลกั การ พิจารณาคือ ครอบคลุมทกั ษะพ้นื ฐานทางคณิตศาสตร์ท้งั 4 ดา้ น คือดา้ นการจดั หมวดหมู่ ดา้ นการเปรียบเทียบ ดา้ นการเรียงลาดบั ดา้ นการรู้ค่าและการนบั ไดห้ น่วยการเรียนท้งั หมด 4 หน่วยตามตาราง
2 ผ้วู จิ ัยดาเนินการเขียนแผนประกอบการใช้กจิ กรรมการจัดประสบการณ์โดยใช้สมองเป็ นฐานเพื่อเสริม ทักษะทางคณิตศาสตร์ สาหรั บเด็กปฐมวัยโดยบูรณาการผ่ านกิจกรรมการเคลื่ อนไหวและจังหวะ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ กจิ กรรมเสรี กจิ กรรมสร้างสรรค์ซึ่งในการวจิ ัยคร้ังนีม้ ี 4 ข้ันตอนได้แก่ ข้ัน 1 เตรียมความพร้อม โดยใช้กิจกรรมเปิ ดสมอง (Brain gym) คือกระบวนการการ เคล่ือนไหวร่างกายอย่างง่ายๆ ช่วยกระตุ้นให้สมองท้ังซีกซ้ายและซีกขวาทางานประสานงานกนั ไปและ ช่วยเพมิ่ ประสิทธิภาพของสมอง ให้มสี มาธิ ผ่อนคลาย ตื่นตัวเกดิ ความพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้อย่างมคี วามสุข ซ่ึงจะใช้ท่าบริหารสมองหมุนเวยี นกนั โดยแต่ละหน่วยการเรียนรู้ไม่ซ้ากนั ข้ัน 2 กระตุ้นการเรียนรู้ ทบทวนความรู้เดิมที่นักเรียนรู้จักและทาการเช่ือมโยงกับความใหม่ท่ี นักเรียนจะได้รับ โดยใช้คาถามกระตุ้นผ่านการจัดกิจกรรมการร้องเพลง การเคล่ือนไหว การซักถาม ใช้ คาถามนา บัตรภาพ ปริศนาคาทายและใช้ส่ือวัสดุท่เี ป็ นของจริงที่มีรูปทรงสีสันสดใสและขนาดพอดีมือ เพ่ือเป็ นการกระตุ้นความสนใจให้นักเรียนมคี วามกระตือรือร้นในการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ข้นั 3 การเรียนรู้ ครูผสู้ อนนาเสนอเน้ือหาตามหน่วยการเรียนรู้ของกิจกรรมเนน้ การเรียนรู้จาก ประสาทสัมผสั ท้งั 5 คือ ตา หู จมูก ปาก ลิ้น และผิวกายสัมผสั โดยนักเรียนไดล้ งมือปฏิบตั ิกิจกรรมที่ หลากหลาย เพ่ือส่งเสริมกระบวนการคิด วิเคราะห์เนน้ ความรู้สึกและการลงมือปฏิบตั ิให้สอดคลอ้ งกบั ความถนดั ของช่วงวยั เพ่ือใหผ้ เู้ รียนฝึ กทกั ษะผา่ นกระบวนการกลุ่มและการแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยสื่อของ จริงและเทียบเคียงของจริงก่ึงสัญลกั ษณ์ที่จะช่วยส่งเสริมความคิดรวบยอดดา้ นการจดั หมวดหมู่ การ เปรียบเทียบ การรู้ค่าการนับ การเรียงลาดบั ของผูเ้ รียน โดยผ่านกระบวนการฝึ กซ้าๆ เพื่อให้เกิดการ กระตุน้ พฒั นาการของสมองท้งั ซีกซา้ ยและซีกขวาใหท้ างานไดอ้ ยา่ งสมดุลเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ข้นั 4 ประเมินพฒั นาการเรียนรู้ นักเรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาสาระสาคญั ของหน่วยท่ีเรียน สรุปผลท่ีเกิดจากการลงมือทา ปฏิบตั ิกิจกรรมวิธีแกป้ ัญหา ขยายประเด็นความรู้เพิ่มประเมินผลงานตาม เน้ือหาท่ีสอนจากการทาแบบฝึ กเสริมทกั ษะทางคณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวยั หลงั เรียนจนครบทุก กิจกรรมเพ่ือเชื่อมโยงความรู้เพมิ่ เติมที่สามารถนาความรู้มาประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้
ได้แผนการจัดกจิ กรรมท้งั หมดจานวน 20 แผนและในแต่ละคร้ังใช้เวลาในการจดั กจิ กรรมจานวน 45 นาที ต่อ 1 วนั ระหว่างเวลา 09.00 น ถึง 09.45 น สัปดาห์ละ 5 วนั รวม 4 สัปดาห์ ผลการวจิ ัย เดก็ ปฐมวยั ที่ไดร้ ับการจดั กิจกรรมโดยใชส้ มองเป็นฐานมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละของแต่ละ ทกั ษะสูงกวา่ ร้อยละ 75 อาจเนื่องมาจากการจดั กิจกรรมการจดั ประสบการณ์โดยใชส้ มองเป็ นฐาน สาหรับเดก็ ปฐมวยั เป็นการบูรณาการสอดแทรกทกั ษะทางคณิตศาสตร์ผา่ นกิจกรรมการเคลื่อนไหว กิจกรรมสร้างสรรค์ มีข้นั ตอนการสอนในเน้ือหาที่มีรูปแบบเขา้ ใจง่ายและกระตุน้ ความคิด มีการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ผา่ นการลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมท้งั เดี่ยวและกลุ่ม มีการบูรณาการความรู้ มีการนา ความรู้ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั จึงช่วยส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเกิดทกั ษะทางคณิตศาสตร์ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ทาใหค้ ะแนนหลงั เรียนสูงกวา่ เกณฑอ์ ยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ี .01
ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎที ใ่ี ช้ -ทฤษฎีการแบ่งกลุ่มแบบกลุ่มสมั ฤทธ์ิ (Student Teams Achievement Divisions หรือ STAD) -ทฤษฎี การเรียนรู้อยา่ งมีความสุข -ทฤษฎีการสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง แผนการจัดการเรียนรู้ ทฤษฎกี ารเรียนรู้ร่วมสมยั กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2559 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 2 ชว่ั โมง
สาระสาคัญ สังคมประชาธิปไตย สมาชิกทุกคนจะต้องพงึ ปฏิบัติตนตามคุณลกั ษณะของพลเมืองดตี าม วถิ ีประชาธิปไตย ตัวชี้วดั ส 2.1 ม.2/2 เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมือง ดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายลกั ษณะสาคญั ของสังคมประชาธิปไตยได้ 2. นักเรียนวเิ คราะห์คุณลกั ษณะพลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตยได้
สาระการเรียนรู้ ลกั ษณะสาคญั ของสงั คมประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองท่ีคนส่วนใหญ่ของ ประเทศตอ้ งมีส่วนร่วม เคารพในสิทธิเสรีภาพ ใชห้ ลกั เหตุผลในการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ เคารพ กติกาของสังคม รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น และมีความเชื่อมน่ั ในหลกั ความยตุ ิธรรม นอกจากน้ี การ เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยเป็นพลเมืองท่ีนาเอาหลกั การประชาธิปไตยมาใชใ้ นวิถีชีวิต กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ข้ันนาสู่เข้าบทเรียน (5 นาท)ี 1.1 ครูทกั ทายนกั เรียนและซกั ถามเหตุการณ์ในการซกั ถามประจาวนั 1.2 ครูและนกั เรียนร่วมกนั ทากิจกรรม brain gym
2. ข้นั กจิ กรรม (20 นาท)ี 2.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายถึงลกั ษณะสาคญั ของสงั คมประชาธิปไตย โดยครูนาภาพข่าวที่เก่ียวกบั การกระทา ของบุคคลท้งั ที่ถูกกฎหมายและผดิ กฎหมาย มาใหน้ กั เรียนร่วมกนั วเิ คราะห์ จานวน 8 ภาพข่าว 2.2 ครูสุ่มเรียกนกั เรียนใหช้ ่วยกนั วเิ คราะห์วา่ การกระทาในแต่ละภาพข่าวเป็นการ กระทาท่ีเหมาะสม และการกระทา ใดเป็ นการกระทาท่ีไม่เหมาะสม 2.3 ครูแบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มมีสมาชิก 6 คน เป็น 5 กลุ่ม ประกอบดว้ ยนกั เรียนเก่ง ปานกลาง และ อ่อน 2.4 นกั เรียนเขา้ กลุ่มแลว้ มอบหมายใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาจบั ฉลาก แลว้ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นถึง เหตุการณ์สงั คมประชาธิปไตยที่ไดล้ งในสมุดจดบนั ทึกของตนเอง 2.5 นกั เรียนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นถึงสงั คมประชาธิปไตยลงในกระดาษ
2.6 ครูใหน้ กั เรียนช่วยกนั ซกั ถามในประเดน็ ท่ียงั ไม่เขา้ ใจ 2.7 นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอเกี่ยวกบั เหตุการณ์สังคมประชาธิปไตยท่ีได้ ขณะเดียวกนั ร่วมกนั แกไ้ ขขอ้ บกพร่องของแตล่ ะกลุ่ม 2.8 ครูมอบหมายใบงานท่ี 1 เรื่องลกั ษณะสาคญั ของสังคมประชาธิปไตย โดยใหเ้ วลาทา 5 นาที แลว้ แจกใบงานท่ี 2เรื่อง คุณลกั ษณะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยโดยใหน้ กั เรียนทาเป็น รายบุคคล 2.9 นกั เรียนทาใบงานที่ครูมอบหมาย จากน้นั ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยคาตอบ 2.10 ครูประกาศคะแนนกลุ่มที่ไดม้ ากท่ีสุดและมอบของรางวลั 3.ข้นั สรุป 3.1 ครูและนกั เรียนร่วมสรุปองคค์ วามรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนในชว่ั โมงน้ี
สมาชิก นางสาวทิติภา ตังศิริ รหัส 009 นางสาวนฤมล จันทร์อนิ ทร์ รหัส 010 นางสาววลิ าศิณี สวสั ด์มิ าก รหัส 013 นายเอกกวี วรรณโมลี รหัส 019 นายจติ รกร เวชสถล รหัส 026
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: