ผลการปฏิบตั งิ านที่ดี (Best Practice) 1
คำนำ เอกสารผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) เรอ่ื งพฒั นาผเู้ รียนด้านทกั ษะกระบวนการทางาน อย่างมีข้ันตอนรวมทั้งการวางแผนหรือการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) เล่มน้ี จัดทาขึ้นเพื่อให้เห็นแนวทางในการนาเสนอผลการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ตามแนวทาง วงจรคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle : PDCA) เรื่องพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางานอย่างมี ข้ันตอนรวมทั้งการวางแผนหรือการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) เร่ืองพัฒนาผู้เรียน ด้านทกั ษะกระบวนการทางานอยา่ งมขี ้นั ตอนรวมท้ังการวางแผนหรอื การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการ สอนแบบโครงงาน (Project Method) กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เล่มนี้ จะเป็น ประโยชน์ต่อสถานศึกษาและบคุ ลากร นาไปใชเ้ ป็นแนวทางและนาไปปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสม ต่อไป นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบลท่งุ อรุณ ผ้จู ดั ทา ผลการปฏบิ ัตงิ านทดี่ ี (Best Practice) 2
สำรบัญ หนำ้ คำนำ ก สำรบญั ข ช่ือผลงาน พัฒนาผ้เู รยี นด้านทักษะกระบวนการทางานอยา่ งมีข้นั ตอนรวมทงั้ การวางแผนหรือ 1 การแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) 1 ความเปน็ มา 2 วตั ถุประสงค์ 2 กลุม่ เป้าหมาย 2 กระบวนการและขั้นตอนการดาเนินงาน 2 ผลการดาเนนิ งาน 3 บทเรียนท่ไี ดร้ บั 3 เงอื่ นไขสูค่ วามสาเร็จ 4 การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ที่ได้รบั 4 ภาคผนวก 5 ภาพกจิ กรรม 6 คณะผ้จู ดั ทา ผลการปฏิบตั ิงานท่ีดี (Best Practice) 3
ชื่อผลงำน พัฒนำผู้เรียนด้ำนทักษะกระบวนกำรทำงำนอย่ำงมีข้ันตอนรวมท้ังกำรวำงแผนหรือกำร 4 แก้ปัญหำอย่ำงเป็นระบบ โดยวิธีกำรสอนแบบโครงงำน (Project Method) กศน.ตำบลทุ่งอรุณ ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศกึ ษำ 2564 ชื่อเจ้ำของผลงำน : นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล สังกดั : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสมี า 1. ควำมเป็นมำ ปัจจุบันนี้ ถือว่าความรู้เป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ การศึกษาจึง เป็นรากฐานสาคัญสาหรับการเตรียมคนและสังคม ดังน้ันจึงควรจัดการศึกษาที่จะช่วยพัฒนาศักยภาพของ นักศึกษาให้มากที่สุดและเป็นการจัดศึกษาที่พัฒนาคนอย่างองค์รวม ต้องทาให้นักศึกษาคิดเป็น สามารถ ทางานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้ เพราะฉะน้ันรูปแบบการเรียนการสอนจึงควรยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ฝึกฝน กระบวนการคิดจนเกิดความเข้าใจแล้วสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์เน้ือหาท่ีเรียนได้ โดยนักศึกษาควรมี ทักษะการทางาน ซึ่งหมายถึงความสามารถในการทางานได้อย่างคล่องแคล่ว ว่องไว รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยา และความชานาญในการปฏิบัติจนเป็นท่ีเช่ือถือและยอมรับ และมีกระบวนการ เป็นแนวทางการดาเนินงาน เร่อื งใดเรอ่ื งหนึ่งอย่างมีขั้นตอน ซึ่งวางไว้อย่างเป็นลาดับต้ังแต่ต้นจนจบ แล้วเสร็จตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ ขน้ั ตอนดังกล่าวชว่ ยให้การดาเนินการมีประสิทธิภาพนาไปสู่ความสาเร็จตามจุดประสงค์และเป้าหมายได้ โดย ใช้เวลาและทรัพยากรนอ้ ยทสี่ ุด วิธีการสอนแบบโครงงาน (project method) เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าหรือปฏิบัติงานตามหัวข้อท่ีผู้เรียนสนใจ ซ่ึงผู้เรียนจะต้องฝึกกระบวนการทางานอย่างมีขั้นตอน มีการ วางแผนในการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจนการดาเนินงานสาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ส่งผล ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้อย่างหลากหลายอันเป็นประสบการณ์ตรงท่ีมีคุณค่า สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การดาเนินงานต่างๆได้ วิธีการสอนแบบโครงงานสามารถสอนต่อเน่ืองกับวิธีการสอนแบบบูรณาการได้ ทั้งใน รปู แบบบรู ณาการภายในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้นา องคค์ วามรู้และประสบการณ์ทไี่ ด้มาบรู ณาการเพอ่ื ทาโครงงาน โดยมขี นั้ ตอนการจัดกจิ กรรมเรียนรู้เริม่ จาก ข้นั กาหนดปญั หาหรือสารวจความสนใจ จากน้นั ขนั้ กาหนดจดุ มุ่งหมายในการเรียนรู้ ผู้เรียนกาหนดจุดมุ่งหมายให้ ชัดเจนว่าเรียนเพ่อื อะไร ทาโครงงานนน้ั เพ่อื แกป้ ัญหาอะไร ข้นั ตอนการวางแผนและการวิเคราะห์โครงงาน ข้ัน ลงมือปฏิบัติหรือแก้ปัญหา โดยมีผู้สอนเป็นที่ปรึกษา คอยสังเกตติดตามแนะนาให้ผู้เรียน มีการประชุม อภิปรายปรึกษาหารือเป็นระยะ ข้ันประเมินผลระหว่างปฏิบัติงานโดยผู้เรียนและผู้สวนร่วมกันประเมิน โครงงานของตนเอง และสุดทา้ ยขน้ั สรุปรายงานผลและเสนอผลงาน ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนา วิธีการสอนแบบโครงงาน (project method) มาใช้ใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน สาหรับนักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ซึ่ง น่าจะเป็นวิธีท่ีดีอีกวิธีหนึ่งที่จะสามารถพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางานอย่างมีขั้นตอนรวมท้ังการ วางแผนหรอื การแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบใหก้ ับผูเ้ รียนได้ ผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี (Best Practice)
2. วตั ถุประสงค์ พัฒนาผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางานอย่างมีขั้นตอนรวมทั้งการวางแผนหรือการ แก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ กศน.ตาบลท่งุ อรุณ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 3. กลุ่มเป้ำหมำย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลทงุ่ อรณุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 10 คน 3.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอน ปลาย จานวน 10 คน ทางานอยา่ งมีขั้นตอนรวมท้ังการวางแผนหรือการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบได้ 4. กระบวนกำรและข้ันตอนกำรดำเนนิ งำน ขนั้ ตอนที่ 1 ขนั้ วำงแผน (Plan) 1. ศึกษาสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการการเรยี นรูก้ ลุ่มเป้าหมาย โดยการสังเกตุ เพอ่ื นาไปวางแผนใน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 2. ครผู ้สู อนจดั แผนการจดั กระบวนการเรยี นรรู้ ายสปั ดาห์ทง้ั ภาคเรยี น โดยมกี ารกาหนด ใบความรู้ ใบ งาน แบบทดสอบ แบบฝึกหัด ไวใ้ นแผนดว้ ย 3. วเิ คราะห์ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย ศักยภาพ ความพรอ้ ม และความเปน็ ไปไดใ้ นการจดั การ เรียนการสอนออนไลน์โดยวธิ ีการสอนแบบโครงงาน (project method) เพ่ือนาข้อมลู ไปวางแผนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4. ครผู ู้สอนศกึ ษาขอ้ มลู และขน้ั ตอน วธิ กี ารจดั การเรียนรทู้ ใี่ ห้ผเู้ รียนได้ศกึ ษาคน้ ควา้ หรือปฏบิ ัตงิ าน ตามหวั ข้อทผ่ี ู้เรยี นสนใจ ซ่ึงผูเ้ รียนจะต้องฝกึ กระบวนการทางานอย่างมขี นั้ ตอน มกี ารวางแผนในการทางาน หรอื การแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ 5. ครูผู้สอนวางแผนการจดั การเรียนการสอนโดยวธิ กี ารสอนแบบโครงงาน (project method) จน การดาเนนิ งานสาเรจ็ ลุลว่ งตามวตั ถุประสงค์ ขั้นตอนท่ี 2 ข้นั ดำเนินงำน (Do) 1. กาหนดความม่งุ หมายและลักษณะโครงงานโดยตวั นักศกึ ษาเอง 2. วางแผนหรอื วางโครงงาน โดยนักศกึ ษาช่วยกนั วางแผนว่าจะทาอะไร ใชว้ ธิ กี ารหรอื กจิ กรรมใด จงึ จะบรรลุจุดมงุ่ หมาย 3. ขนั้ ดาเนินการ ลงมือทากจิ กรรมหรอื แกป้ ัญหา 4. ประเมินผล โดยประเมนิ โครงงานนัน้ บรรลผุ ลตามความมุ่งหมายทก่ี าหนดไวห้ รอื ไม่ มขี อ้ บกพร่อง และควรแก้ไขใหด้ ีขึน้ อย่างไร 5. นกั ศกึ ษานาเสนอโครงงาน โครงการประกวดโครงงานส่ิงประดิษฐ์ นักศึกษา กศน.อาเภอโชคชยั ผลการปฏิบตั ิงานที่ดี (Best Practice) 5
ข้ันตอนท่ี 3 ขนั้ ตรวจสอบ (Check) 1. ครูบันทึกแบบสังเกตเก่ียวกับพฤติกรรมของผู้เรียน ก่อนการจัดการเรียนการสอน โดยวิธีการสอน แบบโครงงาน (project method) 2. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (project method) 3. บันทึกแบบสังเกตเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้เรียน หลังการจัดการเรียนการสอน โดยวิธีการสอนแบบ โครงงาน (project method) 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ก่อน- หลงั การจัดการเรียนการสอน โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (project method) ได้นาเสนอผลการ วิเคราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถี่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซึ่ง ใช้โปรแกรม SPSS เพื่อวิเคราะห์ค่าสถติ ิท้ังหมด ดงั มีรายละเอียดตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 1 วเิ คราะห์ขอ้ มลู ส่วนตวั ของผเู้ รียนรายบุคคล โดยการแจกแจงความถ่ีและค่าร้อยละ ของตัวแปร ตอนที่ 2 วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้เรียน โดยการแจกแจงค่าเฉลยี่ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ขน้ั ตอนท่ี 4 ขัน้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Action) 1. รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ขอ้ มูล สรปุ และจัดทารายงานการดาเนินโครงการ 2. นาขอ้ มลู จากการดาเนินโครงการไปปรบั ปรุงการจดั กระบวนการเรียนรตู้ อ่ ไปและพัฒนาดาเนนิ โครงการต่อไป 5. ผลกำรดำเนินงำน 5.1 ผลทีเ่ กดิ กบั ผู้เข้ำรว่ มโครงกำร กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ท่ีเข้าร่วมพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางาน อย่างมีข้ันตอนรวมท้ังการวางแผนหรือการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) ตามแนวทางวงจรเดมม่ิง (PDCA) ทางานอย่างมีข้ันตอนรวมทั้งการวางแผนหรือการแก้ปัญหา อยา่ งเปน็ ระบบได้ 5.2 ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ 1. ผเู้ รยี นมีทกั ษะกระบวนการทางานอย่างมขี ้นั ตอน มีทักษะในการแกป้ ญั หา 2. ผเู้ รียนได้ฝกึ ลกั ษณะนิสัยทีด่ ใี นการทางาน มีความรบั ผดิ ชอบ ความซ่ือตรง ความเอาใจใส่ 3. ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกกระบวนการทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืน ผลการปฏบิ ัตงิ านที่ดี (Best Practice) 6
6. บทเรยี นที่ได้รบั 7 1. ความสาเร็จในการจัดกิจกรรม ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเครื่องมือท่ีใช้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังข้ึนอยู่กับ ครูผู้สอน โดยครูผู้สอนจะต้องศึกษาเข้าใจทั้งด้านเนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตลอด จนการพัฒนา วิธีการสื่อสารกบั ผเู้ รียน เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนมคี วามสนใจและต้งั ใจในการเรียนมากขน้ึ 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรพิจารณา ความเหมาะสมด้านเวลา เพื่อให้ผู้เรียนและ ครผู ู้สอนได้เตรยี มความพร้อมในด้านต่างๆ อย่างเต็มที่ 7. เงอื่ นไขสู่ควำมสำเร็จ 1. ครู ส่งเสรมิ สนับสนุนผู้เรยี น ตดิ ตามผเู้ รยี น และจดั ทาเคร่อื งมอื แบบทดสอบ ท่เี หมาะสมมา ให้ ความรคู้ วามเขา้ ใจ เพ่อื เพ่มิ ประสิทธิภาพการเรยี นรใู้ ห้กับผเู้ รียน 2. นักศึกษา ให้ความรว่ มมอื ในการตงั้ ใจเรียนรู้ เข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอนอยา่ งสม่าเสมอและ ต้งั ใจพฒั นาตนเองดว้ ยการศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเตมิ 8. กำรเผยแพร่/กำรได้รบั กำรยอมรบั /รำงวลั ทีไ่ ด้รบั การพฒั นาผู้เรียนด้านทักษะกระบวนการทางานอย่างมีข้ันตอนรวมท้ังการวางแผนหรือการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จากการดาเนนิ โครงการประกวดโครงงานสง่ิ ประดิษฐ์ นักศึกษา กศน.อาเภอโชคชัย พบว่า นักศึกษา กศน.ตาบลท่งุ อรุณ ได้รบั รางวลั ชนะเลิศอันดบั ท่ี 1 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โครงงานจานกระทะดาวเทยี ม นายจกั รพันธ์ บุญคา นางสาวปัณฑิตา จงดี รองชนะเลศิ อันดบั ที่ 2 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โครงงานกะละมังปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ นายเกียรติศักด์ิ เรียบครบรุ ี นายไกรวิชญ์ สวรา ซง่ึ การไดร้ บั รางวัลดังกลา่ วถอื เปน็ การการันตีวา่ การพฒั นาผเู้ รยี นดา้ นทกั ษะกระบวนการทางานอย่าง มีขั้นตอนรวมทั้งการวางแผนหรือการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน (project method) ของ กศน.ตาบลทงุ่ อรุณ ประสบความสาเร็จและบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ท่กี าหนด 9. ขอ้ เสนอแนะ 1. คะแนนจากการทดสอบหลังเรียนจะสูงหรือต่า ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเคร่ืองมือท่ีใช้เพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน แตย่ งั ขนึ้ อยู่กับครูผู้สอน โดยครูผู้สอนจะต้องศึกษาเข้าใจท้ังด้านเน้ือหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตลอด จน การพัฒนาวิธีการสื่อสารกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนใจและต้ังใจในการเรียนมากข้ึน และยังข้ึนอยู่กับ ผเู้ รียน โดยเฉพาะอปุ กรณม์ ือถอื และการเข้าถึงสัญญาณอินเตอร์เนต็ ด้วย 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรพิจารณา ความเหมาะสมด้านเวลา เพ่ือให้ผู้เรียนและ ครผู ้สู อนได้เตรียมความพร้อมในด้านตา่ งๆ อยา่ งเตม็ ท่ี ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ี (Best Practice)
ภำคผนวก ผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice) 8
ภำพกิจกรรม พัฒนำผ้เู รยี นด้ำนทักษะกระบวนกำรทำงำนอย่ำงมขี ้ันตอนรวมทงั้ กำรวำงแผนหรอื กำรแก้ปญั หำ อยำ่ งเป็นระบบโดยวธิ กี ำรสอนแบบโครงงำน(Project Method) กศน.ตำบลท่งุ อรณุ ภำคเรียนท่ี 2/2564 ผลการปฏิบตั งิ านท่ดี ี (Best Practice) 9
ภำพกจิ กรรม พัฒนำผู้เรยี นดำ้ นทักษะกระบวนกำรทำงำนอยำ่ งมขี ั้นตอนรวมท้ังกำรวำงแผนหรอื กำรแกป้ ัญหำ อย่ำงเป็นระบบโดยวิธกี ำรสอนแบบโครงงำน(Project Method) กศน.ตำบลท่งุ อรุณ ภำคเรยี นท่ี 2/2564 ผลการปฏิบัตงิ านท่ดี ี (Best Practice) 10
ภำพกจิ กรรม พัฒนำผู้เรยี นดำ้ นทักษะกระบวนกำรทำงำนอยำ่ งมขี ั้นตอนรวมท้ังกำรวำงแผนหรอื กำรแกป้ ัญหำ อย่ำงเป็นระบบโดยวิธกี ำรสอนแบบโครงงำน(Project Method) กศน.ตำบลท่งุ อรุณ ภำคเรยี นท่ี 2/2564 ผลการปฏิบัตงิ านท่ดี ี (Best Practice) 11
คณะผูจ้ ดั ทำ ทปี่ รกึ ษำ วัฒนกสกิ าร ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอโชคชยั หาญกลา้ บรรณารักษ์ชานาญการพิเศษ นางจรี ะภา มุง่ ภกู่ ลาง ครอู าสาสมคั ร กศน. นางสุวมิ ล เชือ่ ปัญญา ครูอาสาสมคั ร กศน. นายสมชาย นางจงรักษ์ วิเครำะหข์ ้อมูล เรียบเรยี งและทำต้นฉบับ นางสาวสาวิกา ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล บรรณำธิกำร ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอโชคชัย เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ นางจีระภา วฒั นกสิการ นางสาวอรอนงค์ เนอ่ื งกระโทก ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) 12
ผลการปฏิบตั งิ านที่ดี (Best Practice) 13
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: