Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นันทนาการคือวิถีชีวิต

นันทนาการคือวิถีชีวิต

Published by library dpe, 2022-08-29 02:06:07

Description: นันทนาการคือวิถีชีวิต

Search

Read the Text Version

สภาพทางสังคมในยุคปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแห่งยุคดิจิตอล ทำ�ให้วิถีชีวิต ของคนไทยในสงั คมเปลยี่ นแปลงตามไปดว้ ย จากอทิ ธพิ ลของกระแสทนุ นยิ ม ผู้คนแสวงหาความสุขจากวัตถุมากข้ึน เกิดปัญหาทางสังคมทั้งภาวะ ความเครียด โรคภัย และปัญหาความรุนแรงที่มีมากยิ่งขึ้นอย่างทวีคูณ สะท้อนให้เห็นถึงสภาพจิตใจของคนในสังคม ปัญหาเหล่าน้ีเป็นปัจจัย ที่มีผลกระทบต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของคนไทย โดยเฉพาะเด็ก และเยาวชนจะได้รับผลกระทบโดยตรง เน่ืองจากวัยเด็กยังขาด ประสบการณ์ชีวิต ขาดวิจารณญาณในการแยกแยะ และวิเคราะห์สิ่งดีช่ัว กลายเป็นอีกจดุ เรม่ิ ตน้ ของปัญหาทางสงั คม

นนั ทนาการเปน็ ยทุ ธศาสตรท์ สี่ �ำ คญั ในการพฒั นาคณุ ภาพของคน และเป็นเคร่ืองมือในการสร้างรากฐานที่ม่ังคงของสังคม มีประโยชน์ ในการชว่ ยรกั ษาสมดลุ ของการด�ำ เนนิ ชวี ติ หากเดก็ เยาวชน และประชาชน ใช้เวลาว่างในการประกอบกิจกรรมนันทนาการจะช่วยทำ�ให้บุคคล มีคุณภาพชีวิตท่ีดีได้ อีกทั้งเป็นกลไกท่ีสำ�คัญของชีวิต เพราะนันทนาการ คอื วิถชี ีวติ “นนั ทนาการเปน็ กจิ กรรมทด่ี ี ทำ � ใ น เว ล า ว่ า ง ด้ ว ย ค ว า ม ส มั ค ร ใจ ไม่ขัดต่อกฎหมายหรือจารีตประเพณี ซึ่งจะก่อให้เกิดความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน และความพึงพอใจ แกผ่ ู้เข้ารว่ มกจิ กรรม” 1

กิจกรรมนันทนาการสามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 11 ประเภท 1. ศิลปหัตถกรรม (Arts and Crafts) เป็นงานฝีมือหรือสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น การวาดรูป พับกระดาษ เย็บปักถักร้อย งานแกะสลกั งานจกั สาน งานปน้ั การประดษิ ฐ์ ศลิ ปะ DIY (Do It Yourself) และงานศลิ ปะอน่ื ๆ 2. เกมและกฬี า (Game and Sports) เปน็ กจิ กรรมทางพลศกึ ษา โดยแบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื กจิ รรมกลางแจง้ Outdoor Activities และกจิ กรรมในร่ม Indoor Activities ซงึ่ กจิ กรรมเกม ขแลอะงรก่าีฬงากาเยป็นแกลิจะกยรังรเมปท็นี่มกีคิจวการมรสมนทุกางทสัง้าคทมายอีกเดส้วรยิมเทชัก่นษวะ่ากยานรเ้ำ�ค ลก่ือานรเไลห่นว ฟตุ บอล การออกกำ�ลงั กายในฟติ เนส บาสเกตบอล หมากรกุ เกมเบ็ดเตลด็ และการละเลน่ พื้นเมอื ง 3. การเต้นร�ำ (Dances) เปน็ กจิ กรรมทใ่ี ชจ้ งั หวะตา่ ง ๆ สรา้ งความสนกุ สนาน บางกิจกรรมอาจจะมีทั้งการร้องเพลงและเต้น ไปพร้อม ๆ กัน เช่น เต้นบัลเล่ต์ Hip Hop B-Boy รำ�ไทย ลีลาศ ระบำ�พื้นเมือง โมเดิร์นแด๊นซ์ และนาฏศลิ ปอ์ น่ื ๆ 2

4. การละคร (Drama) เป็นกิจกรรมท่ีให้ความบันเทิง ทั้งกับผู้ทำ� และผู้ชม นอกจากน้ีการละครยังสะท้อนให้เห็น ถึงสภาพความเป็นจริงของสังคมในยุคนั้น ๆ ด้วย เช่น ชมภาพยนตร์ ละครทีวี เล่นละครใบ้ ละครเวที โขน หุน่ กระบอก หนงั ตะลุง 5. งานอดิเรก (Hobbies) เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ มี ห ล า ก ห ล า ย สามารถเลือกได้ตามความสนใจ ท้ังประเภทสะสม การกระทำ� หรืองานสร้างสรรค์ เช่น สะสม แสตมป์ ทำ�อาหาร ถ่ายภาพ จั ด ด อ ก ไ ม้ ส ะ ส ม ข อ ง เ ล่ น ก า ร เ ลี้ ย ง สั ต ว์ ป ลู ก ต้ น ไ ม้ งานประดิษฐ์ การออกแบบต่าง ๆ 6. การดนตรแี ละร้องเพลง (Music and Singing) เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ท า ง ด้ า น ด น ต รี ทุ ก ช นิ ด ที่ ใ ห้ ความบันเทงิ เปน็ การผ่อนคลายความเครียดด้วย การร้องเพลง ฟังเพลง เล่นดนตรี รวมไปถึง การสร้างสรรค์ทางดนตรี เช่น การแต่งเน้ือเพลง แต่งท�ำ นองเพลง เรียบเรียงเพลง 3

1. ศลิ ปหัตถกรรม (Arts and Crafts) 2. เกมและกีฬา (Game and Sports) 3. การเต้นรำ� (Dances) 4. การละคร (Drama) 5. งานอดิเรก (Hobbies) 6. การดนตรแี ละร้องเพลง (Music and Singing)

7. กิจกรรมกลางแจ้ง/นอกเมือง (Outdoor Activities) 8. วรรณกรรม (อา่ น เขยี น พูด) (Reading, Writing, Speaking) 9. กจิ กรรมทางสงั คม (Social Activities) 10. กจิ กรรมพเิ ศษตามเทศกาลตา่ ง ๆ (Special Events) 11. การบรกิ ารอาสาสมัคร (Voluntary Services)









7. กิจกรรมกลางแจง้ / นอกเมอื ง (Outdoor Activities) เปน็ กจิ กรรมนอกสถานที่ ทท่ี �ำ ใหผ้ ทู้ �ำ กจิ กรรมไดเ้ รยี นร ู้ ไดใ้ กลช้ ดิ ธรรมชาติ ภแลูเขะาไดนพ้ ้ำ�กัตผกอ่ ปนัน่ เจชัก่นรกยาานรไปส่อคง่านยกพักไปแรสมวนทสอ่ างธเทารย่ี ณวตะาสมวแนหสลน่งุกธรสรนมาชมาเตดิ ก็ทเะลเ่นล สวนสตั ว์ 8. วรรณกรรม (อา่ น เขยี น พดู ) (Reading, Writing, Speaking) เปน็ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลพฒั นาทกั ษะ ความรู้อย่างสร้างสรรค์ เช่น การอ่าน วรรณกรรม นวนิยาย หนงั สอื พมิ พ์ การต์ นู การเขียนเร่อื งส้นั บันทึกเร่อื งราวประจำ�วัน บทความ บทร้อยกรอง การพูดในชุมชน การโต้วาที การเล่านิทาน การฟังอภิปราย ทอล์คโชว์ 6

9. กิจกรรมทางสงั คม (Social Activities) เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที่ ก ลุ่ ม ค น ใ น สั ง ค ม รว่ มจดั ขนึ้ เนน้ การรวมตวั กนั ของบคุ คล อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ สัมพนั ธภาพอนั ดีตอ่ กัน เชน่ งานบวช งานแตง่ งาน งานเลย้ี งวนั เกดิ การฉลองในโอกาสพิเศษต่าง ๆ หรอื กจิ กรรมสรา้ งสรรคท์ จ่ี ดั ขน้ึ ในชมุ ชน 10. กิจกรรมพิเศษตามเทศกาลตา่ ง ๆ (Special Events) เป็นกิจกรรมท่ีจัดข้ึนเป็นการเฉพาะหรือกรณีพิเศษ โดยจะจัดข้ึนตามวาระเป็นคร้ังคราว เพ่ือสืบสาน ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม รวมไปถึง กจิ กรรมทางศาสนา เชน่ วนั สงกรานต์ วนั ลอยกระทง วนั ปใี หม่ ตรษุ จนี ครสิ ตม์ าส และกจิ กรรมในวนั ส�ำ คญั ทางศาสนา 11. การบริการอาสาสมัคร (Voluntary Services) เป็นกิจกรรมท่ีผู้ทำ�สมัครใจที่จะให้บริการ ด้านต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือชุมชน สังคม ประเทศชาติ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม แ ก่ ผู้ ทำ � เช่ น การบริจาคโลหิต ให้บริการพัฒนาชุมชน ก า ร เ ป็ น อ า ส า ส มั ค ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ อื่ น การบ�ำ เพ็ญประโยชนด์ ว้ ยความสมคั รใจ 7

การใชเ้ วลาวา่ ง เปน็ องคป์ ระกอบส�ำ คญั ของการด�ำ เนนิ ชวี ติ มนษุ ย์ เป็นพื้นฐานของคุณภาพชีวิต การใช้เวลาว่างจะช่วยให้เกิดความสมดุล ระหว่างจิตใจ ร่ายกาย และพัฒนาการของแต่ละบุคคล Jenkins and Pigram. (2003). การดำ�เนินชีวิตในทุกช่วงเวลาหากทุกคนสามารถแบ่งเวลา ได้อย่างสมดุล และใชเ้ วลาวา่ งทำ�กิจกรรมนันทนาการ นนั ทนาการจะเป็น ส่ิงช่วยในการเสริมสร้างประสบการณ์ ช่วยพัฒนาอารมณ์สุขในชีวิต ช่วยเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง ผ่อนคลายความเครียด ป้องกันปัญหาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน สง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดที �ำ ใหท้ กุ คนในสงั คม อยู่ร่วมกันไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ถือได้ว่านันทนาการเป็นการใช้ศาสตร์ และศิลป์ประกอบการดำ�เนินชีวิตของมนุษย์ เพอ่ื สรา้ งความสขุ ความพงึ พอใจอนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ คุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้สังคมผาสุก ซง่ึ เปน็ อกี หนง่ึ หนทางในการขบั เคลอ่ื นให้ ประเทศชาติเจริญรงุ่ เรอื งสบื ไป 8

คณะผ้จู ัดทำ� ที่ปรึกษา อธบิ ดกี รมพลศกึ ษา รองอธบิ ดกี รมพลศึกษา ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร รองอธบิ ดกี รมพลศกึ ษา ดร.ชาญวิทย์ ผลชีวนิ ผูท้ รงคณุ วุฒิด้านนนั ทนาการ นายธวัช ถาวรสวัสด ิ์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นนนั ทนาการ นายวชิ ิต ชี้เชญิ ผู้ทรงคณุ วุฒดิ ้านนนั ทนาการ นายชลติ เขียวพุม่ พวง ผ้ทู รงคุณวฒุ ิด้านนันทนาการ รองศาสตราจารย์ ดร.กำ�โชค เผอื กสุวรรณ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักนันทนาการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ พนมศักด์ิ สวัสด์ิพงษ์ ผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นสง่ เสรมิ และพฒั นานนั ทนาการ ดร.กิตตพิ งษ์ โพธิมู นางรุ่งอรุณ เขียวพมุ่ พวง ผู้จัดทำ� เรยี บเรยี ง และบรรณาธกิ าร นางสาวมนัญญา เอี่ยมบตุ ร นักพัฒนาการกฬี าปฏิบตั กิ าร หนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ กล่มุ นันทนาการเดก็ และเยาวชน ส�ำ นักนนั ทนาการ กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook