ละครตะวนั ตกยคุ ฟนฟู
หลังจากสงครามครูเสดจบลง ยุโรปก็เข้าสู่สมยั ฟ้ นื ฟศู ิลปวิทยา โดยในช่ วงแรกความรู ้ทางด้านศิ ลปะและวิทยาการของกรีกและโรมัน ได้ถูกนําเขา้ ผา่ นทางเอกสารและหนังสือที่นักวิชาการมสุ ลิมในอาหรับ ได้แปลไว้ เช่น ปรัชญาของอริสโตเติล และคณิตศาสตร์ของกรีก
๑)ละครของอติ าลใี นยุคฟน ฟูศลิ ปวทิ ยา ละครในสมยั นี้จะแยกตวั ออกมาจากศาสนา เปน ละครทช่ี าวบานใหความนิยม เเยกออกเปน ๑.๑)คอมเมอเดยี เดลา เต (ComediaDell’arte) เปน ภาษาอติ าเลยี นท่ใี ชเ รียนคณะ ละครกลมุ อาชพี ซึ่งเดนิ ทางไปแสดงในที่ตางๆ เปนละครตลกท่มี ีตัวละครเปน คนรบั ใช เปนตวั ละครทคี่ นชอบดูมากท่ีสดุ เพราะคนรับใชในละครทุกชาตทิ กุ ภาษาจะมคี วาม สาํ คัญเหมอื นกันหมด ลักษณะการเเสดงคลา ยละครใบของกรกี เเละโรมนั ละครประเภทนจี้ ะเเสดงเปน ตวั ละตวั ตัวใดตัวหน่งึ อยูเปน ประจําและจะมีตัวละคร ประเภทที่เรยี กวา “stock chactor” คอื ตวั ละครที่มีบุคลิกตายตวั อทิ ธิพลของการเเสดง คอมเมอเดยี เดลา เต มไี ปทว่ั ยโุ รป สวนสถานที่ทใ่ี ชแสดงจะมหี ลายท่ี เชน จตรุ สั กลาง เมอื ง เสทีเเสดงละคร เปนตน
๑.๒)อุปรากร (Opera) อปุ รากรเกดิ ข้นึ ในอติ าลีชว งปลายศตวรรษที่ ๑๖ ณ สถาบนั ฟรอเลนไทน (Florentine Academy) พฒั นามาจากละครโศกนาฏกรรมของกรีกโดยผสมผสานดนตรีเเละละครเขา ดว ยกนั องคป ระกอบของอุปรากร ก็คอื Aria และ Recitative Aria เปนเพลงทีร่ องเด่ยี วรว มกับวงออรเ ศสดรา หรือ รองคู(Duets) รอ ง สามคน (Trio)หรอื รอ งส่คี น(Quartets) สวน Recitative เปน เพลงที่รอ งโตต อบเหมือน บทสนทนา ของละครอุปรากรในเร่อื งเเรกคอื เรอื่ งดาฟนี โดยนําเอาเน้ือเรอ่ื งมาจาก เทพนยิ ายของ กรกี นําออกเเสดงในป ค.ศ.๑๕๗๙
ละครสมัยอติ าลี
ละครตะวันตกสรางข้นึ มาแตกตา งจากละครยุคกลาง โดยการวาดรปู มีค วามลึก ใหเ หมือนความจริง ใชวธิ ตี างๆทเ่ี ปล่ยี นฉากตอหนา คนดู มกี าร ใชเวทีทรงกรอบรปู มา น เคร่ืองรอก เทคนิกตางๆ การใชเทยี นหรอื ตะเกียง ประเภทของละครอิตาลี 1 ละครโศกนาฏกรรม 2 ละครตลก 3 ละครพาสตอราล ภาพโรงละครอติ าลียุคปจจบุ ัน
โรงละครของอิตาลี โรงละครเก่าเเก่ที่ยังเหลืออยใู่ นปัจจุบนั คือ โรงละครเตอาโตรโอลิมปิโก (TeatroOlimpico) สร้างโดยเเอนเดรียพาลลาดิโอในเมอื งวิเซนซาเวทีเเละภายในโรงละคร คล้าบกับโรงละคร ของโรมนั บรรจุคนได้ 3,000 คนที่น่ังชมโค้งเป็นคร่ึงวงกลม ทางเข้า-ออกท่ีผนังฉากมี 3 ทาง ละครยคุ พืน้ ฟูในอิตาลี เน้นจุดสําคัญในเรื่อง ภาพที่น่าต่ืนเต้น เทคนิค เเสง เสียง เปน็ พิเศษ เช่ น เสียงลม ฟา้ เเลบ ฟา้ ร้อง เทคนิคการชั กรอก การใช้ ประตูกล เปน็ ต้น อิทธิพลของ งานละครอิตาลีจึงปรากฎในละครตะงันตกทางด้านลักษณะของโรงละคร เวที ฉาก ไฟ เเสง สี เทคนิคพเิ ศษ เเละละครตลกส้ันๆท่ีเรียกว่า “คอมเมอเดีย เดลา เต้ กับ อุปรากร”
ละครสมัยองั กฤษ
ละครในประเทศองั กฤษ ไดรบั อทิ ธิพลจากละครยคุ กลางมากกวายุคเรอ เนซองสของอติ าลี นักเขยี นบทละครคนสาํ คญั ของอังกฤษ คือ วิลเลยี ม เชคสเปยร (William Shakespeare) ซ่ึงมชี ีวติ อยรู ะหวา ง พ.ศ.2107 – 2159 (ตรงกบั สมยั เสียกรุงศรอี ยธุ ยาครั้งที่ 1 พ.ศ.2112 สมยั พระนเรศวร กูก รงุ ศรีอยธุ ยา และสมัยพระเจา ปราสาททอง) เชคสเปยร เขียนบทละคร ทงั้ หมดประมาณ 38 เรอ่ื ง โดยแบง เปน 3 ประเภท คือ (1) ละครประวตั ิศาสตรประเทศองั กฤษ เชน รชิ ารดที่ 2 เฮนรท่ี ่ี 4 เฮน รที่ ี่ 5 ฯลฯ (2) ละครคอมเมดี เชน ตลกเขา ใจผิด, ตามใจทา น, คืนท่สี ิบสอง ฯลฯ (3) ละครแทรจิดี อัจฉรยิ ะของเชคสเปยร ปรากฎเดน ชัดที่สดุ ในละคร ประเภทนี้ เชน เรอ่ื งโรเมโอและจูเลียต แฮมเลต็ แมคเบธ
วลิ เล่ียม เชกสเปรียร จดั ไดว า เปนทงั้ นักกวแี ละนักเขียนบทละครชื่อดังของโลกชาวอังกฤษ ถือวา เปน นกั กวที ี่ ไดร ับการกลา วขานไปทัว่ โลกดวยฝม ือและลลี าการเขียนทีไ่ มว าใครไดอานหรือไดร ับชม ละครที่เขาเขยี นตา งก็หลงใหลและชื่นชอบดวยกันทั้งสน้ิ รูจ กั กันในชื่อวิลเลย่ี ม เชกส เปยร ผทู ี่ทําใหโ ลกไดร จู กั กบั คําวาโรแมนตกิ อยางแทจริง
จอรจ เบอรน ารด ชอว เปน นักเขียนบทละครชาวไอริช เกดิ ทเี่ มอื งดับลิน ยา ยมาอยกู รุงลอนดอนเมอ่ื อายไุ ด 20 ปและตอ มาเขาเรมิ่ ตน ชวี ติ การทาํ งานดว ยการประพนั ธเ พลงและเขียนบท วิจารณวรรณกรรม ตอ มาจึงหันมาเขยี นบทละคร และมคี วามชาํ นาญในการ ประพันธบทละครแนวชีวิต ชอวมีผลงานบทละครมากกวา 60 เรอื่ ง สว นใหญมี เน้ือหาทส่ี ะทอนถงึ ปญ หาสงั คม เขาไดรบั รางวลั โนเบลสาขาวรรณกรรม ในป ค.ศ. 1925 และไดร บั รางวัลออสการ สาขาบทภาพยนตรดัดแปลงยอดเยี่ยม ในป ค.ศ. 1938
รายช่อื สมาชิกกลมุ ท่ี4 1 นายกญุ ช จนั ทรแกว เลขที่4 ม.3/8 2 ด.ช.คมกฤษ โพธิ์ทองติยานนท เลขที่6 ม.3/8 3 ฐิติศักด์ิ สังฆเวช เลขท่ี10 ม.3/8 4 ด.ช. ณัฐปคลั ภ เนตรวจิ ติ ร เลขที่12 ม.3/8 5 นาย วรชัย มรคา เลขท่ี37 ม.3/8 6 นายวรสนิ ธุ ลาภวเิ ศษ เลขที่38 ม.3/8 7 ด.ช. วชั ระ พาลี เลขที่39 ม.3/8 8 ด.ช. อิทธพิ ัทธ จงประเสรฐิ เลขท่ี46 ม.3/8
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: