Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการให้บริการช่วงเชื่อมต่อภายในศูนย์การศึกษาพิเศษ

แนวทางการให้บริการช่วงเชื่อมต่อภายในศูนย์การศึกษาพิเศษ

Published by NSEC Chanel, 2021-06-10 10:58:44

Description: แนวทางการให้บริการช่วงเชื่อมต่อภายในศูนย์การศึกษาพิเศษ

Search

Read the Text Version

แนวทาง การใหบ้ รกิ ารชว่ งเชือ่ มต่อ ภายในศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั นครสวรรค์ สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทหน้าที่ในการให้บริการช่วยเหลือระยะ แรกเริ่มและเตรียมความพร้อมคนพิการเพื่อเข้าสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนเรียนร่วม โรงเรยี นเฉพาะความพิการ ศูนยก์ ารเรยี นเฉพาะความพิการ ผ่านระบบช่วงเช่อื มต่อสำหรับคนพกิ ารในลักษณะ ชว่ งเชอ่ื มต่อภายในและภายนอก การให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของศูนย์การศึกษาพิเศษ จำเป็นต้องมีการดำเนินงานให้บริการ นักเรียนในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น โดยดำเนินการผ่านกระบวนการช่วง เชื่อมต่อในแต่ระดับ ได้แก่ การส่งต่อในระดับชั้นเรียน และการส่งต่อเพื่อรับบริการบำบัดทางเลือก เช่น ทางการแพทย์ ทางการศึกษา ทางอาชพี เพื่อให้การดำเนินการช่วงเชื่อมต่อภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมีระบบที่ชัดเจน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์ จึงได้ดำเนินการจัดทำแนวทางการให้บริการช่วงเชื่อมต่อภายในศูนย์การศึกษา พเิ ศษ เพ่อื เปน็ แนวปฏบิ ัติใหแ้ ก่ผเู้ กย่ี วขอ้ งดำเนินการได้อย่างมีระบบและประสทิ ธิภาพตอ่ ไป ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์ กรกฎาคม 2563

สารบญั ตอนที่ 1 บทนำ……………………………………………………………………………………………………… หนา้ ความเป็นมาและความสำคญั ………………………………………………………………. 1 ตอนท่ี 2 ความหมายช่วงเช่ือมต่อ……………………………………………………………………… 1 วตั ถุประสงค์ของแนวทาง…………………………………………………………………… 2 ตอนท่ี 3 ประโยชน์ที่ได้รบั ………………………………………………………………………………… 3 บรรณานุกรม 3 ภาคผนวก กระบวนการให้บรกิ ารช่วงเชื่อมต่อ.................................................................... 4 ระยะที่ 1 การเตรยี มการ…………………………………………………………………….. 4 ระยะที่ 2 การดำเนนิ งาน…………………………………………………………………….. 4 ระยะที่ 3 การนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล……………………………………………… 4 5 รูปแบบการให้บริการช่วงเชื่อมต่อภายใน………………………………………………….. 5 ชว่ งเชอ่ื มตอ่ ระดบั ช้นั เรียน………………………………………………………………………… 10 การใหบ้ ริการชว่ งเชื่อมต่อเพ่ือรบั บรกิ ารบำบัดทางเลอื ก……………………………….. 14 ………………………………………………………………………………………………………………. 15 ............................................................................................................................. 17 แบบการให้บริการช่วงเชื่อมต่อระดบั ช้ันเรียน...................................................... 21 แบบการใหบ้ ริการช่วงเชอื่ มต่อเพ่ือรับบรกิ ารบำบดั ทางเลอื ก…………………………

1 ตอนท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในประเทศไทยได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนพิการ โดยได้ กำหนดกฎหมายรองรับการจดั การศกึ ษาสำหรับคนพกิ ารท่ีสอดคล้องกับสทิ ธิมนุษยชนและวิสยั ทศั น์การพัฒนา ประเทศ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 10 บญั ญัตใิ ห้ “การจดั การศึกษาต้องจัดใหบ้ ุคคลมสี ิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม้น้อย กว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความ บกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือ ทุพพลภาพ หรือบุคคลซึง่ ไม่สามารถพึ่งตนเองไดห้ รือไม่มีผูด้ ูแลหรอื ด้อยโอกาสต้องจัดใหบ้ ุคคลดังกล่าวมีสิทธิ และโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : 4) และ พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 บัญญัติให้ “คนพิการมีสิทธิทางการศึกษาดังนี้ 1) ไดร้ ับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ยตั้งแตแ่ รกเกดิ หรือพบความพิการจนตลอดชวี ิตพร้อมทง้ั ได้รับเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา 2) เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา โดยคำนึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและความตอ้ งการ จำเป็นพิเศษของบุคคลนั้น 3) ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษารวมทั้งการจัด หลกั สูตรกระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษาทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกบั ความต้องการจำเป็นพเิ ศษของ คนพิการแตล่ ะประเภทและบคุ คล” (พระราชบญั ญตั กิ ารจดั การศกึ ษาสำหรับคนพกิ าร พ.ศ. 2551 : 3) เห็นได้ว่ากฎหมายได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของคนพิการเป็นอย่างมาก นอกจากนี้หน่วยงาน ทางการศกึ ษายังมปี รชั ญาและความเช่ือด้านการจัดการศึกษาเพ่ือคนพิการ คือ 1) เด็กทกุ คนมโี อกาสเท่าเทียม กนั ในการรบั บริการทางการศกึ ษาและอน่ื ๆ จนสามารถไดร้ บั ประโยชนส์ ูงสดุ ตามศกั ยภาพของตน 2) การจัดการศึกษาเพื่อคนพิการหรือคนที่มีความต้องการพิเศษ ควรจัดให้เร็วที่สุดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ ความ พิการ การจัดการบริการทางการศึกษาควรจัดโดยวิธีการทำงานร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ ด้านการแพทย์ การศึกษา สังคม และอาชีพ รวมทั้งจัดโปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพที่เหมาะสม เพื่อสนองตอบ ความต้องการจำเป็นของคนพิการให้มีความรู้ ความสามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาประเทศ 3) การศึกษาจะทำใหเ้ ด็กพกิ ารสามารถอย่หู รอื ใชช้ วี ติ ในสังคมได้อยา่ งเต็มศักยภาพ 4) การฟน้ื ฟูสมรรถภาพโดยชุมชน ต้องอาศัยความรว่ มมือ การใชท้ รพั ยากร และหนว่ ยงานบริการตา่ ง ๆ ในชมุ ชน ร่วมกัน โดยได้รับการสนับสนุนจากชุมชนและระบบส่งต่อ จะเป็นกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการที่ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพของชุมชนและสง่ ผลตอ่ การพฒั นา การบริการ และการจัดการศกึ ษาสำหรบั คน พกิ ารใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่งิ ข้ึน ศูนย์การศึกษาพิเศษมีบทบาทหน้าที่ในการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มและเตรียมความพร้อม คนพกิ ารเพื่อเข้าสู่ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก โรงเรยี นอนุบาล โรงเรยี นเรียนร่วม โรงเรยี นเฉพาะความพิการ ศูนย์การ เรียนเฉพาะความพิการ ผ่านระบบช่วงเชื่อมต่อในลักษณะช่วงเชื่อมต่อภายในและภายนอก เพื่อให้การ ดำเนินการช่วงเชื่อมต่อภายในมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์จงึ จัดทำแนวทางในการดำเนนิ การชว่ งเชื่อมตอ่ ภายในศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ เพือ่ ใหก้ ารดำเนินการมีประสิทธิภาพ

2 ความหมายชว่ งเชื่อมต่อ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (ม.ป.ป. : 29) ได้ให้ความหมาย การเปลี่ยนผ่าน (Transition) คือ การเปลี่ยนจากระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง เช่น การเปลี่ยนแปลงจาก สถานที่ สภาพแวดล้อม ระยะเวลา จากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่ง โดยมีเป้าหมายอยู่ข้างหน้าที่มีสภาพดีกว่าปัจจุบัน ดังนั้น การจัดช่วงเชื่อมต่อสำหรับผู้เรียนพิการ จึงอาจหมายถึง กระบวนการเลื่อนระดับการดำเนินชีวิตจาก ระดับหนึ่งไปสู่อกี ระดับหนึ่ง เชน่ จากบ้านสู่ศนู ยเ์ ตรยี มความพร้อมก่อนวัยเรยี น ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ โรงเรียน จากช้นั เรียนสู่ช้นั เรียน และจากโรงเรยี นส่ชู มุ ชน เป็นตน้ โดยการดำเนนิ การเปล่ยี นผ่านต้องมีการวางแผนและ จัดทำแผนการเปลี่ยนผ่านเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อเป็นหลักประกันวา่ ผู้เรียนจะได้รับการเตรียมความพร้อม ในการเปล่ียนผ่าน เชน่ เดียวกบั การมแี ผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล กนกพร นทีธนสมบัติ (2555 : 105) ได้ให้ความหมาย การเปลี่ยนผ่าน คือ การเคลื่อนผ่านจากช่วง ชวี ิตหนึ่ง ชว่ งเงือ่ นไขหนึ่ง หรอื ชว่ งภาวะหนึง่ ไปสูอ่ กี ช่วงชีวิตหนง่ึ อกี ช่วงเงอ่ื นไขหนึ่ง หรอื อกี ชว่ งภาวะหน่ึง สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2555 : 3) ได้ให้ความหมาย การบริการสนับสนุนในระยะ เปลยี่ นผ่าน (Transition Services) หมายถงึ กระบวนการการใหบ้ ริการสนบั สนนุ ท่ีเน้นผล ที่จะเกิดข้ึนต่อตัว คนพิการ โดยเน้นการช่วยเหลือให้คนพิการมีพัฒนาการทางวิชาการ และการใช้ชีวิตประจำวันในระหว่างที่มี การเปลี่ยนผ่านจากโรงเรียนประถมศึกษาไปสู่ระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ หรือการศึกษาสายอาชีพ รวมท้ัง การฝึกประกอบอาชีพ การดำรงชีวิตด้วยตนเองและการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมในฐานะผู้ใหญ่คนหน่ึง กระบวนการที่เน้นความต้องการเฉพาะบุคคลของคนพิการ และคำนึงถึงศักยภาพ ความสามารถและความ สนใจของแต่ละบุคคล กระบวนการ ที่รวมถึงการเรียนการสอน การให้บริการสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับการ เรยี นการสอน การสนบั สนนุ การมีสว่ นร่วมทางสงั คม การประกอบอาชพี และปรบั ตวั สเู่ ข้าส่วู ัยผู้ใหญ่ กรองแก้ว จุลิรัชนีกร (2556 : 90) ได้ให้ความหมาย การจัดทำแผนช่วงต่อ (Transition Plan) เป็น การวางแผนการส่งต่อเด็กหรือการถ่ายโอนเด็กจากระดับหนึ่งสู่อีกระดับหนึ่งในสถานที่เดิมและสถานที่ใหม่ โดยครูที่อยู่ชั้นเดิมจะต้องสรุปผลการประเมิน ผลการเปลี่ยนแปลงทางพัฒนาการ ความสามารถ รวมถึงการ วางแผนการจัดประสบการณ์ในการสอน การจัดกิจกรรมในระดับต่อไป และการถ่ายโอนข้อมูลต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเด็ก เพอ่ื ส่งตอ่ ให้กับครหู รอื ผู้รับผดิ ชอบเด็กท่ีมคี วามต้องการพเิ ศษในระดับต่อไป สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (2561 : 13) ได้ให้ความหมาย การเปลี่ยนผ่าน หมายถึง กระบวนการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนจากระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่งหรือจากระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่ หรือจาก สถานท่เี ดิมไปยงั สถานท่ีใหม่ จะเห็นได้ว่า คำว่า การบริการสนับสนุนในระยะเปลี่ยนผ่าน การเปลี่ยนผ่าน การจัดทำแผนช่วงต่อ มีความหมายใกล้เคียงกัน โดยในแนวทางการดำเนินงานนี้ใช้คำว่า ช่วงเชื่อมต่อ ซึ่งหมายถึง กระบวนการ เคลื่อนยา้ ยเปลี่ยนจากระดับหนึง่ ไปสู่อีกระดบั หนึ่ง หรือจากสถานที่เดิมไปยงั สถานที่ใหม่ โดยมีการจัดทำแผน เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมลี กั ษณะช่วงเชื่อมต่อ 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1) การใหบ้ รกิ ารชว่ งเชือ่ มต่อระดับช้ันเรียน 2) การให้บริการช่วงเชื่อมต่อระหว่างศูนย์การศึกษาพิเศษ หน่วยบริการ และบ้าน 3) การให้บริการช่วง เชอ่ื มต่อเพ่ือรับบริการเพม่ิ เตมิ

3 วตั ถปุ ระสงค์ของแนวทาง เพื่อให้ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์ ใช้เป็นแนวทางในการให้บริการช่วงเชื่อมต่อ ภายในศูนย์การศึกษาพิเศษสำหรบั นักเรยี นพิการ ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั 1. พฒั นาประสิทธภิ าพในการจดั การศกึ ษาพิเศษของสถานศึกษา 2. นักเรียนพิการได้รับบริการชว่ งเช่ือมตอ่ ทเ่ี หมาะสมเปน็ รายบุคคล 3. สถานศึกษาดำเนินงานให้บริการช่วงเชื่อมต่ออย่างเป็นระบบและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ

4 ตอนท่ี 2 กระบวนการใหบ้ ริการช่วงเชือ่ มต่อ กระบวนการให้บริการช่วงเช่ือมต่อเป็นกระบวนการที่ช่วยให้นักเรียนพิการได้รับโอกาสทางการศึกษา อย่างเหมาะสม ผู้เกี่ยวข้องกับการให้บริการช่วงเชื่อมต่อควรมีการเตรียมการดำเนินการและให้การสนับสนุน โดยจำเป็นต้องมีการกำหนดแผนเป็นลายลักษณ์อักษร โดยครอบครัวและผู้เกี่ยวข้องให้การสนับสนุน โดย รูปแบบในการใหบ้ รกิ ารช่วงเชอ่ื มตอ่ ภายในศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์ มีรปู แบบดงั นี้ 1. ช่วงเชอ่ื มตอ่ ระดบั ช้ันเรียน 2. การใหบ้ รกิ ารชว่ งเช่ือมต่อเพ่อื รบั บริการทางเลอื ก อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการชว่ งเชื่อมต่อในรปู แบบใด จำเปน็ ต้องใช้กระบวนการเดียวกัน ซึ่งได้แก่ ขน้ั การเตรียมการ ข้นั การดำเนนิ การ และขั้นการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ขัน้ ตอนการให้บรกิ ารช่วงเชือ่ มต่อ ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการชว่ งเชอ่ื มตอ่ แบ่งเปน็ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 การเตรยี มการ ระยะท่ี 2 การดำเนนิ งาน ระยะท่ี 3 ตดิ ตาม ประเมินผล ระยะที่ 1 การเตรียมการ สถานศกึ ษาความเตรียมการดังนี้ 1. กำหนดบคุ คลรบั ผดิ ชอบงานใหบ้ รกิ ารชว่ งเช่อื มต่อ 2. ช้ีแจงแนวทางการดำเนินงานการให้บรกิ ารช่วงเชอ่ื มต่อใหค้ รูและบุคลากรได้รบั ทราบ 3. แต่งต้ังคณะกรรมการจัดทำแผนการให้บรกิ ารช่วงเชื่อมต่อ 4. เตรียมสถานท่ี ส่อื อุปกรณ์ และเคร่ืองมือ ระยะที่ 2 การดำเนนิ งาน 1. ประชุมคณะครเู พื่อดำเนนิ การให้บริการชว่ งเช่อื มตอ่ ภายใน วา่ สมควรสง่ ตอ่ ระดบั ช้นั หรือสง่ ไปใหบ้ ริการ ทางเลอื ก ตามปญั หาของนกั เรียน 2. ประเมนิ ความสามารถของนักเรยี น 3. วางแผนการดำเนนิ งานโดยครผู รู้ ับผดิ ชอบและบุคคลทเ่ี ก่ียวข้อง 4. ดำเนินการตามแผนท่วี างไว้ 5. บันทกึ ผลการทำกิจกรรมตา่ งๆ ตามทร่ี ะบไุ วใ้ นแผน ระยะท่ี 3 ติดตาม ประเมนิ ผล 1. ครูผรู้ ับผิดชอบตดิ ตามผล เมอ่ื ส่งต่อใหบ้ ริการบำบัดทางเลอื ก 2. ประเมนิ ผลการดำเนินกจิ กรรมตามแผนท่กี ำหนด 3. กรณีสง่ ตอ่ ระดบั ชน้ั เรียนให้ประเมินผลตามจดุ ประสงค์ ถ้าผา่ น รอ้ ยละ 70 สามารถสง่ ต่อไปรบั ช้ันเรียนต่อไปได้ 4. ครูผู้ให้บริการบำบัดทางเลือกบนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิของนักเรยี น และใหข้ ้อเสนอแนะในการพัฒนาศกั ยภาพต่อไป

5 ตอนท่ี 3 รปู แบบการให้บริการช่วงเชอื่ มตอ่ ภายใน กระบวนการให้บริการช่วงเช่ือมต่อเป็นกระบวนการที่ช่วยให้นักเรยี นพิการได้รับโอกาสทางการศึกษา อย่างเหมาะสม ผู้เกี่ยวข้องกับการให้บริการช่วงเชื่อมต่อควรมีการเตรียมการดำเนินการและให้การสนับสนุน โดยจำเป็นต้องมีการกำหนดแผนเป็นลายลักษณ์อักษร โดยรูปแบบในการให้บริการช่วงเชื่อมต่อภายในศูนย์ การศกึ ษาพิเศษ ประจำจังหวัดนครสวรรค์ มรี ปู แบบดังนี้ 1. ช่วงเชอ่ื มต่อระดับชั้นเรยี น 2. การให้บรกิ ารช่วงเช่ือมต่อเพื่อรบั บริการบำบดั ทางเลอื ก ตวั อย่าง ชว่ งเชื่อมต่อระดับช้นั เรียน การใหบ้ รกิ ารชว่ งเชอ่ื มต่อระดบั ช้ันเรียน ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจำจังหวดั นครสวรรค์ ปีการศกึ ษา....2561... ชื่อ-สกุลนักเรียน......เดก็ หญงิ มะลิ..........มาลัย...................................................... ประเภทความพกิ าร......บคุ คลออทสิ ติก..........ระดบั ช้นั ....ออทสิ ติกฝกึ ได้.... ครูผรู้ บั ผดิ ชอบ......นางสาวยอกร พกุ ทอง......................................... เปา้ หมาย ส่งตอ่ สู่ระดับช้ัน....ออทสิ ติกเรียนได.้ .........ปีการศึกษา.....2562.... ครปู ระจำช้นั ........นายอนรุ ักษ์ สงิ หก์ ล่ิน...................................... การบริการชว่ งเชื่อตอ่ ระดับชัน้ เรียน ชอ่ื -สกุลนักเรียน.....เดก็ หญงิ มะล.ิ ..มาลัย..........อาย.ุ ........6 ขวบ......................... ประเภทความพกิ าร.......บุคคลออทสิ ติก....................ระดับชั้น.........ออทิสตกิ ฝึกได้.....

6 ข้อมูลเพอื่ วางแผนการให้บริการ ทักษะ ความสามารถปจั จุบนั ความสามารถของนักเรียน กล้ามเนอ้ื มดั ใหญ่ สามารถเดินและว่ิงไดด้ ้วยตนเอง ในระดบั ชัน้ ต่อไป สามารถเดนิ และวิ่งได้ด้วยตนเอง กลา้ มเนอ้ื มดั เล็ก สามารถหยิบจบั ส่ิงของได้ สามารถเขยี นหนังสือตามรอยปะได้ สามารถขดี เขียนได้บา้ ง สามารถระบายสีไม่ออกนอกกรอบ การชว่ ยเหลือตนเองใน มากเกนิ ไป ชวี ติ ประจำวัน สามารถกินขา้ วเองได้ กนิ ข้าวได้ด้วยตนเอง สามารถถอดกางเกงได้ด้วยตนเอง สามารถถอด สวมเสือ้ และกางเกงได้ การรับรแู้ ละแสดงออกทางภาษา สามารถพดู เป็นคำได้เป็นบางคำ สามารถบอกคงวามต้องการได้ดว้ ย วิธตี ่างๆ ทางสังคม สามารถอยูร่ ่วมทำกิจกรรมกลุ่มกับ สามารถรว่ มทำกจิ กรรมกลมุ่ เพื่อนไดน้ าน 3 นาที กับเพ่ือนได้ นาน 6-10 นาที ทางสตปิ ัญญา รจู้ กั สี จำนวน 4 สี ไดแ้ ก่ รจู้ ักสี จำนวน 6 สี สแี ดง สเี ขียว สีเหลอื ง สชี มพู รู้จักตัวเลข 1-5 จำเปน็ เฉพาะความพกิ าร ไม่อยนู่ ิ่ง สมาธิสน้ั สามารถมีสมาธใิ นการเรียน

7 เป้าหมาย แผนการใหบ้ รกิ าร ตวั ชวี้ ัดความสำเร็จ ผู้ใหบ้ รกิ าร กล้ามเนื้อมัดใหญ่ - วิธีการดำเนินการ นางสาวยอกร กลา้ มเน้ือมดั เลก็ พุกทอง 1. เขยี นหนังสือตามรอยปะได้ -- 2. สามารถระบายสไี ม่ออกนอกกรอบ ฝกึ เขียนตามรอยปะตามเส้น สามารถเขียนตามรอยปะได้ พืน้ ฐาน 5 เส้นพน้ื ฐาน การช่วยเหลือตนเองในชีวติ ประจำวนั 1. สามารถถอด สวมเสื้อและกางเกงได้ ฝึกระบายสโี ดยมีกรอบและฝึก สามารถระบายสีออกนอกกรอบ ระบายสีโดยเอากรอบออก เล็กนอ้ ย การรบั รแู้ ละแสดงออกทางภาษา 1. สามารถบอกคงวามตอ้ งการได้ ฝกึ การถอด และสวมกางเกง นักเรียนสามารถถอด และสวม ทางสังคม เอวยดื และเสอื้ คอกลม กางเกงเอวยดื และเส้ือคอกลมได้ 1. สามารถรว่ มทำกจิ กรรมกลมุ่ กบั เพ่อื นได้ นาน 6-10 นาที ด้วยตนเอง ทางสติปญั ญา ฝึกการบอกความตอ้ งการ เช่น นกั เรียนสามารถบอกความ 1. รู้จกั สี จำนวน 8 สี เขา้ ห้องน้ำ หวิ น้ำ ตอ้ งการเข้าหอ้ งน้ำ หวิ น้ำ ไดด้ ว้ ย วธิ ีการตา่ งๆ ได้ เชน่ ช้ีบอก หรือ 2. รูจ้ กั ตวั เลข 1-5 พูดเป็นคำสั้นๆ จำเป็นเฉพาะความพิการ ฝึกการทำกิจกรรมกลุ่มกับ นักเรียนสามารถทำกิจกรรมกลมุ่ 1. มสี มาธิในการทำงาน 6-10 นาที เพื่อนโดยใชก้ ิจกรรมที่ ได้นาน 6-10 นาที สามารถอยนู่ ิ่งได้ ไม่เดินไปมาใน หลากหลาย ห้องเรยี นตลอดเวลา ฝึกใหน้ ักเรยี นรู้จกั สี ได้แก่ นักเรียนรจู้ ักสี ไดแ้ ก่ สีแดง สเี ขียว สแี ดง สเี ขียว สีเหลอื ง สชี มพู สเี หลือง สีชมพู สฟี า้ สีมว่ ง สีขาว สฟี ้า สีม่วง สีขาว สดี ำ สีดำ ได้ด้วยตนเอง ฝึกใหน้ กั เรียนรู้จักตัวเลข 1-5 นกั เรยี นรจู้ ักตัวเลข 1-5 ได้ดว้ ย โดยใชบ้ ตั รภาพ ตนเอง ฝกึ สมาธิใหแ้ ก่นักเรียนโดยใช้ นักเรยี นมสี มาธดิ ขี ้นึ สามารถ กิจกรรมที่หลากหลาย ทำงานไดส้ ำเร็จตามท่ีครกู ำหนด และสง่ ตอ่ ให้นกั กิจกรรมบำบดั โดยมสี มาธใิ นการทำงาน 6-10 เพอ่ื ฝึกสมาธแิ ละให้อยู่นิ่ง นาที

8 รายงานผลการให้บรกิ าร เป้าหมาย ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ ผลการปฏิบตั ิ สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิ ผ่าน ไมผ่ ่าน กล้ามเน้อื มดั ใหญ่ ✓ - -- ✓ ✓ กลา้ มเน้ือมัดเล็ก ✓ 1. เขยี นหนังสือตามรอยปะได้ สามารถเขียนตามรอยปะได้ นักเรียนสามารถเขียนตามรอย ✓ 5 เส้นพ้ืนฐาน ปะได้ 5 เส้นพ้นื ฐาน ✓ 2. สามารถระบายสีไม่ออก สามารถระบายสีออกนอก นักเรียนสามารถระบายสีออก ✓ ✓ นอกกรอบ กรอบเล็กนอ้ ย นอกกรอบเล็กน้อย 75 25 การช่วยเหลอื ตนเองในชวี ติ ประจำวนั 1. สามารถถอด สวมเสอ้ื และ นกั เรียนสามารถถอด และ นักเรียนสามารถถอด และสวม กางเกงได้ สวมกางเกงเอวยืด และเส้ือคอ กางเกงเอวยืด และเส้ือคอกลม กลมไดด้ ว้ ยตนเอง ไดด้ ้วยตนเอง การรบั รแู้ ละแสดงออกทางภาษา 1. สามารถบอกคงวามต้องการได้ นักเรียนสามารถบอกความ นกั เรยี นสามารถบอกความ ตอ้ งการเข้าห้องนำ้ หวิ น้ำ ได้ ตอ้ งการเข้าห้องน้ำ หวิ น้ำ ได้ ด้วยวิธกี ารต่างๆ ได้ เชน่ ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ ได้ เช่น ชี้บอก ช้บี อก หรอื พดู เปน็ คำสั้นๆ หรือพูดเป็นคำสั้นๆ ทางสงั คม 1. สามารถรว่ มทำกิจกรรมกลมุ่ นกั เรียนสามารถทำกจิ กรรม นักเรยี นสามารถทำกิจกรรมกลมุ่ กับเพอ่ื นได้ นาน 6-10 นาที กล่มุ ไดน้ าน 6-10 นาที ได้นาน 5 นาที ทางสตปิ ญั ญา นักเรยี นรจู้ ักสี ไดแ้ ก่ สแี ดง นักเรียนรจู้ กั สี ไดแ้ ก่ สีแดง 1. รจู้ ักสี จำนวน 6 สี สีเขียว สเี หลือง สีชมพู สีฟ้า สเี ขยี ว สเี หลอื ง สีชมพู สีฟ้า สีมว่ ง สีขาว สดี ำ ไดด้ ว้ ย สีมว่ ง สขี าว สดี ำ ไดด้ ว้ ยตนเอง 2. รู้จักตัวเลข 1-5 ตนเอง นกั เรียนรจู้ กั ตวั เลข 1-5 ได้ นักเรียนรจู้ ักตัวเลข 1-5 ได้ด้วย จำเปน็ เฉพาะความพิการ ดว้ ยตนเอง ตนเอง 1. มีสมาธิในการทำงาน 5-10 นาที และสามารถอยู่นิ่งได้ ไมเ่ ดินไปมา นกั เรยี นมสี มาธดิ ขี น้ึ สามารถ นกั เรยี นมสี มาธดิ ีขนึ้ สามารถ ในหอ้ งเรยี นตลอดเวลา ทำงานไดส้ ำเรจ็ ตามทค่ี รู ทำงานได้สำเร็จตามทีค่ รกู ำหนด กำหนด โดยมีสมาธิในการ โดยมสี มาธใิ นการทำงาน 5 นาที ทำงาน 6-10 นาที รอ้ ยละ เกณฑ์การประเมนิ 1. ผลการประเมนิ ผา่ น ร้อยละ 70 ข้ึนไป สามารถสง่ ต่อระดบั ชัน้ ตอ่ ไปได้ 2. ผลการประเมินผา่ น น้อยกวา่ ร้อยละ 70 ไมส่ ามารถสง่ ต่อระดบั ชัน้ ต่อไปได้

9 สรุปผลการดำเนนิ การให้บรกิ าร นักเรียนสามารถทำกจิ กรรมตามเป้าหมายท่ีกำหนดได้  ควรสง่ ตอ่ ระดบั ชัน้ ...ออทิสตกิ เรยี นได.้ ....  ควรอยรู่ ะดับชน้ั เดมิ ปัญหา/อุปสรรคที่พบ - แนวทางการดำเนินการในปกี ารศกึ ษาต่อไป - ควรฝกึ ใหน้ กั เรยี นมสี มาธิเพิ่มข้นึ ด้วยวธิ กี ารทางกจิ กรมบำบัด ศิลปะบำบัด หรือดนตรีบำบดั ลงช่ือ................................................ครผู ู้รบั ผดิ ชอบ (นางสาวยอกร พุกทอง) ตำแหน่ง พนักงานราชการ

10 การให้บริการช่วงเชือ่ มต่อเพ่อื รบั การบำบดั ทางเลือก การใหบ้ ริการชว่ งเชอ่ื มต่อเพื่อรับการบำบัดทางเลือก ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจำจังหวดั นครสวรรค์ ปกี ารศึกษา....2561.... ชื่อ-สกุลนกั เรียน......เดก็ ชายภู.........แสนดี.....................อาย.ุ .....10 ป.ี ........................ ประเภทความพกิ าร....บกพร่องทางรา่ งกาย.......ระดับช้นั ...หอ้ งเรยี นรา่ งกาย..................... ครผู ู้รบั ผิดชอบ...นายวัชพงศ์......ปรากฏ....................

11 การบรกิ ารช่วงเช่ือมต่อเพอื่ รบั การบำบดั ทางเลือก ความสามารถปัจจุบนั ของนักเรยี น 1. กลา้ มเน้อื มัดใหญ่ -ไม่สามารถน่ังได้ดว้ ยคนเองต้องมีครคู อยชว่ ยพยุง 2. กลา้ มเน้ือมัดเลก็ - กลา้ มเนื้อมือมีกาการเกรง็ สามารถหยบิ จบั ไดบ้ า้ งเล็กน้อย แต่ยงั ไม่มั่งคง 3. การช่วยเหลือตนเองในชีวติ ประจำวัน - สามารถถอดกางเกงได้ดว้ ยตนเอง 4. การรบั รแู้ ละแสดงออกทางภาษา -ฟงั คำสัง่ ร้เู ร่ือง โต้ตอบได้ แต่พดู ไม่ชดั เจน 5. ทางสังคม - สามารถอยู่กบั เพ่ือนเป็นกลุ่มได้ ไมแ่ กลง้ เพื่อน ไม่มพี ฤตกิ รรมก้าวร้าว 6. ทางสติปญั ญา - สามารถเรียนรูไ้ ด้ รจู้ ักสี ตวั เลข และพยญั ชนะไทย 7. จำเป็นเฉพาะความพกิ าร - กล้ามเนือ้ แขน ขา มีอาการเกรง็ เห็นควรได้รบั บรกิ ารบำบัดทางเลอื ก  บรกิ ารทางการแพทย์ ระบุ...........................................................  บริการทางการศึกษา  บรกิ ารกายภาพบำบดั  บริการกิจกรรมบำบัด  บริการให้คำปรึกษา  บรกิ ารดนตรบี ำบดั  บริการศลิ ปะบำบัด  ฝกึ พูด  ธาราบำบัด  อาชาบำบัด  บรกิ ารฝึกอาชีพ ระบ.ุ ..................................................................

12 แผนการให้บริการ เปา้ หมาย วธิ ีการดำเนนิ การ ตัวช้วี ัดความสำเร็จ ผูใ้ ห้บริการ 1. เดก็ ชายภมู ีอาการ 1. ลดกาการเกรง็ โดยการ 1. นกั เรยี นมอี าการเกรง็ นางสาวจรยิ พร เกรง็ ลดลง ยืดเหยยี ดกลา้ มเนื้อเปน็ ลดลง แตงขดุ 2. เดก็ ชายภูสามารถนงั่ เวลา 20 นาที 2. นักเรียนสามารถ ได้ดว้ ยตนเอง 2. ฝกึ น่งั โดยใหน้ กั เรยี น นง่ั ขัดสมาธิ และใช้มือทั้ง นั่งขัดสมาธิ และใชม้ ือท้ัง สองข้างช่วยพยุงไดด้ ้วย สองขา้ งช่วยพยุง ตนเอง ไดน้ าน 3 นาที รายงานผลการใหบ้ รกิ าร เปา้ หมาย ตวั ชี้วัดความสำเร็จ ผลการปฏิบัติ สรปุ ผลการปฏบิ ัติ ผา่ น ไม่ผา่ น 1. เด็กชายภมู อี าการเกร็ง 1. นกั เรียนมีอาการเกรง็ 1. นักเรียนมอี าการเร็ง ✓ ลดลง ลดลง ลดลง 2. นักเรียนสามารถ ✓ นัง่ ขดั สมาธิ และใช้มือท้ัง 2. เดก็ ชายภูสามารถนงั่ 2. นกั เรียนสามารถ สองข้างช่วยพยุงไดด้ ้วย ตนเอง ได้นาน 4 นาที ได้ดว้ ยตนเอง นั่งขัดสมาธิ และใชม้ ือทั้ง สองข้างช่วยพยุงได้ด้วย ตนเอง ได้นาน 3 นาที สรปุ ผลการดำเนินการใหบ้ ริการ นกั เรียนนักเรียนสามารถนงั่ ขัดสมาธิ และใชม้ ือทง้ั สองข้างชว่ ยพยงุ ไดด้ ้วยตนเอง ได้นาน 4 นาที และ มอี าการเกร็งลดลง ปัญหา/อุปสรรคท่ีพบ -

13 แนวทางการดำเนินการในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป ควรฝึกใหน้ ักเรียนนั่งได้ดว้ ยตนเองโดยไม่ใบ้มือช่วยพยงุ ลงชอื่ ................................................ครูผ้รู ับผิดชอบ (นายวชั พงศ์ ปรากฏ) ตำแหนง่ ครู คศ.1 ลงชอื่ ..................................................ผู้ใหบ้ ริการ (นางสาวจริยพร แตงขุด) ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย (นกั กายภาพบำบดั ) ภาพประกอบการบำบัดทางเลอื ก

14 บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2555). แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสำหรบั คนพิการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2555-2559). กรงุ เทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. กนกพร นทีธนสมบัติ. (2555, กรกฎาคม-ธนั วาคม). ทฤษฎกี ารเปลยี่ นผา่ น: กรณีศกึ ษาสตรี ตั้งครรภป์ กต.ิ วารสาร มฉก.วชิ าการ, 16(31) : 105-109 กรองแกว้ จลุ ริ ชั นกี ร. (2556). การจัดการศกึ ษาสำหรับเดก็ ท่ีมีความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ. (พมิ พ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั แอคทีฟ พริน้ ท์ จำกดั . พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542, 19 สงิ หาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ที่ 116 ตอนท่ี 74 ก. หน้า 4. พระราชบญั ญตั ิการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551. (2551, 5 กุมภาพนั ธ์). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่มท่ี 125 ตอนที่ 28 ก. หน้า 1-13.

15 ภาคผนวก

16 การใหบ้ รกิ ารชว่ งเชอ่ื มต่อระดบั ชั้นเรียน ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจำจงั หวดั นครสวรรค์ ปกี ารศึกษา............................... ช่ือ-สกลุ นกั เรียน............................................................................................................... ประเภทความพกิ าร......................................................ระดับช้ัน...................................... ครผู ูร้ บั ผิดชอบ................................................................................................................. เป้าหมาย สง่ ตอ่ สู่ระดบั ชั้น............................................................................ปีการศึกษา................... ครปู ระจำชัน้ ....................................................................................................................... การบริการช่วงเชื่อตอ่ ระดับช้นั เรยี น ชอื่ -สกุลนักเรียน.........................................................................................อาย.ุ .................................................. ประเภทความพิการ.................................................................................ระดับชัน้ ..............................................

ข้อมูลเพื่อวางแผนการให้บริการ ความสามารถปัจจุบนั 17 ทกั ษะ ความสามารถของนกั เรยี น กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ ในระดบั ชัน้ ตอ่ ไป กล้ามเนื้อมัดเล็ก การชว่ ยเหลือตนเองใน ชีวติ ประจำวนั การรับรู้และแสดงออกทางภาษา ทางสงั คม ทางสตปิ ัญญา จำเป็นเฉพาะความพิการ

เป้าหมาย 18 กลา้ มเนอื้ มดั ใหญ่ แผนการใหบ้ ริการ - วธิ ีการดำเนินการ ตัวช้ีวัดความสำเรจ็ ผู้ใหบ้ ริการ - กลา้ มเนอื้ มดั เล็ก - - การชว่ ยเหลือตนเองใน ชีวิตประจำวัน - - การรบั รู้และแสดงออกทางภาษา - - ทางสงั คม - - ทางสตปิ ัญญา - - จำเปน็ เฉพาะความพกิ าร - -

19 รายงานผลการใหบ้ ริการ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัดความสำเร็จ ผลการปฏิบตั ิ สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิ รอ้ ยละ ผา่ น ไมผ่ ่าน กล้ามเนื้อมัดใหญ่ - - กล้ามเนื้อมัดเล็ก - - การช่วยเหลือตนเองใน ชวี ิตประจำวนั - - การรับร้แู ละแสดงออก ทางภาษา - - ทางสงั คม - - ทางสตปิ ัญญา - - จำเป็นเฉพาะความ พกิ าร - - เกณฑ์การประเมนิ 1. ผลการประเมินผ่าน ร้อยละ 70 ขึ้นไป สามารถสง่ ต่อระดบั ช้นั ต่อไปได้ 2. ผลการประเมนิ ผ่าน นอ้ ยกว่าร้อยละ 70 ไม่สามารถส่งต่อระดับชน้ั ต่อไปได้ สรปุ ผลการดำเนินการใหบ้ ริการ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. .................................................

20  ควรสง่ ต่อระดับช้ัน...........................................................  ควรอย่รู ะดบั ชน้ั เดมิ ปัญหา/อุปสรรคที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางการดำเนินการในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................ครผู ู้รับผิดชอบ (................................................) ตำแหน่ง...............................................................................

21 การใหบ้ รกิ ารชว่ งเชอ่ื มต่อเพ่ือรับการบำบดั ทางเลือก ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวดั นครสวรรค์ ปีการศกึ ษา............................... รูปเดก็ ชือ่ -สกุลนักเรยี น............................................................................................................... ประเภทความพิการ......................................................ระดับชั้น...................................... ครผู รู้ บั ผิดชอบ................................................................................................................. การบรกิ ารชว่ งเชื่อมต่อเพือ่ รับการบำบัดทางเลือก ชือ่ -สกุลนักเรยี น.........................................................................................อาย.ุ .................................................. ประเภทความพกิ าร.................................................................................ระดับชน้ั ..............................................

22 ความสามารถปัจจุบนั 1. กลา้ มเนอื้ มัดใหญ่……………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กลา้ มเนอ้ื มดั เล็ก……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. การชว่ ยเหลือตนเองในชีวิตประจำวนั ........................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. การรบั รแู้ ละแสดงออกทางภาษา……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. ทางสังคม……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. ทางสติปญั ญา………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. จำเปน็ เฉพาะความพกิ าร…………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เห็นควรได้รับบริการบำบัดทางเลือก  บริการทางการแพทย์ ระบุ...........................................................  บริการทางการศึกษา  บรกิ ารกายภาพบำบัด  บรกิ ารกิจกรรมบำบดั  บริการให้คำปรกึ ษา  บริการดนตรบี ำบัด  บริการศิลปะบำบัด  ฝกึ พูด  ธาราบำบดั  อาชาบำบดั  บริการฝกึ อาชีพ ระบ.ุ ..................................................................

แผนการให้บริการ 23 ผ้ใู ห้บริการ เป้าหมาย วิธีการดำเนินการ ตัวช้วี ัดความสำเร็จ รายงานผลการให้บริการ เป้าหมาย ตัวชวี้ ัดความสำเร็จ ผลการปฏิบตั ิ สรุปผลการปฏบิ ัติ ผ่าน ไมผ่ ่าน สรุปผลการดำเนินการให้บรกิ าร ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. .................................................

24 ปัญหา/อุปสรรคท่พี บ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แนวทางการดำเนนิ การในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป ........................................................................................................................................ ...................................... ............................................................................................. ................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ................................................ครูผรู้ ับผิดชอบ (................................................) ตำแหน่ง............................................................................... ลงชอื่ ..................................................ผู้ให้บริการ (................................................) ตำแหน่ง...............................................................................

25 ภาพประกอบ