0 โครงงาน จานดาวเทียมจากเศษวสั ดุเหลือใช้ กศน.อาเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสีมา ครทู ป่ี รึกษาโครงงาน นางสาวสาวิกา ดอกกระโทก รายงานฉบบั น้ีเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการประกวดโครงงานด้านสิง่ แวดล้อม ประเภท นวตั กรรมจากขยะ สาหรบั นักศกึ ษา กศน. ระดับพืน้ ที่ ประจาปี พ.ศ.2565 ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษานครราชสมี า
1 บทคดั ย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เร่ือง “จานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้” มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์นวัตกรรม สมัยใหม่โดยใช้วัสดุท้องถิ่น หรือวัสดุจากภาชนะท่ีไม่ใช้แล้ว นามาดัดแปลงเป็นจานดาวเทียมต่อเข้ากับ โทรทัศนส์ ามารถดูทีวีชอ่ งดาวเทียมไดท้ ั่วโลก และช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการซื้อจานรับสัญญาณดาวเทียม จากท้องตลาด ซ่ึงมีราคาแพงกว่ามาก และที่สาคัญเป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า สามารถช่วยลด ปรมิ าณขยะให้นอ้ ยลง ด้วยการใช้แล้ว นากลบั มาใชซ้ า้ และการนาขยะกลบั มาใชใ้ หม่ จากการทดลองจัดทาจานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้ พบว่า จานกระทะและจานฝาหม้อก๋วยเต๋ียว ดาวเทียม ซึ่งเปน็ วสั ดทุ ี่ผลติ มาจากฝาอลูมเิ นียมเปน็ หลกั สามารถใชแ้ ทนจานดาวเทียมที่ขายในท้องตลาด และ รับสัญญาณดาวเทยี ม Thaicom ระบบ Ku-Band ได้
2 กิตติกรรมประกาศ โครงงานเร่ือง “จานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้” ฉบับนี้สาเร็จอย่างสมบูรณ์ได้ด้วยความช่วยเหลือ อยา่ งยิ่งจาก ทา่ นผูอ้ านวยการ นางจรี ะภา วฒั นกสกิ าร ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย และคณะบุคลากร กศน.อาเภอโชคชัยทุกท่าน ท่ีได้ให้คาแนะนาปรึกษา และให้ ขอ้ มูลตา่ งๆ ขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ คุณครูสาวิกา ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ที่ได้ให้คาแนะนาตลอดจน ตรวจสอบเครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการทาโครงงาน คณะผู้จัดทาโครงงานหวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่างานโครงงานฉบับนี้จะมีประโยชน์อยู่ไม่น้อยสาหรับผู้ท่ีสนใจ และสามารถนาขอ้ มูลไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป คณะผจู้ ดั ทา
สารบัญ 3 เรอ่ื ง หน้า บทคัดยอ่ 1 กิตติกรรมประกาศ 2 สารบญั 3 บทที่ 1 บทนา 4 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 6 บทท่ี 3 วิธีดาเนินโครงงาน 9 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 11 บทท่ี 5 สรปุ ผลการดาเนนิ การ/อภปิ รายผล 12 บรรณานุกรม 13 ภาคผนวก 14
4 บทที่ 1 บทนา 1.1 ท่ีมาและความสาคัญ ปญั หาขยะในประเทศไทยนบั วันยงิ่ ทวคี วามรนุ แรงขนึ้ โดยเฉพาะปัญหาขยะตกค้างในสิ่งแวดล้อมและ ในชุมชนทางผู้จัดทาโครงงานตระหนักถึงความสาคัญของปัญหานี้ และต้องการเป็นส่วนหน่ึงในการจัดการ ปญั หาขยะขยะ โดยเร่ิมต้นจากตนเองต้องปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม เพ่ือใหข้ ยะในชมุ ชนลดลง จงึ ศึกษาและพบว่า การลดขยะดว้ ยแนวคดิ 3R (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) เปน็ วิธีการท่ีสามารถปฏิบัติได้ ซ่ึง 3R เป็น แนวคดิ และแนวทางในการปฏิบตั เิ พอื่ การใช้ทรพั ยากรท่มี อี ยอู่ ย่างคุ้มคา่ สามารถช่วยลดปรมิ าณขยะให้น้อยลง ด้วยการลดการใช้ การนากลบั มาใชซ้ า้ และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ โดยเร่ิมต้นที่การใช้ให้น้อยลง ลดการใช้ วัสดุ ผลติ ภณั ฑ์ ทกี่ ่อให้เกดิ ขยะเพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดข้ึน (Reduce) การนาวัสดุ ผลิตภัณฑ์ที่ยังสามารถใช้ งานได้ กลับมาใช้ซ้า (Reuse) และการนาวัสดุ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานแล้วมาแปรรูป เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ ใหม่ หรอื รไี ซเคลิ (Recycle) วสั ดเุ หลือใช้ เช่ือว่าทุกบ้านจะต้องมีของเหลือใช้ อาจจะเป็นส่ิงของเก่าหรือใกล้พังแล้วปล่อยทิ้งเป็น ขยะ ซ่ึงของบางช้ินยังสามารถนากลับมาใช้งานได้ เพียงแค่ต้องดัดแปลงเพ่ิมเติม ก็จะกลายเป็นของใหม่ใช้ ประโยชน์ได้อีกคร้ัง บางทีทดแทนของที่กาลังหาต้องการหาซื้อใหม่ ไม่ใช่แค่นั้นยังถือว่าช่วยลดปริมาณขยะ เช่น ฝาหม้อ กระทะ กะละมัง มีรูปทรงเป็นรูปจานโค้งแบบพาราโบลา รวมท้ังการศึกษาหาความรู้จากส่ือ อินเตอร์เน็ตได้ข้อมูลว่า จานดาวเทียม หรือจานรับสัญญาณดาวเทียมหมายถึง สายอากาศชนิดหน่ึงซ่ึง ออกแบบเฉพาะเพื่อให้เหมาะสมกับการรับสัญญาณจากดาวเทียม ที่ลอยอยู่ในอวกาศและส่งสัญญาณกลับลง มายังพื้นโลก โดยทั่วไปมักมีรูปทรงเป็นรูปจานโค้งแบบพาราโบลา เพ่ือให้เกิดการรวมและสะท้อนสัญญาณ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ พน้ื ผิวสาหรบั ของจานรับสัญญาณสามารถเป็นได้ทั้งพื้นผิวแบบทึบ และพ้ืนผิวแบบโปร่ง ซงึ่ พืน้ ผวิ แบบทบึ ลมจะไมส่ ามารถผ่านได้จึงตา้ นลมมากกวา่ แบบโปรง่ โดยขณะผ้จู ดั ทาไดเ้ ห็นวสั ดเุ หลือใช้ ที่ไม่ใช่แล้วภายในชุมชน รวมท้ังบ้านของผู้จัดทามีกระทะและฝา หม้อก๋วยเตี๋ยวท่ีไม่ใช้แล้ว นามาผนวกกับความคิดสร้างสรรค์ที่เห็นจานดาวเทียมตามท้องตลาดมีลักษณะ เชน่ เดียวกับกระทะและฝาหม้อก๋วยเตี๋ยว จึงได้ศึกษาจาก YouTube และประยุกต์นวัตกรรมสมัยใหม่โดยใช้ วสั ดุท้องถ่นิ หรือวัสดจุ ากภาชนะทีไ่ ม่ใช้แลว้ นามาดัดแปลงเป็นจานดาวเทียมต่อเข้ากับโทรทัศน์สามารถดูทีวี ชอ่ งดาวเทยี มได้ทั่วโลก 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ลดปัญหาขยะในครวั เรอื น ชุมชน และสงั คม 2 เพือ่ ประดษิ ฐ์ประดษิ ฐ์จานดาวเทยี มจากวสั ดเุ หลือใช้ 3 เพอ่ื นาวสั ดเุ หลอื ใชก้ ลับมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ 4 เพ่ือลดค่าใช้จา่ ยในการซอ้ื และติดต้งั จานดาวเทียมจากท้องตลาด 5 เพื่อใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
5 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 1. จานกระทะและฝาหม้อก๋วยเต๋ียวสามารถใชท้ ดแทนจานดาวเทียมจากทอ้ งตลาดได้ 2. ทศิ ทางและองศาการรบั สญั ญาณดาวเทยี ม 1.4 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. สามารถลดปัญหาขยะในครวั เรอื น ชมุ ชน และสงั คมได้ 2 สามารถประดษิ ฐป์ ระดิษฐ์จานดาวเทยี มจากวสั ดเุ หลอื ใช้ได้ 3 สามารถนาวัสดุเหลอื ใช้กลบั มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ได้ 4 สามารถลดค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือและติดตั้งจานดาวเทียมจากทอ้ งตลาดได้ 5 สามารถใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ได้ 6 สามารถต่อยอดช้นิ งานและพัฒนาช้นิ งานตอ่ ไปได้
6 บทที่ 2 เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง ในการศกึ ษาโครงงานเรือ่ ง จานดาวเทียมจากวสั ดเุ หลือใช้ คณะผ้จู ัดทา ได้ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจาก เอกสารท่ีเกยี่ วข้องและจากเวบ็ ไซดบ์ นเครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต ดังน้ี จานดาวเทยี ม จานดาวเทียม หรือจานรบั สัญญาณดาวเทยี มหมายถึง สายอากาศชนิดหนึ่งซึ่งออกแบบเฉพาะเพ่ือให้ เหมาะสมกับการรับสัญญาณจากดาวเทยี ม ที่ลอยอยู่ในอวกาศและส่งสัญญาณกลับลงมายังพื้นโลก โดยท่ัวไป มกั มีรปู ทรงเป็นรูปจานโค้งแบบพาราโบลา เพื่อใหเ้ กิดการรวมและสะท้อนสัญญาณอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ พ้ืนผิว สาหรบั ของจานรับสัญญาณสามารถเป็นได้ทั้งพื้นผิวแบบทึบ และพ้ืนผิวแบบโปร่ง ซึ่งพื้นผิวแบบทึบลมจะไม่ สามารถผา่ นได้จึงต้านลมมากกว่าแบบโปร่ง ขนาดของจานรบั สญั ญาณดาวเทยี มขน้ึ อย่กู ับปัจจยั ทสี่ าคัญ 2 ประการ 1.ขนาดของสญั ญาณท่รี ับมาจากดาวเทยี ม 2.ขนาดของสญั ญาณรบกวน ถ้าอัตราสว่ นระหว่างสัญญาณจากดาวเทียมกบั สญั ญาณรบกวนมีค่ามากเท่าใด ขนาดของจานก็จะเล็ก มากเทา่ นนั้ สัญญาณรบกวนมที ่มี าได้ 3 ทางหลกั ๆ คอื 1.สญั ญาณจากฟากฟา้ 2.สัญญาณจากพ้ืนโลกทมี่ าจากธรรมชาติ 3.สญั ญาณจากพนื้ โลกท่ีมใิ ชจ่ ากธรรมชาติ (เกดิ จากมนุษย์) โดยปกตแิ ลว้ กาลังสัญญาณจากดาวเทยี มจะมีค่าต่ามาก จงึ ต้องไดร้ ับการขยายสัญญาณจากอุปกรณ์ท่ี เรียกวา่ แอลเอน็ บี (LNB) ซึง่ ปัจจบุ ันในประเทศไทยมีจานดาวเทียมหลากหลายย่ีห้อ เช่น พีเอสไอ ไอพีเอ็ม ดี ทวี ี จีเอม็ เอม็ แซท ไทยแซท ไอเดยี แซท ลโี อเทค คิวแซท ทรูวิชั่น ซีทีเอช ฯลฯ ซึ่งมีท้ังแบบ Free To Air และ แบบบอกรบั สมาชิก จานดาวเทียมระบบ C-Band จานดาวเทียมลักษณะโปร่งคล้ายตะแกรงอลูมิเนียมชุบดาหรือท่ีเรียกว่าจานดา C-Bandจะส่งคล่ืน ความถ่กี ลับมายงั โลกอยู่ในช่วงความถ่ี 3.4 - 4.2 GHz ซึ่งจะมีฟุตปริ้นท์ ท่ีมีขนาดกว้าง ครอบคลุมพื้นที่ การ ให้บริการได้หลายประเทศ เช่น ของดาวเทียมไทยคม 2/5 พื้นท่ีให้บริการ คือทวีปเอเซีย และยุโรปบางส่วน ขอ้ ดี การเพ่ิมจดุ รบั ชมสามารถทาได้ง่ายเนื่องจากรีซีฟเวอร์ระบบราคาไม่แพง ติดตั้งคร้ังเดียวจบไม่มีค่าใช้จ่าย รายเดือน เพราะเปน็ ชอ่ งฟรีทีวี ขอ้ เสีย ขนาดใหญ่ใช้พ้นื ทใ่ี นการตดิ ตั้ง
7 จานดาวเทียมระบบ KU-Band จานสี KU-Band ก็คือ จานดาวเทียมอีกชนิดหนึ่งที่มีลักษณะทึบ โดยจะมีขนาดต้ังแต่ 35 cm., 60 cm. และ 75 cm.จะส่งคลื่นความถ่ี 10 - 12 GHz สูงกว่าความถ่ี C-Band สัญญาณที่ส่งจะครอบคลุมพื้นที่ได้ น้อย จึงเหมาะสาหรับการส่งสัญญาณเฉพาะภายในประเทศ ข้อดี มีขนาดเล็กติดต้ังง่ายใช้พ้ืนท่ีติดต้ังน้อย รายการช่องจะมมี าก และจะมีการผลิตช่องรายการเพ่ิมอยู่ตลอดเวลา การเคลื่อนย้ายจารดาวเทียมทาได้ง่าย ขอ้ เสยี ไมส่ ามารถรบั ชมรายการไดใ้ นขณะทีฝ่ นตกหนกั หรือขณะทท่ี ้องฟ้าคร้ืมมากๆ ความแตกตา่ งระหว่าง C-Band กบั KU-Band สัญญาณท่สี ง่ ลงมา จากดาวเทียมทีส่ ามารถรบั ในประเทศไทย ปจั จบุ ัน จะมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบ C- Band และ KU-Band ระบบ C-Band จะสง่ คลนื่ ความถีก่ ลับมายังโลกในช่วงความถี่ 3.4-4.2 GHz แบบนี้จะมี ฟุตปริ้นกว้างสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพ้ืนท่ีได้หลายประเทศ ซึ่งสัญญาณดาวเทียมท่ีรับได้ จาก ตา่ งประเทศ ส่วนใหญ่จะเปน็ ระบบนี้ แต่เนื่องจากสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว้าง ความเข้มสัญญาณจะต่า จึง ต้องใช้จานขนาด 4-10 ฟุต รับสัญญาณ ภาพจึงจะชัด (รายการส่วนใหญ่เป็นฟรีทีวีของแต่ละประเทศ และ ส่วนมากสามารถรบั ชมไดโ้ ดยไม่มคี ่าใช้จ่ายรายเดอื น ) ระบบ KU-Band จะส่งคลื่นความถก่ี ลับมายงั โลกในช่วง ความถี่ 10-12 GHz สญั ญาณทีส่ ่งครอบคลุมพน้ื ท่ไี ดน้ อ้ ย ใช้กบั การสง่ สัญญาณภายในประเทศ ส่วนใหญ่ใช้กับ ระบบการให้บริการ เคเบิ้ลทีวี ภายในประเทศ ความเข้มสัญญาณจะสูง จึงใช้จานขนาดเล็ก 35-75 ซม. เช่น UBC (การรับทีวผี ่านดาวเทยี มในระบบ KU-Band สว่ นใหญ่ตอ้ งสมคั รสมาชิกจงึ จะรับชมได้) ความเข้มของสัญญาณในการส่ง C-Band จะเบากว่า Ku-Band พ้ืนท่ีครอบคลุมของสัญญาณ ( Beam Coverage Area) ระบบ C-Band จะใช้งานเพ่ือให้ครอบคลุมพ้ืนที่รับสัญญาณได้กว้างขวางทั่วท้ังทวีป แต่ระบบ Ku-Band จะใช้เพื่อครอบคลุมพื้นท่ีเฉพาะในประเทศ ในทางเทคนิคต้องส่งสัญญาณ C-Band ให้มี ความเขม้ ของสัญญาณน้อยกว่า Ku-Band เพื่อไม่ให้เกิดการรบกวนกันได้ ลักษณะของใบจานรับสัญญาณ C- Band จะเป็นตะแกรงโปร่ง หรือทึบ ทรงกลม ขึ้นรูปพาราโบลิค ขนาดท่ัวไปเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 - 10 ฟุต ส่วน Ku-Band จะเป็นจานทึบ Offset รูปไข่ ขนาด 0.35 - 1.80 เมตร ขนาดของจานรับสัญญาณดาวเทียม ทาให้ระบบ Ku-Band สามารถใชใ้ บจานขนาดเล็กกว่า C-Band ค่อนข้างมาก ตัวอย่างเช่น UBC จะใช้ใบจาน offset ขนาด 35 - 75 ซม. ก็สามารถรับสัญญาณได้ดี ในขณะที่ระบบ C-Band ต้องใช้จานขนาดใหญ่กว่าถึง 2-3 เทา่ เพื่อให้รับสัญญาณไดด้ ี ลกั ษณะของแผ่นสะท้อนของใบจาน ระบบ Ku-Band จะเป็นโลหะแผ่นเรียบ จะเป็นอลูมีเนียม หรือ เหล็กชุบสี ในขณะที่ C-Band ส่วนใหญ่จะเป็นตะแกรงปั้มเป็นรูเล็กๆ จาน C-Band จานแบบทบึ มีให้เห็นบ้างแตน่ ้อยมาก และไม่เปน็ ทน่ี ิยม เน่ืองจากนา้ หนกั มาก และตา้ นลม แล้วถ้าหากว่า จะใช้จานแบบ C-Band รับสัญญาณระบบ Ku-Band ได้หรือไม่ ตอบว่าได้ แต่ในทาง กลับกนั จะเอาจาน Ku-Band มารบั สัญญาณ C-Band ไมไ่ ด้ นอกจากจะใชจ้ านขนาดใหญจ่ ริง ๆ หัวรับสัญญาณ ซึ่งในทางเทคนิคเรียกว่า LNBF (Low Noise Block Down Frequency) เป็นตัวแปลง สญั ญาณความถี่สูงใหต้ าลงมาจนเหมาะสมกบั ภาครบั ของเครอ่ื งรับสัญญาณ (Receiver) ซึ่งระบบ C-band จะ รองรับความถ่ี 3.4-4.2 GHz ในขณะที่ Ku-Band รองรบั ความถ่ี 10-12 GHz จึงใช้แทนกันไม่ได้ อาจมีบางรุ่น ท่ีทาแบบ 2 in 1 คือ เอาหวั 2 ระบบบรรจไุ วใ้ น Case เดยี วกัน
8 เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) โดยทั่วไปไม่แตกต่างกันนอกจากผู้ผลิตจะเจตนาให้ตัวเครื่องรับได้ เฉพาะระบบ เชน่ เครือ่ งรับสัญญาณของ UBC จะไม่สามรถนามาใช้รับสัญญาณระบบ C-Band ได้ โดยท่ัวไป เคร่ืองรับสามารถรับสญั ญาณได้ทัง้ 2 ระบบ เพียงตัง้ คา่ LNBF ใหถ้ กู ต้อง ข้อควรรู้เพิ่มเติม คือ ระบบ Ku-Band เป็นระบบท่ีส่งสัญญาณด้วยความถ่ีสูง ซึ่งจะมีปัญหาการรับ สัญญาณในขณะฝนตกหนัก การเพม่ิ ขนาดใบจานอาจชว่ ยไดบ้ ้างแตถ่ ้าฝนตกหนัก เมฆหนาทึบ จะรับสัญญาณ ไมไ่ ด้ ในขณะที่ C-Band จะเหนอื กวา่ ตรงทไี่ มม่ ีปญั หาขณะฝนตก
9 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การโครงงาน วสั ดุอุปกรณ์ -กระทะ / ฝาหมอ้ กว๋ ยเต๋ยี ว -จอ TV -สายสัญญาณดาวเทยี ม -LNB หัวรับสญั ญาณดาวเทยี ม -กล่องรับสัญญาณดาวเทยี ม -เหลก็ ฉาก เหล็กรู -น๊อต -เครอื่ งมือชา่ ง วิธีการดาเนนิ งาน 1.คานวณหาจุดโฟกัสของจานกระทะ จากสตู ร c = D2/16(d) โดย c = จุดโฟกสั D = ความยาวเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางจานกระทะ (หนว่ ยเป็นเซนตเิ มตร) d = ความสูงจากจุดก่ึงกลางจานกระทะถึงระยะขอบ (หน่วยเป็นเซนติเมตร) 2.ประกอบเหลก็ ฉากและเหล็กรูด้วยนอ๊ ตเพ่อื เป็นฐานยึดจานดาวเทียมจากวัสดเุ หลอื ใช้ ให้ทามมุ โดยประมาณ 55 องศา 3.ประกอบ LNB หัวรับสญั ญาณดาวเทยี ม โดยหันหน้าเขา้ หาจานดาวเทียมจากวัสดเุ หลอื ใช้ให้อยู่ ตาแหน่ง c ที่ได้จากการคานวณ 4.ต่อสายสญั ญาณดาวเทียมเข้ากับ LNB และกลอ่ งรบั สัญญาณดาวเทียม จากนั้นตอ่ กลอ่ งรับสญั ญาณ ดาวเทยี มเข้ากับทวี ี
10 5.ตดิ ตง้ั จานบริเวณทโ่ี ลงแจ้ง แลว้ หาทศิ ทางดาวเทยี ม Ku-Band ผา่ นแอพลิเคช่ัน SatFinder โดย คน้ หาคาวา่ Thaicom 5/6/8 – 78.5 ๐E จากน้นั กดรูปแผน่ ท่ี หาทิศทาง 240 องศา เพ่ือตง้ั ทศิ ทางการหนั จานดาวเทียมจากวสั ดุเหลือใช้ 6.เปดิ ทวี จี ากนั้นคอ่ ยๆขยบั จานดาวเทยี มจากวัสดุเหลือใช้เพ่อื ค้นหาตาแหนง่ ท่เี หมาะสมทสี่ ุดเพือ่ คุณภาพของสญั ญาณที่ชดั เจน
11 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู /ผลการจัดทาโครงงาน ในการทาโครงงานเร่ือง จานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้ คณะผู้จัดทา ได้ทดลองและค้นหาสัญญาณ พบว่า - สามารถลดปัญหาขยะในครวั เรือน ชมุ ชน และสังคมได้ - กระทะและฝาหมอ้ กย๋ วเต๋ียว ซึง่ จะเปน็ วสั ดุทีผ่ ลิตมาจากฝาอลมู ิเนยี มเป็นหลัก สามารถใช้แทนจาน ดาวเทียมทตี่ ามรา้ นรับตดิ ต้ังทั่วไปได้ - จานกระทะทไี่ มใ่ ชแ้ ล้ว นามาดัดแปลงเป็นจานดาวเทยี มต่อเขา้ กับโทรทัศน์สามารถดูทีวีสามารถรับ สญั ญาณดาวเทยี ม Thaicom ระบบ Ku-Band ได้ - ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือและติดต้งั จานดาวเทียมจากทอ้ งตลาด - สามารถใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ - สามารถตอ่ ยอดชิน้ งานและพัฒนาช้นิ งานต่อไปได้
12 บทที่ 5 สรปุ ผลการศึกษา จากการทดสอบการทางานของจานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้ พบว่าจานดาวเทียมจากกะทะและฝา หมอ้ ก๋วยเตี๋ยว ซงึ่ จะเปน็ วสั ดุทผ่ี ลิตมาจากอลูมิเนียมเป็นหลัก สามารถใช้แทนจานดาวเทียมตามท้องตลาดได้ โดยสามารถนามาดัดแปลงเป็นจานดาวเทียมต่อเข้ากับโทรทัศน์สาม ารถดูทีวีสามารถรับสัญญาณดาวเทียม Thaicom ระบบ Ku-Band ได้ จานกระทะดาวเทียมสามารถค้นหาสัญญาณดาวเทียมได้ง่ายและรวดเร็วกว่าฝาหม้อก๋วยเตี๋ยว เน่ืองจากฝาหม้อก๋วยเต๋ียวเนื่องจากฝาหม้อก๋วยมีลักษณะพื้นผิวที่ไม่ราบเรียบทาให้การรับสัญญาณมี ประสิทธิภาพน้อยกวา่ กระทะที่พื้นผิวราบเรยี บ อภปิ รายผล จากการทดสอบการทางานของจานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้ พบว่า สามารถลดปัญหาขยะใน ครัวเรือน ชุมชน และสังคมได้ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซ้ือและติดตั้งจานดาวเทียมจากท้องตลาด สามารถใช้ เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ และสามารถต่อยอดชิน้ งานและพฒั นาชิ้นงานตอ่ ไปได้ ปญั หา-อุปสรรคและแนวทางแก้ไข - ควรวางฐานจานดาวเทียมจากวัสดุเหลอื ใช้บนพืน้ เพือ่ การคน้ หาสัญญาณทีง่ ่ายขนึ้ - ไม่ควรวางจานดาวเทียมจากวัสดุเหลือใช้บริเวณที่มีร่มเงาหรือใต้หลังคาเพราะจะบดบัง สัญญาณดาวเทยี ม ข้อเสนอแนะ ในอนาคตคณะผู้จัดทามีแนวคิดว่าควรต่อยอดช้ินงานและพัฒนาชิ้นงานให้สามารถนาวัสดุเหลือ ใชอ้ ่ืนๆมาทาจานรับสัญญาณแทนจานดาวเทยี มตามท้องตลาดทร่ี าคาแพงได้
13 เอกสารอา้ งองิ ทรู ปลกู ปัญญา. รวมสิ่งประดษิ ฐ์ จากของเหลือใช้ งา่ ย ๆ เเตไ่ ด้ประโยชน.์ [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ จาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/75305/-diyhom-diy- (สบื ค้นเม่ือ 1 กุมภาพนั ธ์ 2565) กรมวทิ ยาศาสตรบ์ ริการ. จานดาวเทยี มจากกระทะ. [ออนไลน]์ เขา้ ถึงจาก http://siweb1. dss.go.th/news/show_abstract.asp?article_ID=2558 สบื คน้ เมื่อ 1 กมุ ภาพันธ์ 2565) วิกพิ เี ดยี สารานกุ รมเสรี. จานดาวเทยี ม. [ออนไลน]์ เข้าถงึ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/จาน ดาวเทียม/A_KuBand. (สบื คน้ เมือ่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2565)
14 ภาคผนวก
15 ประกอบเหลก็ ฉากและเหลก็ รูดว้ ยน๊อตเพือ่ เป็นฐานยึดจานดาวเทียมจากวัสดเุ หลือใช้ ให้ทามุม โดยประมาณ 55 องศา
16 ประกอบ LNB หัวรบั สัญญาณดาวเทยี ม โดยหันหน้าเข้าหาจานดาวเทียมจากวสั ดุเหลอื ใช้ใหอ้ ยู่ ตาแหนง่ c ทไ่ี ดจ้ ากการคานวณ ตอ่ สายสญั ญาณดาวเทียมเข้ากับ LNB และกล่องรับสัญญาณดาวเทียม จากน้นั ตอ่ กล่องรับสัญญาณ ดาวเทียมเข้ากบั ทวี ี
17 ติดตงั้ จานบรเิ วณท่โี ลงแจ้ง แล้วหาทิศทางดาวเทียม Ku-Band ผา่ นแอพลิเคช่ัน SatFinder โดย คน้ หาคาว่า Thaicom 5/6/8 – 78.5 จากน้นั กดรูปแผน่ ที่ หาทิศทาง 240 องศา เพื่อตั้งทศิ ทางการหนั จาน ดาวเทียมจากวสั ดุเหลอื ใช้
18 เปิดทวี ีจากนั้นค่อยๆขยับจานดาวเทียมจากวสั ดุเหลือใช้เพื่อค้นหาตาแหน่งทเี่ หมาะสมท่ีสดุ เพ่ือ คณุ ภาพของสญั ญาณท่ีชัดเจน
19 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั สานักงาน กศน.จังหวดั นครราชสีมา
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: