หน่วยที่ 1 ทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ LOG O
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามวฏั จักรการเรยี นรแู้ บบ 7 E ชุดท่ี ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามวฎั จกั รการเรยี นร้แู บบ 7E รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ติ 1 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สาระสาคญั วิทยาศาสตร์ (Science) มาจากคาว่า “Scientia” ในภาษาละติน หมายถึง ความรู้ ดังนน้ั วิทยาศาสตรจ์ ึงหมายถงึ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยใช้วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ท่ีเป็นกระบวนการคิดและการกระทาท่ีเกิดขึ้นอย่างเป็น ระบบ มีแบบแผน เป็นข้ันตอน และสามารถพสิ ูจน์ได้ ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ (Scientific Knowledge) เปน็ ความร้ทู ่ไี ดจ้ ากการศึกษาค้นคว้า ดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ แบง่ ออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ ข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอดหรือมโน มติ หลกั การ สมมติฐาน กฎ และทฤษฎี วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ที่มีระบบแบบ แผนและเป็นไปตามขน้ั ตอนอยา่ งมเี หตุผล โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้เพ่ือให้ได้ความรู้ทุกข้ันตอนท่ี เช่ือถือได้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน การทดลอง การวเิ คราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการทดลอง จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายความหมายของวิทยาศาสตรไ์ ด้ 2. จาแนกความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ได้ 3. ระบุขนั้ ตอนของวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ได้
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ตามวัฎจกั รการเรียนรู้แบบ 7E รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต 2 ชุดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใบความรู้ท่ี 1 ความหมายของวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (Science) มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า “Scientia” หมายถึง “ความรู้” (Knowledge) ดังน้ัน วิทยาศาสตร์จึงหมายถึง ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ โดยใช้วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) ทเ่ี ป็นกระบวกการคิดและการ กระทาท่ีเกิดข้ึนอย่างเป็นระบบ มีแบบแผน เป็นขั้นตอน และสามารถพิสูจน์ได้ การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์จึงเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ไดร้ ับท้งั ความรู้ กระบวนการ และเจตคติ
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ตามวัฎจกั รการเรยี นรูแ้ บบ 7E รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทักษะชวี ิต 3 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใบความรทู้ ี่ 2 ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากการศึกษา ค้นควา้ ดว้ ยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ โดยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบง่ ออกเปน็ 6 ระดบั ดงั น้ี 1. ข้อเท็จจริง (fact) เป็นความรู้พื้นฐานเบื้องต้นทางวิทยาศาสตร์ท่ีเกิดจากการสังเกต ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและสิ่งต่าง ๆ โดยตรง โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผวิ กาย หรอื จากการตรวจวดั โดยวธิ ีการง่าย ๆ โดยเม่อื ทดสอบในสถานการณ์หรือในสภาวะ เดียวกันจะได้ผลเหมือนเดิมทุกคร้ัง และเป็นข้อมูลที่เป็นจริงเสมอไม่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ขอ้ เทจ็ จริงจะมลี กั ษณะเปน็ ขอ้ ความเดย่ี ว ๆ ทตี่ รงไปตรงมา เชน่ โลกหมนุ รอบดวงอาทิตย์ ค้างคาวเปน็ สตั ว์เล้ยี งลกู ด้วยนม แมลงปอมี 6 ขา เมื่อน้าได้รับความร้อนจะกลายเปน็ ไอ 2. ความคิดรวบยอดหรือมโนมติ (concept) เป็นแนวความคิดความเข้าใจของบุคคล ท่ีสรุปเก่ียวกับส่ิงใดส่ิงหน่ึง โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ การจัดลาดับขั้นตอน และประมวลผลเข้า ดว้ ยกนั เปน็ ข้อสรปุ ของเรอ่ื งนน้ั ๆ และสรุปเป็นความเข้าใจขั้นสุดท้ายออกมาทางภาษาไทยในรูปของ สัญลกั ษณ์ เชน่ แสงเป็นคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า นา้ ทะเลเป็นนา้ กระด้าง นา้ แขง็ คือน้าท่ีอยูใ่ นสถานะของแข็ง ความรอ้ นทาให้ร่างกายอบอ่นุ อะตอมประกอบด้วยอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน 3. หลักการ (principle) เป็นสาระสาคัญที่ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อสร้างความ เขา้ ใจท่ตี รงกนั และเปน็ หลกั การที่ใชอ้ า้ งองิ ได้ สามารถทดสอบได้และไดผ้ ลเหมอื นเดมิ ทุกครงั้ เช่น เม่อื แม่เหล็กไดร้ บั ความร้อนจะขยายตวั โลหะตา่ งชนิดกนั จะนาไฟฟา้ ได้ไมเ่ ท่ากัน แมเ่ หลก็ ขว้ั เหมือนกนั จะผลกั กัน ขวั้ ต่างกันจะดูดกัน ท่อี ุณหภมู ิและความดันเท่ากัน สารชนดิ เดียวกันจะมีความหนาแนน่ เทา่ กัน หลักการต่างจากความคิดรวบยอด กล่าวคือ หลักการเป็นส่ิงท่ีทุกคนเข้าใจตรงกัน สามารถใช้อ้างอิงได้ แต่ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่ิงเดียวกันของแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับประสบการณ์และความรู้ของแต่ละบุคคล หลักการอาจผสมผสานจากความคิดรวบยอด ต้งั แต่ 2 ขอ้ มูลทีม่ ีความสัมพันธ์กันเข้าดว้ ยกัน เช่น แสงจะหักเหเม่ือเดินทางจากตัวกลางชนิดหนึ่ง ไปยังอีกตัวอย่างชนิดหน่ึง ที่มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน มาจากความคิดรวบยอด 2 ข้อมูล ได้แก่ แสงจะหักเหเมอ่ื เดนิ ทางผ่านน้าไปกระจก และแสงจะหักเหเม่อื เดินทางผ่านกระจกไปสู่อากาศ
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามวัฎจกั รการเรยี นร้แู บบ 7E รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ิต 4 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. สมมติฐาน (hypothesis) เป็นข้อความที่สร้างขึ้นเพื่อคาดเดาคาตอบของปัญหา ล่วงหน้าอย่างมีเหตุมีผล ก่อนจะดาเนินการทดลองเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเป็นจริงของเรื่อง นั้น ซ่ึงสมมติฐานจะเป็นที่ยอมรับได้ต้องมีหลักฐานและเหตุผลที่จะสนับสนุนความถูกต้องของการ ทดลองน้ัน ๆ สมมติฐานไม่สามารถนาไปใช้อ้างอิงหรือพยากรณ์ได้ เพราะยังไม่ได้ผ่านการทดสอบ ยืนยันว่าเปน็ ความจรงิ ดังนัน้ สมมติฐานจงึ เป็นเพยี งหลักการทางวิทยาศาสตรช์ ว่ั คราวที่ยกร่างขึ้นเพ่ือ รอการทดสอบตอ่ ไป เช่น ถ้าแสงมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช ดังนั้นพชื ที่ได้รับแสงไมเ่ ทา่ กัน จะเจริญเติบ โตได้ไม่เท่ากนั ถา้ ขีเ้ ล่ือยดูดซบั กล่ินได้ ดงั นั้นคอกหมูทปี่ พู นื้ ด้วยขเ้ี ล่ือยจะมกี ล่นิ ขี้หมนู ้อยลง ถา้ ปริมาณน้ามีผลตอ่ การงอกของเมล็ดผักบุ้ง ดังนั้นผักบุ้งท่ีได้รับน้ามากจะงอกได้ เร็วกว่าผกั บ้งุ ท่ไี ม่ไดร้ บั นา้ น้านมจากแมม่ อี ิทธพิ ลตอ่ การเจรญิ เติบโตของทารกได้ดีกวา่ นา้ นมโค ในทางวทิ ยาศาสตร์ สมมตฐิ านมีความจาเปน็ และสาคัญมาก เพราะสมมติฐานจะเป็นส่ิงท่ี ช่วยชี้แนะแนวทางว่าจะค้นหาข้อมูลอะไรและทาการทดลองได้อย่างไร ถ้าปราศจากสมมติฐานแล้ว การค้นหาความรู้วิทยาศาสตร์จะไมเ่ กิดข้นึ 5. กฎ (law) เป็นหลักการอย่างหนึ่ง ซ่ึงเป็นข้อความที่ระบุความสัมพันธ์กันระหว่าง เหตุและผล ซึ่งอาจเขยี นในรปู สมการแทนได้ ผา่ นการทดสอบจนเปน็ ท่เี ชอื่ ถอื แล้ว เชน่ กฎของบอยล์ กฎการเคล่ือนท่ขี องนวิ ตัน กฎของแรงโนม้ ถ่วง กฎทรงมวลของวัตถุ กฎมักจะเป็นหลักการหรือข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการพิสูจน์มาเป็นเวลา ยาวนานในระดับหน่ึง จนมีหลักฐานสนับสนุนมากเพียงพอ ไม่มีหลักฐานอ่ืนที่คัดค้าน จนกระทั่ง ข้อความนั้นเป็นท่ียอมรับว่าถูกต้องสมบูรณ์ ข้อความน้ันก็จะเปลี่ยนจากหลักการกลายเป็นกฎ แต่ ถงึ แมก้ ฎจะเป็นหลกั การท่มี คี วามสมั พนั ธร์ ะหว่างเหตุและผล และเขียนเป็นสมการแทนได้ แต่กฎไม่ สามารถอธิบายให้เข้าใจได้ว่า ทาไมความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลจึงเป็นเช่นน้ัน ส่ิงท่ีสามารถ อธบิ ายความสัมพันธภ์ ายในกฎไดก้ ็คือ ทฤษฎี อย่างไรก็ตามแมก้ ฎจะถูกตง้ั มาจากข้อความท่ีได้รับการยอมรับมานาน แต่ในช่วงยุคต่อมา เมือ่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เจริญข้ึน อาจทาให้มีความรู้ใหม่ ๆ เกิดข้ึนและขัดแย้งกับกฎเดิม ๆ และ หากพิสจู น์ไดว้ า่ ความร้ใู หม่มคี วามถูกตอ้ งมากกวา่ กฎท่มี อี ยู่แล้วอาจต้องมีขอ้ ยกเว้นหรือถูกยกเลิกไป 6. ทฤษฎี (theory) เป็นสมมติฐานท่ีได้รับการตรวจสอบและทดลองหลาย ๆ คร้ัง จน สามารถอธบิ ายขอ้ เท็จจรงิ และมีเหตุผลเปน็ ทย่ี อมรบั ของคนทว่ั ไป จึงเปน็ ผลให้สมมติฐานกลายเป็น ทฤษฎี ทฤษฎอี ะตอม ทฤษฎีเซลล์ ทฤษฎีวิวฒั นาการ
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามวฎั จักรการเรยี นรู้แบบ 7E รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ิต 5 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สรุปความสมั พันธ์ระหว่างระหวา่ งทฤษฎกี ับกฎ กฎนั้นอธิบายโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง เหตุและผลเป็นหลัก คือบอกได้เพียงว่าผลท่ีปรากฏให้เห็นน้ันมีสาเหตุจากอะไร หรือมีเหตุและผล สัมพันธ์กันอย่างไร แต่ไม่สามารถอธิบายได้ว่าทาไมจึงเป็นเช่นน้ัน ส่วนทฤษฎีนั้นสามารถอธิบาย ความสมั พนั ธใ์ นกฎได้ เช่น “ถ้าเอาขั้วแม่เหล็กท่ีเหมือนกันมาวางใกล้กันแม่เหล็กจะผลักกัน แต่ถ้า ข้ัวต่างกันจะดูดกัน” นี่คือความสัมพันธ์ท่ีอยู่ในรูปของกฎ ถ้าถามว่าทาไมข้ัวแม่เหล็กเหมือนกันจึง ผลกั กัน การอธบิ ายความสัมพันธ์นี้ตอ้ งใชท้ ฤษฎโี มเลกุลของแม่เหลก็ มาอธิบายจึงจะเขา้ ใจ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวัฎจกั รการเรียนรูแ้ บบ 7E รายวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต 6 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใบความรทู้ ี่ 3 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ท่ีมีระบบ แบบแผนและเป็นไปตามขั้นตอนอย่างมีเหตุผล โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้เพ่ือให้ได้ความรู้ทุก ขั้นตอนทเี่ ช่ือถอื ได้ วิธีการทางวทิ ยาศาสตรป์ ระกอบดว้ ย 5 ขน้ั ตอน ได้แก่ 1. การระบุปัญหา (Problem) เป็นการกาหนดปัญหาของสิ่งที่ต้องการศึกษา เมื่อพบ ส่ิงต่าง ๆ แล้วเกิดข้อสงสัย เป็นข้ันตอนที่ต้องใช้ทักษะการสังเกตร่วมด้วย รูปแบบของการสังเกต อาจกระทาดว้ ยการใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 อย่างใดอย่างหนึ่งหรือร่วมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ล้ิน และผิวกาย ทงั้ น้กี ารสงั เกตที่ดจี ะต้องไมใ่ สค่ วามคิดเห็นของผู้สังเกตลงไป วิธีการทางวิทยาศาสตร์มักจะเร่ิมจากการสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัว เมื่อ ไดข้ อ้ สงั เกตบางอยา่ งทีส่ นใจจะทาให้ไดส้ ิ่งที่ตามมาคือ ปญั หา เช่น การสังเกตต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือตน้ หญ้าท่อี ยใู่ ต้หลังคามักจะไมง่ อกงาม ส่วนต้นหญ้าในบริเวณใกล้เคียงกันท่ีได้รับแสงแดดเจริญ งอกงามดี เป็นตน้ การระบุปัญหาสาคัญกว่าการแก้ปัญหา เพราะการระบุปัญหาท่ีดีและชัดเจนจะทาให้ผู้ ระบุปัญหาเกิดความเขา้ ใจและมองเห็นลทู่ างของการคน้ หาคาตอบเพ่อื แกป้ ญั หาที่ต้ังขึ้น ตัวอย่างของ ปญั หา เช่น “แสงแดดมีส่วนเกย่ี วขอ้ งกบั การเจรญิ งอกงามของต้นหญ้าหรือไม่” “แบคทีเรยี ในจานเพาะเชื้อเจรญิ ชา้ และไมง่ อกงามถ้ามีราสีเขียวอยู่ในจานเพาะเช้ือน้ัน” 2. การตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) เป็นการคาดคะเนคาตอบที่อาจเป็นไปได้หรือคิด หาคาตอบลว่ งหนา้ บนฐานขอ้ มูลที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์ และการศกึ ษาเอกสารต่าง ๆ โดย คาตอบของปัญหาซ่ึงคิดไว้นี้อาจถูกต้อง แต่ยังไม่เป็นท่ียอมรับจนกว่าจะมีการทดลองเพ่ือตรวจสอบ อย่างรอบคอบเสียก่อน จึงจะทราบว่าสมมติฐานที่ต้ังไว้น้ันถูกต้องหรือไม่ ดังน้ันควรตั้งสมมติฐานไว้ หลาย ๆ ข้อ และทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ านไปพร้อม ๆ กนั ตวั อย่างการตง้ั สมมตฐิ าน “ถ้าราเพนนิซิเลียมยับย้ังการเจริญของแบคทีเรีย ดังน้ันแบคทีเรียจะไม่เจริญเมื่อมีราเพน นซิ เิ ลียมขน้ึ รวมอยู่ด้วย” “ถ้าแสงแดดมีส่วนเก่ียวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้า ดังน้ันต้นหญ้าบริเวณที่ ไม่ได้รับแสงแดดจะไม่งอกงามหรือตายไป” สมมติฐานที่เคยยอมรับอาจล้มเลิกได้ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองใหม่ ๆ มาลบล้าง แต่ก็มี บางสมมติฐานท่ีไม่มีข้อมูลจากการทดลองมาคัดค้านทาให้สมมติฐานเหล่านั้นเป็นท่ียอมรับว่าถูกต้อง และเปลี่ยนเป็นกฎ เช่น สมมติฐานของเมนเดลเก่ียวกับหน่วยกรรมพันธุ์ ซึ่งเปลี่ยนกฎการแยกตัว ของยนี หรือสมมตฐิ านของอโวกาโดรซงึ่ เปล่ยี นเปน็ กฎของอโวกาโดร
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ตามวฎั จกั รการเรยี นรู้แบบ 7E รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต 7 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. การทดลอง (Experiment) เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือหาคาตอบหรือตรวจสอบ สมมติฐานที่ตั้งไว้โดยการทดลองเพื่อทาการค้นคว้าหาข้อมูลและตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดท่ี ถูกต้องทส่ี ดุ การทดลองแบง่ เปน็ ขน้ั ตอนยอ่ ย ๆ ได้ดังน้ี 3.1 การออกแบบการทดลอง เป็นการวางแผนการการทดลองก่อนท่ีจะลงมือ ปฏิบัติจริง โดยให้สอดคล้องกับสมมติฐานท่ีตั้งไว้ การกาหนดว่าจะดาเนินการปฏิบัติอย่างไรก่อน- หลงั กาหนดวิธกี ารทดลอง วสั ดุอุปกรณแ์ ละสารเคมีทตี่ ้องใช้ การกาหนดปัจจัยหรือตัวแปรต่างๆ ท่ี มีผลตอ่ การศกึ ษา โดยตัวแปรท่ีเกย่ี วขอ้ งแบง่ เปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ สิ่งที่เป็น สาเหตุทีท่ าให้เกิดผลต่าง ๆ หรือส่ิงท่ตี ้องการทดลองดวู ่าเป็นสาเหตุทก่ี ่อใหเ้ กิดผลเช่นน้ันจรงิ หรอื ไม่ 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ส่ิงท่ีเป็นผลต่อเนื่องมาจากตัว แปรต้น เมื่อตัวแปรต้นหรือสิ่งที่เป็นสาเหตุเปล่ียนไป ตัวแปรตามหรือส่ิงท่ีเป็นผลจะเปล่ียนตามไป ดว้ ย 3) ตัวแปรที่ต้องควบคุม (Control Variable) คือ ส่ิงอื่น ๆ นอกเหนือจากตัว แปรตน้ ท่มี ผี ลต่อการทดลองและต้องควบคุมให้เหมือนกันทุกชุดการทดลอง เพื่อป้องกันไม่ให้ผลการ ทดลองเกิดความคลาดเคลอื่ นในการตรวจสอบสมมตฐิ าน นอกจากจะควบคุมปัจจัยท่ีมีผลต่อการทดลองแล้ว ในการทดลองจะต้องแบ่งชุดการ ทดลองออกเป็น 2 ชุด ดังน้ี ชดุ ทดลอง หมายถงึ ชุดท่เี ราใช้ศกึ ษาผลของตวั แปรตน้ ชุดควบคุม หมายถึง ชุดของการทดลองที่ใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิง เพ่ือ เปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ซึ่งชุดควบคุมนี้จะมีตัวแปรต่าง ๆ เหมือนชุดทดลอง แต่จะ แตกต่างจากชดุ ทดลองเพยี ง 1 ตัวแปรเทา่ น้ัน คอื ตัวแปรท่เี ราจะตรวจสอบหรือตวั แปรตน้ 3.2 การปฏิบัติการทดลอง ในกิจกรรมนี้จะลงมือปฏิบัติการทดลองจริง โดยจะ ดาเนนิ การไปตามขัน้ ตอนท่ไี ดอ้ อกแบบไว้ และควรจะทดลองซา้ ๆ หลาย ๆ ครั้งเพ่ือให้แน่ใจว่าได้ผล เชน่ นนั้ จรงิ 3.3 การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ซึง่ ข้อมลู ทไี่ ดน้ ้ีสามารถรวบรวมไว้ใชส้ าหรบั ยนื ยนั วา่ สมมติฐานทีต่ ง้ั ไวถ้ ูกต้องหรอื ไม่ ในบางคร้ังข้อมูล อาจได้มาจากการสรา้ งขอ้ เท็จจริง เอกสาร จากการสังเกตปรากฏการณ์ หรือจากการซักถามผู้รอบ รู้ แลว้ นาข้อมูลทีไ่ ด้มานน้ั ไปแปรผลและลงข้อสรุปในต่อไป ด้ังน้ัน การรวบรวมข้อมูลเป็นส่ิงจาเป็น ในวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) เป็นการนาข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ค้นคว้า ทดลอง หรือจากการรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงมาวิเคราะห์และอธิบายความหมายของ ข้อเท็จจริง แล้วนาผลท่ีได้ไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ต้ังไว้ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานข้อใด ซ่ึง การวิเคราะห์ขอ้ มูลทีด่ จี ะนาไปสู่การสรุปผลการทดลองทีถ่ ูกตอ้ ง
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามวฎั จักรการเรียนรแู้ บบ 7E รายวิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ 8 ชุดกิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ 1 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. การสรุปผลการทดลอง (Conclusion of Result) เป็นการแปลความหมายของ ข้อมลู ที่ได้จากการทดลองหรือการศึกษา และลงขอ้ สรปุ ภายในขอบเขตทเ่ี ปน็ จรงิ วา่ สมมติฐานข้อใด ถูกต้อง ถ้าผลสรุปตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ สมมติฐานข้อนั้นอาจนาไปตั้งเป็นกฎหรือทฤษฎีที่ สามารถใชเ้ ปน็ แนวทางสาหรบั อธบิ ายปรากฏการณอ์ ืน่ ๆ ที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกนั ได้
LOG O
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: