Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1-66 ถั่วแปบอ่อน หมู่7 5 บท

1-66 ถั่วแปบอ่อน หมู่7 5 บท

Published by Sa Sawika, 2023-08-07 09:35:26

Description: 1-66 ถั่วแปบอ่อน หมู่7 5 บท

Search

Read the Text Version

1 สรุปผลกำรดำเนนิ งำน โครงกำรศูนยฝ์ ึกอำชพี ชมุ ชน หลักสตู รอำชพี กำรทำขนมถ่ัวแปบอ่อน ปงี บประมำณ 2566 กศน.ตำบลทุ่งอรุณ ศนู ย์สง่ เสรมิ กำรเรียนรู้อำเภอโชคชยั สำนกั งำน ส่งเสรมิ กำรเรียนรจู้ ังหวัดนครรำชสมี ำ

ก2 คำนำ เอกสารสรปุ ผลโครงการเล่มน้ี จัดทาขน้ึ เพอ่ื รวบรวมวิธกี ารดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม ในการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทา ขนมถ่ัวแปบออ่ น ของ กศน. ตาบลทุง่ อรุณ ศูนย์สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ อาเภอโชคชัย คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าและเป็น แนวทางในการจดั กจิ กรรมพัฒนาอาชพี อนื่ ๆ ตอ่ ไป ศูนยส์ ่งเสริมการเรยี นรู้อาเภอโชคชัย กรกฎาคม 2566 ข

สำรบัญ 3 เนอ้ื หำ หนำ้ คานา ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนา 4 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 6 บทที่ 3 การดาเนินงาน 10 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 12 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 20 บรรณานกุ รม 23 ภาคผนวก 24 • ตารางวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก spss 26 • แบบประเมินโครงการ 32 • ภาพถา่ ยกิจกรรม 33 • รายชอ่ื ผเู้ ข้าร่วมโครงการ 34 • คาสัง่ แตง่ ตงั้ วทิ ยากร 35 • หลักสตู ร 36 • แบบติดตามการนาไปใช้ประโยชน์ 39 • โครงการ 40 คณะผู้จัดทา 46

4 บทท่ี 1 บทนำ หลกั กำรและเหตผุ ล โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการสาคัญตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 มีความสอดคล้องกับแผนระดับต่าง ๆ ในการดาเนินการขับเคลื่อน โครงการฯ ท่มี ีความสอดคล้องกับแผนระดับต่าง ๆ ดังนี้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2579) ยุทธศาสตร์ ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการ พัฒนาศักยภาพคนตลอดชีวิต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2565) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ดา้ นการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ นโยบายรัฐบาล : นโยบายหลัก ข้อที่ 8การ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากร มนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนงานยุทธศาสตร์ : แผนงานยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพ ให้ประชาชนระดับฐานรากทอ่ี าศัยอยู่ในระดับตาบล ประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อย พลาด ขาดโอกาสให้ ไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะและทกั ษะในการประกอบอาชีพเพื่อการมีรายได้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยใช้หลักสูตร การพัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ัน เพ่ือให้ผู้ผ่านการฝึกอาชีพได้รับความรู้ความสามารถนาไปประกอบอาชีพ สร้างอาชพี พัฒนาอาชีพ เพม่ิ รายได้ มีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถ่ินสร้างมูลค่าเพิ่ม และพัฒนาสู่ วิสาหกิจชุมชน นอกจากน้ียังเน้นการจัดการศึกษาที่ยึดพื้นที่เป็นฐานในการพัฒนา (Area-based Development) ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (career-Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลกั สตู รกล่มุ อาชพี ดา้ นเกษตรกรรม หลกั สตู รกลุ่มอาชพี ดา้ นอุตสาหกรรม หลกั สูตร กลมุ่ อาชพี ดา้ น พาณิชยกรรมและบริการ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้านความคิดสร้างสรรค์ และหลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง ตลอดจนเน้นหลักสูตรการพัฒนาอาชีพup–skill re - skillท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและ ตลาดแรงงาน เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ข้อที่ 3 ยุทธศาสตร์ ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ เปา้ หมายเพื่อพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐาน ทแี่ ขง็ แกรง่ ของประเทศ เพ่ือเป็นการส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพให้กับประชาชน กลุ่มเป้าหมายของโครงการ ได้นา ความรู้ไปสร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างมูลค่าเพิ่ม และยกระดับ ผลิตภัณฑ์สินค้า ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด และเกิดการรวมกลุ่มพัฒนาเป็นวิสาหกิจ ชมุ ชนต่อไป

5 จากผลการสารวจข้อมูล ประชาชน มีความต้องการในการฝึกทักษะ อาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ได้ตระหนักถึงความสาคัญ ดงั กล่าวจึงจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน จานวน 6 ชั่วโมง เพ่ือฝึก ทักษะ สร้างรายได้ใหก้ บั กลุม่ เป้าหมาย เกดิ การพัฒนาความรูท้ ักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ ทมี่ ัน่ คงและยั่งยืน วตั ถุประสงค์ เพ่ือใหป้ ระชาชนในพืน้ ที่ตาบลทงุ่ อรุณ อาเภอโชคชัย ได้รับความรู้ ทักษะในการทาขนมถั่วแปบอ่อน และสามารถนาไปประกอบอาชีพลดรายจ่าย สร้างรายได้ สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับตนเอง ครอบครัว และ พัฒนาคุณภาพชวี ิต เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ให้กบั ตนเอง ชมุ ชน สังคม เปำ้ หมำย เชิงปริมาณ ประชาชน ตาบลท่งุ อรุณ จานวน 6 คน เชงิ คุณภาพ ประชาชนทเี่ ข้ารว่ มโครงการฯ รอ้ ยละ 90 มคี วามรู้ ทักษะในการทาขนมถวั่ แปบอ่อน และ สามารถนาไปประกอบอาชพี สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร เจียรส์ ุคนธ์ ครู กศน.ตาบล ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล นายดนพุ ล มุง่ ภกู่ ลาง ครู อาสาสมัคร กศน. นางสาวสาวกิ า กงิ่ กลาง ครูผูช้ ว่ ย นายสมชาย เช่ือปญั ญา ครู อาสาสมคั ร กศน. นางสาวฐิติชญาณ์ นางจงรักษ์ ผลลพั ธ์ (Outcomes) ประชาชนที่เขา้ ร่วมโครงการฯ ได้รับการพัฒนาความรทู้ กั ษะในการทาขนมถั่วแปบอ่อน สามารถ นาไปประกอบอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สร้างรายได้ ลดรายจา่ ยให้ตนเองและครอบครัว

6 ดัชนชี ว้ี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงกำร ตวั ช้วี ดั ผลผลิต(Outputs) ประชาชนที่เข้ารว่ มโครงการฯ จานวน 6 คน มคี วามรู้ ทักษะในการทาขนมถ่วั แปบอ่อน ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์(Outcomes) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 90 มีความรู้ ทักษะในการทาขนมถ่ัวแปบอ่อน สามารถนาไปประกอบอาชพี สร้างรายได้ ลดรายจา่ ยในครวั เรือน กำรประเมินผล 1 สงั เกตการมีสว่ นรว่ ม 2 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ(แบบ กศน.ตน.10)

7 บทท่ี 2 เอกสำรกำรศึกษำและงำนวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ในการจดั ทารายงานคร้ังนี้ไดท้ าการศกึ ษาค้นคว้าเน้ือหาจากเอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง ดังต่อไปน้ี 1. ขนมถ่ัวแปบอ่อนคอื อะไร 2. ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ความหมายของอาชีพเสรมิ 4. งานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 1. ขนมถ่ัวแปบอ่อนคอื อะไร ถ่ัวแปบ หรือ ขนมถว่ั แปบ เป็นขนมไทย ที่ทาเลียนแบบฝักถั่วของต้นถ่ัวแปบ ทาให้กลายมา เป็นช่ือเรียกของขนมชนิดน้ี โดยขนมถ่ัวแปบ เป็นขนมไทยพ้ืนบ้านที่หารับประทานได้ง่าย ทาจากแป้งข้าว เหนียว มไี สท้ าจากถวั่ เขียวเลาะเปลือกตม้ สุก คลุกกับมะพร้าวทึนทึกขูดฝอย เวลารับประทานโรยด้วยน้าตาล ทรายและงาค่ัว มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เพราะมีถ่ัวเขียวเป็นส่วนประกอบสาคัญที่มีโปรตีนสูง มีแป้ง มะพร้าว งา และน้าตาล เหมาะทีจ่ ะเปน็ อาหารยามว่างตอนบา่ ย มีรสชาติเป็นที่ถูกใจ ถ่ัวเขียวเป็นธัญพืชที่ มี เสน้ กากใยในตวั ทาให้ระบบขบั ถ่ายเป็นปกติ ส่วนงาที่ใช้ให้ไขมันท่ีประโยชน์ต่อเส้นผม ทาให้ผมดา ขลับ เงา งาม ไม่หงอกขาวงา่ ย ถ้ารบั ประทานกนั เปน็ ประจา ถว่ั แปบเปน็ ขนมไทยอีกชนดิ หนง่ึ ท่ียงั พอหาทานไดท้ ่วั ไป 2. ควำมหมำยของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถงึ แนวการดารงอยู่ และปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตร่ ะดับครอบครัว ระดบั ชมุ ชนจนถึงระดบั รฐั ท้งั ในการพัฒนา และบรหิ ารประเทศให้ดาเนินไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่อื ให้กา้ วทันต่อโลกยคุ โลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และ ภายใน ทง้ั น้ีจะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา่ งยง่ิ ในการนาวิชาการตา่ ง ๆ มา ใชใ้ นการวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนใน ชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สง่ิ แวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี

8 กำรนำปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ มหภาคของไทย ซงึ่ บรรจอุ ยใู่ นแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554) เพื่อมุ่งสู่ การพฒั นาท่สี มดลุ ยั่งยนื และมภี มู คิ ้มุ กนั เพื่อความอยูด่ มี ีสขุ มุง่ สู่สงั คมท่ีมีความสุขอย่างย่ังยืน หรือท่ีเรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเร่ืองตัวเลขการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจท่ีมี ความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท ดร.สมเกยี รติ อ่อนวมิ ล เรียกส่ิงนี้วา่ วิกฤตเศรษฐกจิ พอเพียง คอื ความไม่รู้ว่าจะนาปรัชญานี้ ไปใชท้ าอะไร กลายเป็นวา่ ผนู้ าสังคมทุกคน ท้งั นกั การเมืองและรัฐบาลใช้คาว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้าง ในการทากิจกรรมใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ท่ีดี หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ เศรษฐกิจพอเพียง ถูกใช้เพ่ือเป็นเคร่ืองมือเพ่ือตัวเอง ซ่ึงความไม่เข้าใจน้ีอาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจ พอเพียงกับทฤษฎีใหม่น้ันเป็นเร่ืองเดียวกัน ทาให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงการปฏิเสธ อตุ สาหกรรมแลว้ กลบั ไปสู่เกษตรกรรม ซ่งึ เปน็ ความเข้าใจทผี่ ิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มี ปาฐกถาถึงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงว่าเป็นปรชั ญาทสี่ ามารถเริม่ ไดจ้ ากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจ ในวงกว้างข้ึนในที่สุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่ องคก์ ารสหประชาชาติได้สนบั สนุนให้ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนา ประเทศแบบย่งั ยนื หลักแนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ ความรู้ความรอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สินใจ และการกระทา ประกำรท่ีสำคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอมีพอกนิ ปลกู พืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลกู ไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเอง ในครัวเรือน เหลือจึงขายไป พออยู่พอใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของท่ีเป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้าถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่า รกั ษาพยาบาล)

9 พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใครอ่ ยากใครม่ ีเช่นผู้อ่นื เพราะเราจะหลงติด กับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด \"การจะเป็นเสือน้ันมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการ เป็นอยแู่ บบพอมพี อกนิ แบบพอมพี อกิน หมายความวา่ อมุ้ ชูตวั เองได้ ใหม้ ีพอเพยี งกบั ตวั เอง\" พระราชดารัสใน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี 9 3. ควำมหมำยของอำชพี เสริม อาชีพเสริมหมายถึง อาชีพเสริม หมายถึง อาชีพที่เพ่ิมจากอาชีพประจาที่มีอยู่แล้ว เพื่อจะ เพม่ิ ชอ่ งทางการทาเงนิ หรอื เพ่มิ รายได้ ให้มากยิ่งขึ้น หรือให้เพียงพอต่อการดารงชีวิต จึงต้องหาช่องทางการ ทาเงินเพิ่มอาชีพ ตรงกับคา หลายคาในภาษาอังกฤษ ดังน้ี Employment Meatier Occupation Profession Pursuit Vocation Avocation Business Calling Career ซึ่งก็มีความหมายไปในลักษณะ เดียวกนั วา่ เป็น อาชีพ ซง่ึ มีผใู้ หค้ วามหมายของ อาชีพ ไวห้ ลายความหมาย ดังนี้ พจนานกุ รมไทย ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน อาชีพ เปน็ คานาม หมายถึง การเลี้ยงชีวิต , การ ทามาหากนิ , งานที่ทาเปน็ ประจาเพ่อื เล้ยี งชีพ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ให้ความหมายไว้ว่า อาชีพ เป็นหน้าที่ของบุคคลในสังคม การท่ี บุคคลประกอบอาชพี จะไดม้ าซึง่ ค่าตอบแทน หรือ รายได้ เพอื่ ใชจ้ ่ายในการดารงชีวิต เว็บปญั ญาไทย กล่าวว่า อาชีพ หมายถึง การทามาหากิน ทาธุรกิจ ตามความชอบหรือความ ถนัดไดค้ ่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรอื เงินเดอื น เว็บ spa ได้ให้ความหมายว่า อาชีพ หมายถึง การทามาหากินจากการทางานหรือกิจกรรม ใดๆ ทกี่ ่อให้เกิดผลผลิตและรายได้ เปน็ งานที่สจุ ริต ไม่ผิดศลี ธรรมเปน็ ที่ยอมรับของสังคม เว็บ ebook พูดถึงอาชีพ ว่าคือ การทามาหากินจากการทางานหรือกิจกรรมใด ๆ ท่ี กอ่ ให้เกดิ รายได้ สานักงานสถิติแห่งชาติ กล่าวว่า อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงานที่บุคคลน้ันทา ปกตบิ ุคคลมีอาชีพเดียว หากในระหวา่ งรอบ 52 สปั ดาหท์ แ่ี ลว้ บคุ คลใดมีอาชีพมากกว่า 1 ชนิด ให้ถืออาชีพที่ มีจานวนสัปดาห์การทางานมากท่ีสดุ หากจานวนสปั ดาหเ์ ทา่ กนั ให้นับอาชีพทีม่ รี ายได้มากท่ีสดุ เว็บ agaligo ให้ความหมายไว้วา่ อาชีพ มาจากคา บาลี สันสกฤต คาว่า อาชีวะ ซ่ึงแปลว่า ความเป็นอยู่ การดารงชีวิตอยู่ ในรูปคาไทย หมายถึงการเล้ียงชีวิต การทามาหากิน งานที่ทาเป็นประจาเพื่อ เลี้ยงชพี

10 4. งำนวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง สเุ มธ ตันติเวชกุล, 2542 กล่าวว่า การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และประพฤติ ปฏบิ ัติ เพื่อที่จะให้บรรลุผลสาเร็จในระยะเวลาอันส้ันนั้น มิใช่เร่ืองที่จะเป็นไปได้ง่าย ๆ ต้องให้ ความรู้ และสร้างความเข้าใจใหเ้ กดิ ขนึ้ กับประชาชนทกุ ระดับ โดยอาศัยความร่วมมอื จาก สว่ นราชการ และทุก ภาคสว่ นของประเทศ และการประยุกตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง น้ัน มีแนวทางในการดาเนินชีวิตดังนี้ คือ ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละ ความฟุ่มเฟือย ในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดังท่ีมี กระแสพระราชดารัสวา่ “ความเปน็ อยู่ ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางท่ีถูกต้อง” ยึดถือการประกอบ อาชพี ดว้ ยความถูกตอ้ ง สจุ รติ แมจ้ ะตกอย่ใู นภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม ดังท่ีมีกระแสพระราชดารัส วา่ “ความเจริญของคนทงั้ หลาย ยอ่ มเกิดมาจากการประพฤตชิ อบและการหาเลี้ยงชพี ชอบ เปน็ สาคัญ” อดินันต พรหมพันธใจ (2550) ศึกษาเร่ืองการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใน ชุมชน เพื่อการการพัฒนาประเทศท่ีย่ังยืน โดยศึกษากรณีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสามารถใชหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งในการบริหารจัดการทุนชมุ ชน ชมุ ชนบานหนองกลางดงจังหวดั ประจวบคีรขี ันธและชุมชนวัง ลุม จังหวัดระนอง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชุมชน เพื่อการ จดั การทนุ ประเทศเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน และศึกษาวิธีคิดของชุมชน ตาง ๆ ในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกตใ์ ชก้ บั ชุมชนของตนเอง

11 บทที่ 3 วธิ กี ำรดำเนนิ งำน การดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถว่ั แปบอ่อน คณะทางานได้ ดาเนินงาน ดังนี้ 1. สารวจกลุ่มเป้าหมาย ประชาชน บ้านดอนเกตุ หมู่ที่ 7 ตาบลทุ่งอรุณ อาเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสมี า จานวน 6 คน 2. ประชมุ /ชีแ้ จงวางแผนการดาเนินงานแก่บุคลากร สกร.อาเภอโชคชัย เพ่ือกาหนดรูปแบบและ วางแผนการดาเนนิ งาน ในช่วงเดือน มิถนุ ายน 2566 ณ สกร.อาเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสมี า 3. จัดเตรยี มเอกสาร/วัสดุอุปกรณ์ และประสานสถานที่ เพ่ือเตรียมความพร้อมด้านเอกสารวัสดุ อุปกรณ์ และสถานที่ ในวันท่ี 26 มิถุนายน 2566 ณ บ้านดอนเกตุ หมู่ท่ี 7 ตาบลทุ่งอรุณ อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 4. ดาเนินการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถ่ัวแปบอ่อน วันท่ี 29 มิถุนายน 2566 ณ บ้านดอนเกตุ หมู่ที่ 7 ตาบลทุ่งอรุณ อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยมี นางตุ๋ย ดอกกระโทก เป็นวิทยากรใหค้ วามรู้ ดังนี้ กำรน้อมนำแนวปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง มำใชเ้ ปน็ แนวทำงกำรดำเนนิ ชวี ิต กระตุ้นให้หมู่บ้าน ชุมชน ประชาชน น้อมนาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิต ประจาวัน ขยายผลการรับรแู้ ละเข้าใจปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่หมู่บ้าน/ชุมชน และประชาชนในพื้นท่ีให้ ครอบคลุมจัดกิจกรรมเรียนรู้ ดังน้ี ขนมถั่วแปบออ่ นคอื อะไร ถ่วั แปบ หรือ ขนมถวั่ แปบ เปน็ ขนมไทย ท่ีทาเลียนแบบฝักถั่วของต้นถั่วแปบ ทาให้กลายมา เป็นชื่อเรียกของขนมชนิดน้ี โดยขนมถ่ัวแปบ เป็นขนมไทยพื้นบ้านที่หารับประทานได้ง่าย ทาจากแป้งข้าว เหนยี ว มไี ส้ทาจากถ่ัวเขียวเลาะเปลือกต้มสุก คลุกกับมะพร้าวทึนทึกขูดฝอย เวลารับประทานโรยด้วยน้าตาล ทรายและงาคั่ว มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เพราะมีถั่วเขียวเป็นส่วนประกอบสาคัญท่ีมีโปรตีนสูง มีแป้ง มะพรา้ ว งา และน้าตาล เหมาะท่ีจะเป็นอาหารยามว่างตอนบา่ ย มีรสชาติเป็นท่ีถูกใจ ถั่วเขียวเป็นธัญพืชที่ มี เส้นกากใยในตวั ทาให้ระบบขับถ่ายเป็นปกติ ส่วนงาท่ีใช้ให้ไขมันท่ีประโยชน์ต่อเส้นผม ทาให้ผมดา ขลับ เงา งาม ไม่หงอกขาวง่าย ถา้ รบั ประทานกนั เป็นประจา ถัว่ แปบเป็นขนมไทยอีกชนดิ หนงึ่ ทีย่ ังพอหาทานได้ทวั่ ไป

12 วสั ดุ-อุปกรณ์ ในกำรทำถัว่ แปบออ่ น ส่วนผสมตวั แปง้ 1. แปง้ ขา้ วเหนียว 2. นา้ เปล่า (สาหรับนวดแป้ง) 3. กลิ่นมะลิ 4. สีผสมอาหาร 5. มะพร้าวขดู ขาว 6. เกลอื ปน่ สว่ นผสมไสถ้ วั่ 1. ถั่วเขียวซกี เปลือกนึง่ สกุ 2. เกลอื ป่น 1 สว่ นผสมนา้ ตาลงา 1. งาขาวคั่ว 2. น้าตาลทราย 3. เกลือปน่ อปุ กรณท์ ี่ใช้ หม้อ ชามผสม วิธที ำขนมถว่ั แปบ 1. ทาไส้ถว่ั โดยการ นาถว่ั เขียวซกี เลาะเปลอื กทนี่ ่ึงสุกแล้ว โรยเกลอื เล็กนอ้ ยเคล้าให้เข้ากนั ใช้ไมพ้ ายหรอื ทัพพบี ดใหเ้ นื้อถ่ัวแตกตวั พอป้ันได้ ปัน้ เปน็ ก้อนทรงรี ขนาดประมาณนิ้วหัวแม่มือ พกั ไว้ 2. นามะพร้าวขูดขาวมาโรยเกลอื เล็กน้อย เคลา้ ให้เขา้ กัน นาไปนึ่งประมาณ 10 นาที นาข้ึน พกั ไวใ้ นถาด 3. ทาแปง้ ถั่วแปบ โดยการหยดกล่ินมะลิลงในน้าเปลา่ ค่อยๆเทน้าลงในแป้งข้าวเหนียวทีละ นอ้ ยสลับกับนวดแป้ง นวดตอ่ ใหแ้ ปง้ เนยี นเปน็ เนอ้ื เดยี วกัน แบ่งแปง้ ออกเปน็ สามส่วนเพอื่ ผสมสี หยดสีลงใน แป้ง นวดต่อจนสีเนยี นดี ป้นั แปง้ เปน็ กอ้ นกลมๆขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณหน่งึ น้วิ คร่ึง ทาจนกระท่งั แป้งหมด ใช้ผา้ ขาวบางชบุ นา้ พอหมาดคลมุ พกั ไว้ 4. ตงั้ น้าใหเ้ ดอื ด นาแปง้ ที่ป้นั เตรยี มไวใ้ ช้น้ิวกดก้อนแปง้ เป็นแผ่นกลมบาง นาลงต้มในหมอ้ จนกระทงั่ แป้งสุกลอยข้ึนด้านบน ช้อนแผน่ แปง้ ขึ้นวางบนมะพรา้ วขูดท่ีนึ่งเตรยี มไว้ วางไสถ้ ่ัวท่ปี ัน้ ไว้ตรงกลาง แปง้ ปิดแผ่นแปง้ ห่อไส้ใหม้ ิด คลุกมะพรา้ วให้ทัว่ ด้านนอก 5. ทานา้ ตาลงาโดยการบบุ งาขาวทคี่ ัว่ แล้วพอแตก ผสมกบั นา้ ตาลทรายและเกลอื ป่น จัด เสริ ฟ์ พรอ้ มกับขนมตัวแป้งถว่ั แปบอ่อน

13 บทท่ี 4 ผลกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินผลกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน จากผู้ตอบแบบประเมิน จานวน 6 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมนิ โครงการ ได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในแบบตารางความถี่ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซ่ึงใช้โปรแกรม SPSS เพ่ือวิเคราะห์ค่าสถิติท้ังหมด ดังมี รายละเอยี ดต่อไปน้ี ตอนท่ี 1 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รอาชีพการทาขนมถัว่ แปบออ่ น โดยการแจกแจงความถี่และคา่ รอ้ ยละของตวั แปร ตอนท่ี 2 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ กิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการ ทาขนมถ่วั แปบออ่ น โดยการแจกแจงคา่ เฉลี่ย คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ตอนที่ 3 วเิ คราะห์ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 1 วิเครำะหข์ ้อมูลสว่ นตัวของผตู้ อบแบบประเมินโครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน หลักสูตรอำชีพกำร ทำขนมถัว่ แปบอ่อน โดยกำรแจกแจงควำมถีแ่ ละค่ำรอ้ ยละของตัวแปร ข้อมูลสว่ นตัวของผตู้ อบแบบประเมินโครงการ ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน โดยการแจกแจงความถี่และค่าร้อยละของตวั แปร ดังตารางท่ี 1 ตำรำงที่ 1 จำนวน และค่ำร้อยละ ของผู้ตอบแบบประเมินโครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน หลักสูตรอำชีพกำรทำขนมถ่ัวแปบอ่อน จำแนกตำมเพศ อำยุ ระดบั กำรศึกษำ และอำชีพ (N=6) ขอ้ มลู ส่วนตัว จำนวน รอ้ ยละ 1. เพศ ชาย 0 0 6 หญงิ 100.00* รวม 6 2. อำยุ 15 – 39 ปี - 100 40 – 59 ปี 4 - 60 ปขี ้ึนไป 66.70* 2 33.30 รวม 6 100

14 ข้อมูลสว่ นตัว จำนวน รอ้ ยละ 3. วุฒิกำรศึกษำ ประถมศกึ ษา 5 83.30* มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - - 1 16.70 มัธยมศึกษาตอนปลาย - - ปริญญาตรี 6 - 100.00 รวม 6 - - 4. อำชพี เกษตรกรรม - 100.00* - รบั จ้างทัว่ ไป 6 - คา้ ขาย 100.00 อื่นๆ รวม หมายเหตุ : * หมายถงึ ขอ้ มลู ส่วนใหญ่ จากตารางท่ี 1 พบว่า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน ผูต้ อบแบบประเมนิ โครงการ จานวน 6 คน ทั้งหมดเป็นเพศหญิง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 มีอายุ 40 – 59 ปี จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.70 รองลงมาคือ อายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.30 รองลงมาคือ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.70 ท้ังหมดประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป จานวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00

15 ตอนท่ี 2 วิเครำะห์ผลกำรประเมินกิจกรรมโครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน หลักสูตรอำชีพกำรทำขนมถ่ัว แปบออ่ น 5 ระดบั ดงั นี้ การจาแนกระดับ ผลการประเมินโครงการ แบบมาตรฐานประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินมากท่สี ดุ 4 คะแนน คือ ระดบั ผลการประเมินมาก 3 คะแนน คอื ระดับผลการประเมินปานกลาง 2 คะแนน คอื ระดบั ผลการประเมินนอ้ ย 1 คะแนน คือ ระดับผลการประเมินน้อยท่สี ดุ N คอื จานวนผ้ตู อบแบบประเมิน ̅ คือ ระดบั ค่าเฉลยี่ ผลการประเมิน S.D. (Standard deviation) คือ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน คา่ เฉล่ยี ระดบั ผลการประเมนิ ของผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ ค่าเฉลย่ี 4.50 – 5.00 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มากท่สี ดุ ค่าเฉลย่ี 3.50 – 4.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อย่ใู นระดับมาก ค่าเฉลย่ี 2.50 – 3.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับนอ้ ย คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.49 คะแนน หมายถึง มีผลการประเมินอยู่ในระดับนอ้ ยทสี่ ุด

16 ตำรำงท่ี 2.1 ค่ำเฉล่ีย คำ่ เบีย่ งเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมนิ กจิ กรรมโครงกำรศูนย์ฝกึ อำชพี ชุมชน หลักสูตรอำชีพกำรทำขนมถั่วแปบอ่อน ของผ้ตู อบแบบประเมนิ โครงกำร ในภำพรวม และจำแนก รำยด้ำน ดงั นี้ รำยกำร N=6 ระดับผลกำร ̅ S.D. ประเมิน 1. ดา้ นความพึงพอใจด้านเนือ้ หา 4.08 0.80 มาก 2. ดา้ นความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 3.90 0.82 3. ดา้ นความพึงพอใจต่อวิทยากร 4.28 0.72 มาก 4. ด้านความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก 4.17 0.74 มาก รวม 4.11 0.77 มาก มำก จากตารางท่ี 2.1 พบว่า โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สตู รอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน มีผลการประเมินโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅=4.11) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีผลการ ประเมินโครงการ ด้านความพึงพอใจต่อวิทยากร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.28) รองลงมาคือ ด้านความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.17) ด้านความพึง พอใจด้านเนื้อหา มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.08) และ ด้านความพึงพอใจด้านกระบวนการจัด กิจกรรมการอบรม มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=3.90) ตามลาดบั

17 ตำรำงที่ 2.2 คำ่ เฉลีย่ ค่ำเบ่ยี งเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมนิ กิจกรรมโครงกำรศนู ยฝ์ กึ อำชีพชมุ ชน หลกั สตู รอำชพี กำรทำขนมถ่วั แปบอ่อน ของผตู้ อบแบบประเมินโครงกำรด้ำนเนอื้ หำ โดย จำแนกเปน็ รำยขอ้ ดงั น้ี รำยกำร N = 6 ระดับผลกำรประเมนิ ̅ S.D. ควำมพึงพอใจด้ำนเนอ้ื หำ 1. เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 4.17 0.75 มาก 2. เนอ้ื หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ 3.83 0.75 มาก 3. เนือ้ หาปจั จุบันทนั สมยั 4.33 0.82 มาก 4. เน้ือหามปี ระโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนา คณุ ภาพชีวิต 4.00 0.89 มาก รวม 4.08 0.80 มำก จากตารางที่ 2.2 พบว่า โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชพี การทาขนมถั่วแปบอ่อน มีผลการประเมินโครงการในด้านเน้ือหา อยู่ในระดับมาก (̅=4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เน้ือหา ปจั จุบันทนั สมัย มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดบั มาก (̅=4.33) รองลงมาคือ เนอื้ หาตรงตามความต้องการ มีผล การประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.17) เน้อื หามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผลการ ประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.00) และเน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ตามลาดับ

18 ตำรำงที่ 2.3 ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมินกิจกรรมโครงกำรศูนย์ฝึก อำชพี ชมุ ชน หลักสูตรอำชีพกำรทำขนมถ่ัวแปบอ่อน ของผู้ตอบแบบประเมินโครงกำร ด้ำนกระบวนกำร จัดกิจกรรมกำรอบรม โดยจำแนกเป็นรำยขอ้ ดังนี้ รำยกำร N=6 ระดับผลกำร ̅ S.D. ประเมิน ดำ้ นควำมพึงพอใจด้ำนกระบวนกำรจดั กิจกรรมกำรอบรม 5. การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 3.67 0.52 มาก 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.00 1.10 มาก 7. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 3.83 0.75 มาก 8. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย 3.83 0.98 มาก 9. วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.17 0.75 มาก 3.90 0.82 มำก รวม จากตารางที่ 2.3 พบวา่ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน ในด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดับมาก (̅=3.90) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิธีการ วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅=4.17) รองลงมาคือ การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก(̅=4.00) การจัดกิจกรรม เหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.98) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.75) และการเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม มีผลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=3.67) ตามลาดับ

19 ตำรำงที่ 2.4 ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบย่ี งเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมนิ กิจกรรมโครงกำรศูนย์ฝกึ อำชพี ชุมชน หลักสตู รอำชีพกำรทำขนมถั่วแปบออ่ น ของผู้ตอบแบบประเมินโครงกำร ดำ้ นวิทยำกร โดย จำแนกเปน็ รำยขอ้ ดังน้ี รำยกำร N = 6 ระดบั ผลกำรประเมนิ ̅ S.D. ดำ้ นควำมพึงพอใจตอ่ วทิ ยำกร 10. วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรอื่ งทีถ่ า่ ยทอด 4.67 0.52 มากทส่ี ดุ 11. วิทยากรมเี ทคนคิ การถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 4.17 0.75 มาก 12. วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซกั ถาม 4.00 0.89 มาก มำก รวม 4.28 0.72 จากตารางที่ 2.4 พบวา่ โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน ในดา้ นวิทยากร อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.28) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมีความรู้ความสามารถใน เร่ืองที่ถ่ายทอด มีผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั มากทสี่ ดุ (̅=4.67) รองลงมาคือ วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอด ใชส้ อื่ เหมาะสม มผี ลการประเมิน อยใู่ นระดับมาก (̅=4.17) และวิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม มผี ลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.00) ตามลาดับ

20 ตำรำงท่ี 2.5 ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน และระดับผลกำรประเมินกิจกรรมโครงกำรศูนย์ฝึก อำชีพชุมชน หลักสูตรอำชีพกำรทำขนมถั่วแปบอ่อน ของผู้ตอบแบบประเมินโครงกำร ด้ำนกำรอำนวย ควำมสะดวก โดยจำแนกเป็นรำยขอ้ ดังนี้ รายการ N=6 ระดับผลการประเมนิ ̅ S.D. ด้ำนควำมพึงพอใจดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก มาก 13. สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก 3.83 0.41 มาก 14. การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ 4.17 0.98 มากท่สี ุด 15. การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา 4.50 0.84 มำก 4.17 0.74 รวม จากตารางท่ี 2.5 พบว่า โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน หลักสตู รอาชพี การทาขนมถ่ัวแปบอ่อน มีผลการประเมินโครงการ ในด้านความพึงพอใจ ด้านการอานวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก (̅=4.17) เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก ที่สุด (̅=4.50) รองลงมาคือ การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ มีผลการประเมิน อยู่ใน ระดับมาก (̅=4.17) และสถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก มผี ลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ตามลาดับ ตอนท่ี 3 วเิ ครำะหค์ วำมคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ควรให้การส่งเสริมสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาอาชีพการทาขนมถ่ัวแปบอ่อน ให้กับ ประชาชนอยา่ งตอ่ เน่อื ง

21 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรำยผล และขอ้ เสนอแนะ จากการวิเคราะห์ข้อมลู ผลการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน หลักสูตรอาชีพการทา ขนมถ่วั แปบอ่อน สามารถสรปุ ผล อภปิ รายผล และมีขอ้ เสนอแนะดังน้ี ตอนที่ 1 วเิ ครำะห์ข้อมลู สว่ นตัวของผู้ตอบแบบประเมนิ ในภำพรวม จากตารางท่ี 1 พบว่า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน ผ้ตู อบแบบประเมินโครงการ จานวน 6 คน ทง้ั หมดเป็นเพศหญิง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 มีอายุ 40 – 59 ปี จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.70 รองลงมาคือ อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.30 รองลงมาคือ มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.70 ทั้งหมดประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 ตอนที่ 2 วเิ ครำะห์ผลกำรประเมนิ กจิ กรรมกำรโครงกำรศูนย์ฝกึ อำชีพชุมชน หลักสูตรอำชีพกำรทำขนมถ่ัว แปบอ่อน จากตารางท่ี 2.1 พบวา่ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน หลกั สตู รอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน มีผลการประเมินโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅=4.11) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีผลการ ประเมินโครงการ ด้านความพึงพอใจต่อวิทยากร มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.28) รองลงมาคือ ด้านความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.17) ด้านความพึง พอใจด้านเนื้อหา มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.08) และ ด้านความพึงพอใจด้านกระบวนการจัด กจิ กรรมการอบรม มผี ลการประเมิน อยใู่ นระดบั มาก (̅=3.90) ตามลาดับ จากตารางที่ 2.2 พบว่า โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน มีผลการประเมินโครงการในด้านเนื้อหา อยู่ในระดับมาก (̅=4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า เน้ือหา ปจั จุบนั ทันสมยั มผี ลการประเมิน อยู่ในระดบั มาก (̅=4.33) รองลงมาคือ เนอื้ หาตรงตามความต้องการ มีผล การประเมนิ อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.17) เนอ้ื หามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผลการ ประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก (̅=4.00) และเน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ตามลาดับ

22 จากตารางท่ี 2.3 พบว่า โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาขนมถ่ัวแปบอ่อน ในด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดับมาก (̅=3.90) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิธีการ วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.17) รองลงมาคือ การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก(̅=4.00) การจัดกิจกรรม เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.98) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.=0.75) และการเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดับมาก (̅=3.67) ตามลาดบั จากตารางท่ี 2.4 พบวา่ โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน หลักสตู รอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน ในด้านวทิ ยากร อย่ใู นระดบั มาก (̅=4.28) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมีความรู้ความสามารถใน เร่ืองที่ถ่ายทอด มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั มากท่ีสุด (̅=4.67) รองลงมาคอื วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอด ใช้สอ่ื เหมาะสม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=4.17) และวิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม มผี ลการประเมิน อยูใ่ นระดับมาก (̅=4.00) ตามลาดบั จากตารางท่ี 2.5 พบวา่ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สตู รอาชพี การทาขนมถ่ัวแปบอ่อน มีผลการประเมินโครงการ ในด้านความพึงพอใจ ด้านการอานวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก (̅=4.17) เมือ่ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก ทีส่ ดุ (̅=4.50) รองลงมาคือ การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ มีผลการประเมิน อยู่ใน ระดับมาก (̅=4.17) และสถานที่ วัสดุ อปุ กรณแ์ ละส่ิงอานวยความสะดวก มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก (̅=3.83) ตามลาดับ ตอนที่ 3 วิเครำะห์ควำมคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ควรให้การส่งเสริมสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน ให้กับ ประชาชนอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

23 อภิปรำยผล จากการสรุปผลการประเมนิ โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถ่ัวแปบ อ่อน มีผลการประเมินโครงการโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅=4.11) ทั้งนี้เป็นเพราะ คณะทางาน ได้ ประชุม/ช้ีแจงวางแผนการดาเนินงาน แก่บุคลากร กศน.อาเภอโชคชัย กาหนดรูปแบบ และแผนการ ดาเนนิ งาน การจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น จัดเตรียมความพรอ้ มในการดาเนนิ งานโครงการ มีการนิเทศ กจิ กรรมโครงการอย่างต่อเนือ่ ง เพ่อื แก้ไขปรับปรงุ ใหเ้ กิดความเหมาะสม จากผลการประเมินดังกล่าว มีประเด็นที่น่าสนใจนามาอภิปรายผล ดังน้ี พบว่า เนื้อหามี ประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผลการประเมิน อยู่ในระดับมากที่สุด (̅=4.00) ซ่ึง ประชาชนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมนาความรู้ และทักษะ ไปใช้ในการดาเนินชีวิต เพราะ เป็นขนมไทยพ้ืนบ้านที่มี คุณค่าทางโภชนาการสูง เพราะมีถ่ัวเขียวเป็นส่วนประกอบสาคัญท่ีมีโปรตีนสูง มีแป้ง มะพร้าว งา และ น้าตาล รวมทั้งมีถั่วเขียวเป็นธัญพืชท่ีมีเส้นกากใยในตัว ทาให้ระบบขับถ่ายเป็นปกติ ส่วนงาที่ใช้ให้ไขมันท่ี ประโยชน์ต่อเส้นผม ทาให้ผมดา ขลับ เงางาม ไม่หงอกขาวง่าย และยังเป็นขนมไทยอีกชนิดหนึ่งท่ีน่าสนใจ สามารถทาเป็นอาชพี เสริม เพือ่ ลดรายจ่ายและเพ่ิมรายได้ให้กับครอบครวั ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุเมธ ตันติเวชกุล, 2542 กล่าวว่า การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาประยุกตใ์ ช้ และประพฤติ ปฏิบัติ เพื่อที่จะให้บรรลุผลสาเร็จในระยะเวลาอันส้ันนั้น มิใช่เรื่องท่ีจะ เป็นไปไดง้ ่าย ๆ ต้องให้ ความรู้ และสร้างความเข้าใจให้เกิดข้ึนกับประชาชนทุกระดับ โดยอาศัยความร่วมมือ จาก ส่วนราชการ และทุกภาคส่วนของประเทศ และการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นั้น มี แนวทางในการดาเนินชวี ติ ดังนี้ คอื ยดึ ความประหยัด ตดั ทอนค่าใช้จา่ ยในทุกดา้ น ลดละ ความฟุ่มเฟือยในการ ดารงชีพอย่างจริงจัง ดังที่มีกระแสพระราชดารัสว่า “ความเป็นอยู่ ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางท่ี ถูกต้อง” ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ ตาม ดังที่มีกระแสพระราชดารัสวา่ “ความเจริญของคนทั้งหลาย ย่อมเกดิ มาจากการประพฤติชอบและการหา เลี้ยงชีพชอบ เป็นสาคัญ” ทั้งน้ี ส่งผลให้ประชาชนบ้านดอนเกตุ หมู่ท่ี 7 ตาบลทุ่งอรุณ พร้อมรับต่อการ เปลย่ี นแปลงในทกุ ด้าน มงุ่ เนน้ ให้ประชาชนนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเอง และส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ส่งผลให้โครงการ ฯ ประสบผลสาเร็จตาม วัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนด ข้อเสนอแนะเพ่ือกำรพฒั นำคร้ังตอ่ ไป - ควรมกี ารพัฒนาดา้ นสสี ันของขนมถั่วแปบออ่ นโดยใชส้ ีจากธรรมชาติ เช่น อัญชญั หรือใบเตย เป็นต้น เพ่อื ทาใหด้ นู า่ รับประทานมากข้นึ - ควรมกี ารถอดบทเรียน และองค์ความรู้ จากการทางาน และการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพ่ือ ต่อยอดการพัฒนาในชมุ ชนอยา่ งต่อเนอื่ ง

24 บรรณำนุกรม กรมการพฒั นาชมุ ชน. (2551). แนวทางส่งเสรมิ เศรษฐกิจพอเพยี งในชมุ ชนสาหรบั เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชน. กรงุ เทพมหานคร: บางกอกบล็อก. เศรษฐกจิ พอเพียง [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก http://www.tupr.ac.th/sufficency1.php (วนั ท่คี น้ ข้อมลู วนั ท่ี 17 กรกฎาคม 2566). สปริงกรีนอีโวลูช่ัน. ทาความรู้จัก ถั่วแปบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.sgethai.com/article/ (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู วนั ท่ี 17 กรกฎาคม 2566) สานักงาน กศน. (2561). ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. [อ อ น ไ ล น์ ]. เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก http://ubon.nfe.go.th/Joomla/index.php? option=com_content&view=article&id=1444:-2559&catid=39:plan&Itemid=56). (วันท่ี ค้นข้อมลู วันที่ 17 กรกฎาคม 2566) สุเมธ ตันติเวชกุล. (2552). การดาเนินชวี ติ ในระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตามแนว พระราชดาริ. วารสารน้า, 20 (2), 249-250. Food Network Solution ศนู ย์เครอื ข่ายขอ้ มลู อาหาร. ขนมไทยในวถิ ี ขนมถว่ั แปบ. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.foodnetworksolution.com/cookbook/item/0067 (วันท่ีค้นขอ้ มลู วันท่ี 17 กรกฎาคม 2566)

25 ภำคผนวก

26 ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูลโปรแกรม SPSS หลักสตู รชนั้ เรยี นวชิ ำชพี รูปแบบอำชพี ระยะสนั้ วิชำ กำรทำขนมถั่วแปบออ่ น ณ บำ้ นดอนเกตุ หมู่ที่ 7 ตำบลท่งุ อรุณ อำเภอโชคชัย จังหวัดนครรำชสีมำ Frequency Table เพศ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid หญงิ 6 100.0 100.0 100.0 อำยุ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid 40 – 59 ปี 4 66.7 66.7 60 ปขี น้ึ ไป 66.7 Total 2 33.3 33.3 100.0 6 100.0 100.0 ระดบั กำรศึกษำ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ประถมศกึ ษา 5 83.3 83.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 83.3 Total 1 16.7 16.7 100.0 6 100.0 100.0 อำชพี Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid รบั จา้ งทวั่ ไป 6 100.0 100.0 100.0

27 ขอ้ ที่ 1 เนอื้ หำตรงตำมควำมต้องกำร Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 66.7 มากที่สุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 2 33.3 33.3 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 2 เนอื้ หำเพยี งพอต่อควำมตอ้ งกำร Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 83.3 มากทส่ี ดุ 3 50.0 50.0 100.0 Total 1 16.7 16.7 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 3 เนอื้ หำปจั จุบนั ทนั สมัย Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 50.0 มากที่สดุ 2 33.3 33.3 100.0 Total 3 50.0 50.0 6 100.0 100.0

28 ขอ้ ท่ี 4 เนื้อหำมีประโยชนต์ อ่ กำรนำไปใช้ในกำรพฒั นำคณุ ภำพชีวติ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 2 33.3 33.3 66.7 มากที่สุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อท่ี 5 กำรเตรยี มควำมพรอ้ มก่อนอบรม Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 มาก 33.3 Total 4 66.7 66.7 100.0 6 100.0 100.0 ขอ้ ที่ 6 กำรออกแบบกจิ กรรมเหมำะสมกับวัตถุประสงค์ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 3 50.0 50.0 50.0 มากทสี่ ุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0

29 ขอ้ ที่ 7 กำรจดั กิจกรรมเหมำะสมกับเวลำ Frequency Percent Valid Percent Cumulative Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 83.3 มากที่สุด 3 50.0 50.0 100.0 Total 1 16.7 16.7 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 8 กำรจดั กจิ กรรมเหมำะสมกับกลุ่มเป้ำหมำย Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 3 50.0 50.0 50.0 มาก 1 16.7 16.7 66.7 มากท่ีสุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ข้อที่ 9 วธิ กี ำรวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมำะสมกบั วัตถุประสงค์ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 3 50.0 50.0 66.7 มากที่สุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0

30 ขอ้ ท่ี 10 วทิ ยำกรมีควำมรคู้ วำมสำมำรถในเรอ่ื งทีถ่ ่ำยทอด Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid มาก 2 33.3 33.3 33.3 มากทส่ี ดุ 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 11 วทิ ยำกรมีเทคนคิ กำรถำ่ ยทอดใช้ส่อื เหมำะสม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 3 50.0 50.0 66.7 มากที่สุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ้ ที่ 12 วทิ ยำกรเปดิ โอกำสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซักถำม Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 2 33.3 33.3 66.7 มากทส่ี ุด 2 33.3 33.3 100.0 Total 6 100.0 100.0

31 ข้อที่ 13 สถำนท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อำนวยควำมสะดวก Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 5 83.3 83.3 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ้ ท่ี 14 กำรสอ่ื สำร กำรสร้ำงบรรยำกำศเพือ่ ใหเ้ กดิ กำรเรียนรู้ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 2 33.3 33.3 33.3 มาก 1 16.7 16.7 50.0 มากที่สดุ 3 50.0 50.0 100.0 Total 6 100.0 100.0 ขอ้ ที่ 15 กำรบรกิ ำร กำรชว่ ยเหลือและกำรแกป้ ญั หำ Cumulative Frequency Percent Valid Percent Percent Valid ปานกลาง 1 16.7 16.7 16.7 มาก 1 16.7 16.7 33.3 มากที่สุด 4 66.7 66.7 100.0 Total 6 100.0 100.0

32 Descriptive Statistics N Minimum Maximum Mean Std. Deviation ข้อท่ี 1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 6 3.00 5.00 4.3333 .81650 ขอ้ ท่ี 2 เนอ้ื หาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ 6 3.00 5.00 4.1667 .75277 ขอ้ ท่ี 3 เนื้อหาปจั จุบนั ทันสมยั 6 3.00 5.00 4.0000 .89443 ข้อที่ 4 เนื้อหามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชวี ิต 6 3.00 5.00 4.0000 .63246 ข้อท่ี 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 6 3.00 5.00 4.3333 .81650 ขอ้ ท่ี 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั 6 3.00 5.00 4.3333 .81650 วัตถุประสงค์ ขอ้ ท่ี 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 6 3.00 5.00 3.8333 .75277 ขอ้ ท่ี 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย 6 3.00 5.00 4.0000 .63246 ข้อท่ี 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั 6 4.00 5.00 4.5000 .54772 วัตถปุ ระสงค์ ข้อที่ 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรอ่ื งท่ี 6 3.00 5.00 4.1667 .75277 ถ่ายทอด ข้อท่ี 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่อื 6 3.00 5.00 4.1667 .75277 เหมาะสม ข้อท่ี 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีสว่ นรว่ มและ 6 3.00 5.00 4.1667 .75277 ซักถาม ข้อท่ี 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวยความ 6 3.00 5.00 4.0000 .89443 สะดวก .51640 .75277 ขอ้ ที่ 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้ 6 4.00 5.00 4.3333 เกดิ การเรียนรู้ ขอ้ ท่ี 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการ 6 3.00 5.00 4.1667 แก้ปัญหา Valid N (listwise) 6

33 แบบ กศ.ตน.10 แบบประเมนิ ควำมพึงพอใจ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รอาชพี การทาขนมถว่ั แปบอ่อน วันที่ 29 เดอื น มิถนุ ายน 2566 สถานทจี่ ัด ณ บ้านดอนเกตุ หมู่ที่ 7 ตาบลทุ่งอรณุ อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสมี า ข้อมูลพน้ื ฐำนของผปู้ ระเมินควำมพงึ พอใจ ( ) หญิง เพศ ( ) ชาย อายุ ( ) ต่ากวา่ 15 ปี ( ) 15–39 ปี ( ) 40-59 ปี ( ) 60 ปีขน้ึ ไป ( ) ปรญิ ญาตรี วุฒกิ ารศึกษา ( ) ระดับประถม ( ) ระดบั ม.ต้น ( ) ระดับ ม.ปลาย อาชีพ ( ) เกษตรกร ( ) รบั จา้ งท่ัวไป ( ) ค้าขาย อน่ื ........................ คำชแี้ จง 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครื่องหมาย √ ในชอ่ งวา่ งระดับความพงึ พอใจตามความคิดเหน็ ของทา่ น ระดับความพึงพอใจ หมายเหตุ ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มากท่ีสุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย กลาง ทสี่ ดุ ตอนท่ี 1 ควำมพงึ พอใจดำ้ นเน้ือหำ 1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ 2 เน้ือหาเพียงพอต่อความตอ้ งการ 3 เนอ้ื หาปจั จุบนั ทันสมยั 4 เน้ือหามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ตอนท่ี 2 ควำมพงึ พอใจด้ำนกระบวนกำรจัดกิจกรรมกำรอบรม 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ควำมพงึ พอใจตอ่ วิทยำกร 10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่อื งทถ่ี ่ายทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้สื่อเหมาะสม 12 วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซกั ถาม ตอนที่ 4 ควำมพงึ พอใจดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ………………………………………………………………………………………………………..…………….…………………………....................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

34 ภำพกิจกรรม วันท่ี 29 เดือน มิถุนายน 2566 คณะครู กศน.ตาบลทุ่งอรุณ จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน หลกั สูตรอาชีพการทาขนมถว่ั แปบอ่อน ณ บ้านดอนเกตุ หมู่ท่ี 7 ตาบลทุ่งอรุณ อาเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสีมา เพ่ือให้ประชาชนในตาบลทุ่งอรุณ มีความรู้และทักษะไปใช้ในการสร้างอาชีพมีรายได้ ลด รายจา่ ยให้ตนเองและครอบครัว

35 ทะเบยี นนกั ศกึ ษาอาชพี หลกั สตู รอาชพี การทาขนมถว่ั แปบอ่อน วชิ าชพี ระยะสนั้ 6 ชว่ั โมง ปีงบประมาณ 2566 ศนู ย์สง่ เสรมิ การเรยี นรู้อาเภอโชคชยั ณ บา้ นดอนเกตุ หมู่ที่ 7 ตาบลทุ่งอรณุ อาเภอโชคชยั จงั หวัดนครราชสมี า ที่ ชอื่ - สกุล อายุ อาชพี วุฒิ เพศ เลขที่ ใบเสรจ็ หมายเลขบัตรประชาชน 1 นางปลาขาว ลาภกระโทก 56 รับจา้ ง 2 นางประกอบ ลาภกระโทก 71 รับจ้าง ชญ - 3300700401182 3 นางหนุ่ งบกระโทก 64 รบั จ้าง ป.4 - / - 3300700397193 4 นางสายยน จงกลาง 59 รบั จ้าง ป.4 - / - 3300700408934 5 นางณฐั นรี มณีทรงวุฒิ 54 รบั จ้าง ป.4 - / - 3300700396871 6 นางจกั จนั่ ชู้กระโทก 59 รบั จ้าง ป.6 - / - 3300700407539 ม.6 - / - 3300700400356 ป.4 - / ขอรับรองวา่ ถูกตอ้ ง ( นายดนพุ ล เจยี ร์สุคนธ์ ) ครู กศน.ตาบล

36 คาส่งั ศูนย์ส่งเสริมการเรยี นรอู้ าเภอโชคชยั ท่ี / 2566 เร่อื ง แต่งต้งั วิทยากรการศึกษาตอ่ เนื่อง รปู แบบวิชาชีพระยะสัน้ หลกั สูตรอาชพี การทาขนมถั่วแปบออ่ น จานวน 6 ชว่ั โมง ศูนย์สง่ เสรมิ การเรยี นรูอ้ าเภอโชคชยั โดย กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ดาเนินการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร อาชีพการทาขนมถั่วแปบออ่ น จานวน 6 ชั่วโมง ใหก้ บั ประชาชนในชมุ ชนท่วั ไปทส่ี นใจ ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สถานที่ จัดกิจกรรม ณ บ้านดอนเกตุ หม่ทู ี่ 7 ตาบลทุ่งอรณุ อาเภอโชคชัย จังหวดั นครราชสีมา ในวันที่ 29 มิถุนายน 2566 เรียนวัน พฤหสั บดี ตง้ั แต่เวลา 09.00 – 16.00 น. เรยี นวนั ละ 6 ชวั่ โมง จานวนวันที่เปิดสอน 1 วนั ผู้เรียน จานวน 6 คน ชาย - คน หญิง 6 คน อาศัยระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาต่อเนอ่ื ง พ.ศ. 2554 จึงแต่งต้ัง บคุ คลดังต่อไปน้ี 1. นางตยุ๋ ดอกกระโทก เปน็ วทิ ยากร 2. นายดนุพล เจยี ร์สุคนธ์ เปน็ ผู้ช่วยวทิ ยากร โดยใหว้ ทิ ยากรเบกิ คา่ ตอบแทน ตามเกณฑท์ ่กี ระทรวงการคลังและสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กาหนด ท้ังน้ี ตงั้ แตว่ นั ท่ี 29 มิถนุ ายน พ.ศ. 2566 ส่ัง ณ วันที่ มิถนุ ายน พ.ศ. 2566 (นางจรี ะภา วัฒนกสิการ) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโชคชยั ปฏบิ ัติหน้าทีผ่ ู้อานวยการศูนยส์ ่งเสริมการเรียนรอู้ าเภอโชคชยั

รำยละเอียดโครงสร้ำงหลักส หลักสูตร กลมุ่ อำชีพส เรื่อง จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เน้อื หำ 1. ช่องทางการ 1. เพ่อื ให้ผู้เรียนบอก 1. ความสาคัญในการประกอบ 1 ใหผ้ ประกอบอาชพี จริง ส การทาถ่วั แปบ ความสาคญั ในการ อาชพี การทาถั่วแปบอ่อน 2. ใหผ้ อ่อน โดยใช ประกอบอาชีพการทาถั่ว 2. การคดิ วิเคราะห์ อาชีพที่ เปน็ ไป ศกั ยภ แปบอ่อน สามารถประกอบไดใ้ นชมุ ชน พนื้ ที่ ภูมิอา 2. เพอ่ื ให้ผู้เรียนคดิ 3. ทศิ ทางการประกอบอาชีพ ทาลท ประเพ วเิ คราะห์ อาชพี ท่ี การจาหน่ายถัว่ แปบอ่อน สามารถประกอบได้ ใน ชมุ ชน 3. เพ่ือให้ผเู้ รยี นบอกทิศ ทางการประกอบอาชพี จาหน่ายการทาถัว่ แปบ อ่อนได้ด้วยกระบวนการ คดิ เป็น

37 สูตรอำชีพกำรทำถัว่ แปบอ่อน ร 6 ช่ัวโมง สรำ้ งสรรค์ กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้ จำนวนชว่ั โมง สอ่ื กำรเรียนรู้ วดั ผล ประเมนิ ผล ผเู้ รียนศกึ ษาขอ้ มลู จากเอกสาร สอ่ื ของ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ วิทยากร/ สอื่ บคุ คลในชุมชน สถานประกอบการ 30 - ใบความรู้ -สงั เกต ผเู้ รยี นตัดสินใจเลอื กประกอบอาชพี นาที พฤตกิ รรมการ ช้กระบวนการคิดเปน็ และมคี วาม ร่วมกิจกรรม ปได้ตามศักยภาพ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ การเรยี นรู้ ภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ -แบบประเมนิ ศักยภาพของพ้ืนท่ี ตามลักษณะ ความรู้ความ ากาศ ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศ และ เขา้ ใจใน ท่ตี ั้ง ศักยภาพของศิลปวฒั นธรรม เน้อื หา พณีและวิถีชีวิตของพ้นื ท่ี -แบบบนั ทกึ ผลการเรียนรู้

รำยละเอยี ดโครงสร้ำงหลักส หลกั สตู ร กลุม่ อำชีพส เรอื่ ง จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ เน้ือหำ 2. ทักษะการ 1. เพื่อให้ผ้เู รียนอธิบาย ความรเู้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกับการทา 1 ให้ผ ประกอบอาชีพการ ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกีย่ วกับ ถว่ั แปบออ่ น ความร ทาถัว่ แปบอ่อน การทาถั่วแปบอ่อนได้ - ประวตั คิ วามเปน็ มาของการทา 2. ผู้เร 1. ความรเู้ บอ้ื งต้น 2. เพอื่ ให้ผู้เรียนบอก ถว่ั แปบออ่ นในประเทศไทย แลกเป เกย่ี วกับการทาถั่ว ชนดิ ของถั่วแปบออ่ นได้ 3. ผเู้ ร แปบอ่อน แปบอ 2.ชนิดของถัว่ แปบ 4. ผ้เู ร อ่อน แลกเป 3. ความร้เู บ้ืองต้น เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนบอก ความรเู้ บอื้ งต้นเกีย่ วกับวธิ กี าร 1. วิท เกย่ี วกับการทาถว่ั ความรูเ้ บ้ืองต้นเกยี่ วกับ ทาถั่วแปบอ่อน และอปุ กรณ์ ทาถัว่ แ แปบอ่อน วิธีการทายาหมอ่ ง และ ตา่ งๆ ทจ่ี าเป็นในการทาถั่วแปบ และอุปกรณ์ การเกบ็ รักษาอปุ กรณใ์ น อ่อน ตลอดจนวิธกี ารเก็บรักษา ตา่ งๆ ตลอดจน การทาถัว่ แปบอ่อน วสั ดุอุปกรณ์ วธิ ีการเก็บรักษา อปุ กรณ์

38 สตู รอำชีพกำรทำถั่วแปบออ่ น จำนวนชั่วโมง วัดผล ร 6 ชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ สอื่ กำรเรยี นรู้ ประเมินผล สรำ้ งสรรค์ 15 - วทิ ยากร/ นาที ใบความรู้ กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ 15 - วิทยากร/ ผ้เู รยี นศึกษาเน้ือหาจากใบความร้เู รื่อง นาที ใบความรู้ รู้เบ้ืองต้นเกยี่ วกับการทาถ่ัวแปบอ่อน รียนและวทิ ยากรรว่ มสนทนา ปลย่ี นขอ้ มูลความคิดเห็น รียนสรปุ ความรูเ้ บ้ืองตน้ ในการทาถวั่ อ่อน รยี นและวทิ ยากรร่วมสนทนา ปลี่ยนข้อมูลความคิดเหน็ ทยากรอธบิ ายและสาธติ เกย่ี วกบั การ แปบอ่อน และอุปกรณ์ตา่ งๆ

รำยละเอียดโครงสรำ้ งหลักส หลกั สตู ร กลุ่มอำชีพส เรือ่ ง จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ เนอื้ หำ 4. กระบวนการ ผู้เรยี นสามารถทาถ่ัว กระบวนการทาถัว่ แปบอ่อน 1. วทิ ยาก ทาถว่ั แปบอ่อน แปบออ่ น ได้อยา่ ง อปุ กรณท์ ถกู ต้อง 2. วทิ ยาก ทาถ่ัวแปบ 3. ผูเ้ รยี น 5. การคดิ ราคา เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถคดิ การคิดราคาตน้ ทุนและกาไร 1. วทิ ยาก ตน้ ทุนและกาไร ราคาต้นทนุ และกาไรของ 1 การคดิ ราคาตน้ ทนุ ถว่ั แปบอ่อ การทาถัว่ แปบออ่ นได้ - คา่ วัสดุอปุ กรณ์ 2. ผู้เรียน 6.การจาหน่าย - ค่าแรงงาน 3. วทิ ยาก ถั่วแปบออ่ น เพื่อใหผ้ เู้ รยี นบอกวธิ ีการ 2 การคดิ กาไร 4. ผูเ้ รียน จาหนา่ ยถ่วั แปบอ่อนได้ 1. วิธีการจาหนา่ ยถว่ั แปบ 1. วทิ ยาก อ่อนในชุมชน ถ่ัวแปบออ่ 2. การกาหนดราคาจาหน่าย 3. วทิ ยาก ทเี่ หมาะสม เหมาะสม

39 สูตรอำชพี กำรทำถว่ั แปบอ่อน จำนวน วัดผล ร 6 ช่ัวโมง ช่วั โมง สอ่ื กำร ประเมินผล สรำ้ งสรรค์ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรียนรู้ กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ - 4 วิทยากร กรอธบิ ายและสาธติ เกี่ยวกับการคดั เลือกวัสดุ ทนี่ ามาใช้ทาถั่วแปบอ่อน กรอธบิ ายและสาธติ ขน้ั ตอนและเทคนคิ การ บอ่อน นลงมือปฏบิ ตั ิการทาถว่ั แปบออ่ น กรอธบิ ายวธิ กี ารคานวณต้นทุนทใ่ี ช้ในการทา 30 - วทิ ยากร/ อน นาที ใบความรู้ นฝึกการคานวณต้นทุนในการทาถว่ั แปบอ่อน กรอธิบายวิธีการคานวณกาไร 30 วิทยากร นฝกึ การคานวณกาไรเบอื้ งตน้ นาที กรอธิบายวิธกี ารจาหนา่ ย อน ในชมุ ชนผู้เรียนฝึกปฏบิ ตั ิ กรอธิบายวิธีการกาหนดราคาจาหน่ายท่ี มผู้เรียนรว่ มกันตั้งราคาท่เี หมาะที่จะจาหน่าย

40 แบบตดิ ตำมผเู้ รียนหลังจบหลกั สูตรกำรศึกษำต่อเนอ่ื ง กศน.ตาบลท่งุ อรณุ อาเภอโชคชยั จังหวดั นครราชสีมา หลกั สตู ร โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถ่ัวแปบอ่อน จานวน 6 ช่ัวโมง วนั ที่ 25 เดือน กุมภาพนั ธ์ 2566 ชอื่ วทิ ยากร นางตุ๋ย ดอกกระโทก คำชแี้ จง แบบตดิ ตามผ้เู รียนหลงั จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษาและรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับประโยชนท์ ผ่ี ้เู รียนได้รับหลักจากเรียนจบแลว้ ที่ ช่อื – สกุล การนาไปใช้ประโยชน์ อนื่ ๆ (ระบ)ุ ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ พฒั นา นาไป 1 นางปลาขาว ลาภกระโทก 2 นางประกอบ ลาภกระโทก คุณภาพ ประกอบ 3 นางหุ่น งบกระโทก ชวี ติ อาชพี 4 นางสายยน จงกลาง 5 นางณัฐนรี มณที รงวฒุ ิ  6 นางจักจัน่ ชูก้ ระโทก      ลงชื่อ ผู้รายงาน (นายดนุพล เจียร์สุคนธ์) ครู กศน.ตาบล

41 1. โครงกำรศนู ยฝ์ กึ อำชพี ชุมชน หลักสูตรอำชพี กำรทำขนมถั่วแปบออ่ น 2. สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ และจดุ เน้นกำรดำเนินงำน สำนกั งำน กศน. ประจำปี งบประมำณ พ.ศ.2566 3. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกชว่ งวยั 3.3 พฒั นาทักษะฝีมือ พัฒนาทางรา่ งกายและจิตใจกลมุ่ ผู้สงู อายุ ให้สามารถพ่ึงพา ตนเองได้ สามารถดาเนนิ ชีวติ ได้เต็มศกั ยภาพ โดยเน้นการดาเนินกิจกรรม 4 มิติ ไดแ้ ก่ ดา้ นสุขภาพ ดา้ นสังคม ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและเทคโนโลยี 4. การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและเพมิ่ ขีดความสาสารถในการแขง่ ขนั 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน อาชพี บรบิ ทพนื้ ท่ี และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของ กล่มุ เปา้ หมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology เพอ่ื การเขา้ สู่การรับรองสรรถนะและได้รับคณุ วฒุ ติ ามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมท้ังสามารถนา ผลการเรียนรู้และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลมุ่ เป้าหมายมีการศกึ ษาในระดบั ที่สงู ขึน้ 4.3 ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ สินคา้ บรกิ ารจากโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน ทเี่ นน้ “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นท่ียอมรับของ ตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่ องทาง ประชาสัมพนั ธ์และช่องทางการจาหนา่ ย สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั พ.ศ. 2562 มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรยี นกำรศกึ ษำต่อเน่อื ง ประเด็นกำรพิจำรณำ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคุณธรรม เป็นไปตามเกณฑ์การจบหลกั สตู ร 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้บนฐาน ค่านิยมร่วมของสงั คม 1.3 ผูจ้ บหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่ืองที่นาความรู้ไปใชจ้ นเหน็ เปน็ ประจกั ษ์หรอื ตวั อย่างท่ีดี 3. หลักกำรและเหตุผล โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน เป็นโครงการสาคัญตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 มีความสอดคล้องกับแผนระดับต่าง ๆ ในการดาเนินการขับเคลื่อน โครงการฯ ท่ีมีความสอดคล้องกบั แผนระดับต่าง ๆ ดังน้ียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2579) ยุทธศาสตร์ ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการ พัฒนาศักยภาพคนตลอดชีวิต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2565 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ด้านการเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ นโยบายรัฐบาล : นโยบายหลัก ข้อที่ 8การ ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการ

42 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากร มนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนงานยุทธศาสตร์ : แผนงานยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพ ให้ประชาชนระดบั ฐานรากทีอ่ าศยั อยู่ในระดับตาบล ประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อย พลาด ขาดโอกาสให้ ได้รบั การพฒั นาสมรรถนะและทกั ษะในการประกอบอาชีพเพื่อการมีรายได้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยใช้หลักสูตร การพัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้น เพ่ือให้ผู้ผ่านการฝึกอาชีพได้รับความรู้ความสามารถนาไปประกอบอาชีพ สรา้ งอาชีพ พัฒนาอาชีพ เพิม่ รายได้ มีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ี ตอ่ ยอดภูมิปัญญาท้องถ่ินสร้างมูลค่าเพิ่ม และพัฒนาสู่ วิสาหกิจชุมชน นอกจากนี้ยังเน้นการจัดการศึกษาท่ียึดพื้นท่ีเป็นฐานในการพัฒนา ( Area-based Development) ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (career-Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสตู รกลุ่มอาชพี ดา้ นเกษตรกรรม หลักสูตรกล่มุ อาชีพด้านอตุ สาหกรรม หลักสูตร กล่มุ อาชีพ ด้าน พาณิชยกรรมและบริการ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้านความคิดสร้างสรรค์ และหลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง ตลอดจนเน้นหลักสูตรการพัฒนาอาชีพup–skill re - skillท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและ ตลาดแรงงาน เพ่ือตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ข้อท่ี 3 ยุทธศาสตร์ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ เปา้ หมายเพื่อพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐาน ทีแ่ ขง็ แกรง่ ของประเทศ เพื่อเป็นการส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพให้กับประชาชน กลุ่มเป้าหมายของ โครงการ ได้นา ความรู้ไปสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างมูลค่าเพิ่ม และยกระดับ ผลิตภัณฑ์สินค้า ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นท่ียอมรับของตลาด และเกิดการรวมกลุ่มพัฒนาเป็นวิสาหกิจ ชุมชนตอ่ ไป จากผลการสารวจข้อมูล ประชาชน มีความต้องการในการฝึกทักษะ อาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ได้ตระหนักถึงความสาคัญ ดังกลา่ วจึงจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรอาชีพการทาขนมถั่วแปบอ่อน จานวน 6 ช่ัวโมง เพื่อฝึก ทกั ษะ สรา้ งรายได้ให้กับกลมุ่ เปา้ หมาย เกิดการพฒั นาความร้ทู ักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ ท่มี ั่นคงและยั่งยนื 4.วตั ถุประสงค์ เพ่ือใหป้ ระชาชนในพ้นื ท่ีตาบลท่งุ อรุณ อาเภอโชคชัย ได้รับความรู้ ทักษะในการทาขนมถั่วแปบอ่อน และสามารถนาไปประกอบอาชีพลดรายจ่าย สร้างรายได้ สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับตนเอง ครอบครัว และ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งใหก้ บั ตนเอง ชมุ ชน สังคม 5.เปำ้ หมำย 5.1 เชิงปรมิ ำณ ประชาชน ตาบลท่งุ อรณุ จานวน 6 คน 5.2 เชิงคุณภำพ ประชาชนที่เข้ารว่ มโครงการฯ ร้อยละ 90 มีความรู้ ทักษะในการทาขนมถว่ั แปบ อ่อน และสามารถนาไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน

43 6.วธิ ีดำเนนิ กำร ที่ กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปำ้ หมำย เป้ำหมำย สถำนที่ ระยะเวลำ หมำยเหตุ จานวน ดำเนนิ กำร 1 สารวจกล่มุ เปา้ หมาย เพื่อสารวจ ประชาชนท่วั ไปใน 6 คน บ้านดอนเกตุ พ.ค. โดยใช้เงนิ งบประมาณ 2566 กลุม่ เปา้ หมาย พ้นื ทตี่ าบลทุง่ อรณุ หมทู่ ่ี 7 2566 แผนงาน: ยุทธศาสตร์เพอื่ จานวน ตาบลทงุ่ อรุณ 2 ขออนมุ ตั ิโครงการ/ เพอ่ื กาหนด ครูอาสาฯ 3 คน อาเภอโชคชัย สนับสนุนด้านการพฒั นา กศน. อาเภอ และเสรมิ ศักยภาพ ประชุม/วางแผน รูปแบบและ ครู กศน.ตาบล จานวน โชคชัย ม.ิ ย. ทรัพยากรมนุษย์ โครงการ 3 คน 2566 ขับเคล่ือนการพฒั นา ดาเนินงาน จัดทา บ้านดอนเกตุ การศึกษาท่ีย่งั ยืน กิจกรรม จานวน หมทู่ ี่ 7 ส่งเสริมศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน แผนการ 6 คน ตาบลทงุ่ อรณุ งบรายจ่ายอืน่ เพ่ือเป็น อาเภอโชคชยั 26 ค่าใช้จา่ ยในการดาเนิน ดาเนนิ งาน บา้ นดอนเกตุ ม.ิ ย. โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพ หมู่ที่ 7 2566 ชมุ ชน ประจางวดที่ 2 3 จดั เตรยี มสอ่ื วัสดุ / เพือ่ จดั เตรียม ครอู าสาฯ ตาบลท่งุ อรณุ กิจกรรมการศึกษาแบบ อาเภอโชคชยั 29 พัฒนาอาชพี ระยะสน้ั กลุ่ม ประสานงานภาคี สือ่ สถานที่ ครู กศน.ตาบล ม.ิ ย. สนใจ (หลักสตู รไม่เกิน30 2566 ช่ัวโมง)รหสั งบประมาณ เครอื ขา่ ย และวิทยากร 20002340052005000033 จานวนเงิน 2,200 บาท 4 กิจกรรม เพื่อให้ ประชาชนทวั่ ไปใน (สองพันสองรอ้ ยบาทถว้ น) ให้ความร้เู ร่ือง ประชาชน พนื้ ที่ตาบลทงุ่ อรุณ 1.ชอ่ งทางการ ตาบลทงุ่ อรณุ ที่เข้ารว่ มโครงการ ประกอบอาชีพการทา ได้รบั การ ขนมถั่วแปบออ่ น พฒั นาความรู้ 2. ทักษะการ ทักษะในการ ประกอบอาชีพการทา ทาถ่วั แปบ ขนมถ่ัวแปบอ่อน ออ่ น 3. ความร้เู บอื้ งต้น เกยี่ วกับการทาขนมถั่ว แปบอ่อน และ อุปกรณ์ ต่างๆ ตลอดจนวิธีการ เก็บรักษาอุปกรณ์ 4.กระบวนการทาขนม ถ่วั แปบออ่ น 5.การคิดราคาตน้ ทนุ และกาไร 6.การจาหนา่ ย ทาขนมถ่วั แปบอ่อน

44 ท่ี กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปำ้ หมำย เปำ้ หมำย สถำนที่ ระยะเวลำ ดำเนนิ กำร 29 5 การนเิ ทศตดิ เพื่อควบคุม/ ครูอาสาฯ จานวน บา้ นดอนเกตุ มิ.ย. 3 คน หมู่ที่ 7 2566 ตามผล กากับติดตาม ครู กศน.ตาบล ตาบลทงุ่ อรณุ จานวน อาเภอโชคชัย 29 ใหเ้ ปน็ ไป 6 คน มิ.ย. บ้านดอนเกตุ 2566 ตามแผน จานวน หมทู่ ี่ 7 3 คน ตาบลทงุ่ อรณุ 10 6 วดั และประเมินผล เพอื่ ประเมนิ ประชาชนทั่วไปใน อาเภอโชคชยั ก.ค. 2566 การจัดกิจกรรม คุณภาพการ พนื้ ท่ีตาบลทุ่ง สกร.อาเภอ โชคชยั ปฏิบตั งิ าน อรุณทเ่ี ข้าร่วม โครงการ 7 สรปุ และรายงานผล เพอ่ื รายงาน ครูอาสาฯ การดาเนินงาน ผเู้ กย่ี วข้อง ครู กศน.ตาบล ทราบ 7.รำยละเอยี ดกำรใช้จำ่ ยวงเงนิ งบประมำณทั้งโครงกำร งบประมาณ2566 แผนงาน: ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประจางวดท่ี 2 กิจกรรมการศึกษาแบบพัฒนา อาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ (หลักสูตรไม่เกิน30 ชั่วโมง)รหัสงบประมาณ 20002340052005000033 จานวน เงิน 2,200 บาท (สองพนั สองร้อยบาทถว้ น) รายละเอยี ดคา่ ใช้จ่ายดงั น้ี 7.1 ค่าตอบแทนวิทยากร (6 ชว่ั โมง x 200 บาท X 1 คน) เป็นเงิน 1,200 บาท 7.2 ค่าวสั ดุฝึก -แป้งข้าวเหนยี ว (จานวน 3 ก.ก. x 50 บาท) เป็นเงิน 150 บาท -ถว่ั เขียว (จานวน 2 ก.ก. x 80 บาท) เป็นเงิน 160 บาท -มะพรา้ วทนึ ทกึ (จานวน 6 ก.ก. x 70 บาท) เปน็ เงิน 420 บาท -นา้ ตาลทราย(จานวน 3 ก.ก x 25 บาท) เป็นเงนิ 75 บาท -งาขาว (จานวน 0.5 ก.ก x 45 บาท) เป็นเงิน 45 บาท -เกลอื ปน่ (จานวน 1 ห่อ x 10 บาท) เปน็ เงนิ 10 บาท -กลอ่ งบรรจุ (จานวน 2 แพ็ค x 70 บาท) เปน็ เงิน 140 บาท รวมเปน็ เงินทัง้ ส้ิน 2,200 (สองพันสองร้อยบำทถ้วน) หมำยเหตุ ทุกรายการถวั จ่ายตามที่จา่ ยจริง

45 8. แผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ กิจกรรม ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 (ต.ค.-ธ.ค.65) (ม.ค.-มี.ค. 66) (เม.ย.-ม.ิ ย. 66) (ก.ค.-ก.ย.66) 1.ประชมุ คณะทางาน 2.ขออนุมัติโครงการแต่งต้ังคณะทางาน - - - - 3.ประสานงาน ประชาสมั พันธ์ และ ประสานภาคีเครือข่าย - - - - 4.จัดกระบวนการเรยี นร้ดู าเนนิ งาน โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน - - - - หลักสตู รอาชพี การทาขนมถ่ัวแปบอ่อน 5.วดั และประเมนิ โครงการฯ - - 2,200 - 6.สรุป รายงานผล และติดตามผลการ ดาเนนิ งานโครงการฯ - -- - - -- - 9.ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำร 9.1 นายดนุพล เจียร์สุคนธ์ ครู กศน.ตาบล 9.2 นางสาวสาวิกา ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล 9.3 นายสมชาย มุง่ ภ่กู ลาง ครู อาสาสมคั ร กศน. 9.4 นางสาวฐติ ิชญาณ์ กง่ิ กลาง ครูผชู้ ่วย 9.5 นางจงรกั ษ์ เชือ่ ปญั ญา ครู อาสาสมัคร กศน. 10. เครือข่ำย - ผนู้ าชุมชนตาบลทงุ่ อรณุ - อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ น (อสม) ตาบลทุง่ อรุณ 11.โครงกำรทีเ่ กี่ยวขอ้ ง - 12. ผลลัพธ์ (Outcomes) ประชาชนที่เขา้ รว่ มโครงการฯ ไดร้ ับการพัฒนาความรู้ทกั ษะในการทาขนมถ่ัวแปบอ่อน สามารถ นาไปประกอบอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สร้างรายได้ ลดรายจา่ ยให้ตนเองและครอบครวั

46 13. ดัชนีช้วี ัดผลสำเรจ็ ของโครงกำร 13.1 ตวั ชว้ี ัดผลผลิต(Outputs) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ จานวน 6 คน มคี วามรู้ ทกั ษะในการทาขนมถว่ั แปบออ่ น 13.2 ตัวช้วี ัดผลลัพธ์(Outcomes) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 90 มีความรู้ ทักษะในการทาขนมถั่วแปบอ่อน สามารถนาไปประกอบอาชพี สรา้ งรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรอื น 14. กำรประเมนิ ผล 14.1 สังเกตการมีส่วนรว่ ม 14.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ(แบบ กศน.ตน.10) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผู้รับผิดชอบโครงกำร นางจงรกั ษ์ เช่อื ปัญญา ครอู าสาสมคั ร กศน. นายดนพุ ล เจียร์สุคนธ์ ครู กศน.ตาบล เบอร์โทรศัพทส์ านกั งาน 044-491255 เบอร์โทรศัพท์ 088-363-8529 เบอรโ์ ทรศพั ท์ 084-0386238 E-mail – Danuponkruohm1234@gmail. Com ลงชอ่ื ผู้เสนอโครงการ (นายดนพุ ล เจียรส์ ุคนธ์) ครู กศน. ตาบล ลงชื่อ ผู้เหน็ ชอบโครงการ (นางจงรกั ษ์ เชือ่ ปัญญา) ครูอาสาสมัคร กศน. ลงชอ่ื ผู้อนมุ ตั โิ ครงการ (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโชคชยั ปฏิบัติหน้าที่ผอู้ านวยการศนู ย์สง่ เสริมการเรยี นรู้อาเภอโชคชยั

47 ที่ปรึกษำ คณะผูจ้ ัดทำ ผ้อู านวยการ สกร.อาเภอโชคชัย นางนางจีระภา บรรณารกั ษช์ านาญการพิเศษ นางสุวมิ ล วัฒนกสิการ ครู นายพงศพ์ ันธ์ หาญกล้า ครูผชู้ ว่ ย นางสาวฐติ ิชญาณ์ ใหญ่โคกกรวด ก่งิ กลาง วิเครำะห์ เรยี บเรยี ง และจัดทำต้นฉบับ นางสาวสาวิกา ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล นายดนพุ ล เจยี ร์สคุ นธ์ ผอู้ านวยการ สกร.อาเภอโชคชัย บรรณำธิกำร วฒั นกสิการ ครู นางนางจีระภา ใหญ่โคกกรวด ครผู ชู้ ่วย นายพงศ์พันธ์ ก่งิ กลาง เจา้ หน้าท่ีธรุ การ นางสาวฐิติชญาณ์ เน่อื งกระโทก นางสาวอรอนงค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook